ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Show

ลัทธิอาณานิคม (อังกฤษ: colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง

สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิบริติชยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อย

ประวัติ[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

กิจกรรมซึ่งเรียกได้ว่าลัทธิอาณานิคมนั้นมีประวัติศาสตร์ยาวนาน เริ่มจากจักวรรดิแอฟริกาก่อนสมัยอาณานิคมซึ่งนำให้ชาวอียิปต์ ฟินีเซีย กรีกและโรมันล้วนสร้างอาณานิคมในสมัยโบราณ

ลัทธิอาณานิคมสมัยใหม่เริ่มด้วยยุคแห่งการสำรวจ โปรตุเกสและสเปนค้นพบดินแดนใหม่ทั่วทั้งมหาสมุทรและสร้างสถานีการค้าหรือพิชิตดินแดนกว้างใหญ่ไพศาล บางคนถือว่าการสร้างอาณานิคมทั่วทั้งมหาสมุทรนี้เองที่แยกแยะลัทธิอาณานิคมจากลัทธิการขยายอาณาเขต (expansionism) แบบอื่น มีการแบ่งดินแดนใหม่เหล่านี้ระหว่างจักรวรรดิโปรตุเกสและสเปนครั้งแรกโดยสารตราพระสันตะปาปาอินเทอร์เซเทอรา และต่อมาโดยสนธิสัญญาทอร์เดสซิลลาสและสนธิสัญญาซาราโกซา (ค.ศ. 1529)

สมัยนี้ยังสัมพันธ์กับการปฏิวัติพาณิชย์ สมัยกลางตอนปลายมีการปฏิรูปการบัญชีและการธนาคารในอิตาลีและเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ยุโรปตะวันตกรับและนำมาปรับใช้กับความเสี่ยงและรางวัลสูงที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนอาณานิคม

ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการสร้างจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสและจักรวรรดิดัตช์ เช่นเดียวกับกรรมสิทธิ์โพ้นทะเลของอังกฤษ ซึ่งต่อมากลายเป็นจักรวรรดิบริติช นอกจากนี้ ยังมีการสถาปนาจักรวรรดิอาณานิคมเดนมาร์กและอาณานิคมโพ้นทะเลของสวีเดนบ้าง

การแพร่กระจายของจักรวรรดิอาณานิคมลดลงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยสงครามปฏิวัติอเมริกาและสงครามประกาศอิสรภาพละตินอเมริกา อย่างไรก็ตาม มีการสถาปนาอาณานิคมใหม่จำนวนมากหลังช่วงนี้ รวมทั้งจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเบลเยียม ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลายชาติยุโรปเกี่ยวข้องในลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา

จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิออตโตมันและจักรวรรดิออสเตรียมีอยู่ในห้วงเวลาเดียวกันกับจักรวรรดิข้างต้น แต่มิได้แผ่ข้ามมหาสมุทร จักรวรรดิเหล่านี้ขยายผ่านช่องทางแต่เดิมโดยการพิชิตอาณาเขตเพื่อนบ้านแทน จักรวรรดิญี่ปุ่นจำลองตนเองตามจักรวรรดิอาณานิคมยุโรป สหรัฐได้ดินแดนโพ้นทะเล

หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้คว้าชัยแบ่งจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันและจักรวรรดิออตโตมันส่วนใหญ่ระหว่างพวกตนในฐานะอาณัติสันนิบาตชาติ ดินแดนเหล่านี้ถูกแบ่งออกเป็นสามระดับตามความพร้อมได้รับเอกราช ทว่า การปลดปล่อยอาณานิคมนอกทวีปอเมริกาล่าไปจนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ใน ค.ศ. 1972 สหประชาชาติตั้งคณะกรรมาธิการพิเศษการปลดปล่อยอาณานิคม หรือมักเรียกว่า คณะกรรมาธิการ 24 เพื่อส่งเสริมกระบวนการนี้

ยิ่งไปกว่านั้น มีขบวนการเอกราชและโครงการความเป็นปึกแผ่นการเมืองโลก เช่น ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด มีส่วนสำคัญในความพยายามปลดล่อยอาณานิคมในอดีตอาณานิคม

จักรวรรดิทวีปยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 20[แก้]

เป็นจักรวรรดิของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักร[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ผู้ว่าการอาณานิคมของเซเชลส์ตรวจตรากองทหารรักษาเกียรติ ในปี ค.ศ. 1972

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

สงครามอังกฤษ - ซิกข์ครั้งที่ 1 ปี ค.ศ. 1845-46

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

บรรดาร้านค้าต่าง ๆ ในมอลตาต่างพากันนำป้ายที่มีข้อความต่อต้านบริเตน เพื่อสนับสนุนการประกาศเอกราช ในปี ค.ศ. 1960

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

  • ประเทศบาฮามาส
  • ประเทศบาร์เบโดส
  • หมู่เกาะเบ (บางส่วนของประเทศฮอนดูรัส)
  • บริติชอเมริกา (บางส่วนของประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา)
    • อาณานิคมแคนาดา
      • เกาะเซนต์จอห์น (รัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์)
      • รูเพิตส์แลนด์[1] (หลายรัฐในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา)
      • โลเวอร์แคนาดา
        • จังหวัดควิเบก (รัฐควิเบก)
      • อัปเปอร์แคนาดา
      • อาณานิคมนิวฟันด์แลนด์ (รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์)
    • สิบสามอาณานิคม
      • อาณานิคมนิวอิงแลนด์:
        • จังหวัดอ่าวแมสซาชูเซตส์ (รัฐแมสซาชูเซตส์ และรัฐโนวาสโกเชีย)
        • จังหวัดนิวแฮมป์เชียร์ (รัฐนิวแฮมป์เชียร์)
        • อาณานิคมโรดไอแลนด์ (รัฐโรดไอแลนด์)
        • อาณานิคมคอนเนตทิคัต (รัฐคอนเนตทิคัต)
      • จังหวัดนิวยอร์ก (รัฐนิวยอร์กและรัฐเวอร์มอนต์)
      • จังหวัดนิวเจอร์ซีย์ (รัฐนิวเจอร์ซีย์)
      • จังหวัดเพนซิลเวเนีย (รัฐเพนซิลเวเนีย)
      • อาณานิคมเดลาแวร์ (รัฐเดลาแวร์)
      • จังหวัดแมริแลนด์ (รัฐแมริแลนด์และวอชิงตัน ดี.ซี.)
      • อาณานิคมเวอร์จิเนีย (รัฐเวอร์จิเนีย)
      • จังหวัดนอร์ทแคโรไลนา (รัฐนอร์ทแคโรไลนา)
      • จังหวัดเซาท์แคโรไลนา (รัฐเซาท์แคโรไลนา)
      • จังหวัดจอร์เจีย (รัฐจอร์เจีย)
    • อาณานิคมอื่น ๆ
      • จังหวัดฟลอริดาตะวันออก (รัฐฟลอริดา)
      • จังหวัดฟลอริดาตะวันตก (รัฐฟลอริดา)
  • บริติชฮอนดูรัส (ประเทศเบลีซ)
  • อาณานิคมจาเมกา (ประเทศจาเมกา)
  • หมู่เกาะลีเวิร์ด
    • ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
    • ประเทศดอมินีกา
    • เกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิส (ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส)
  • ชายฝั่งมอสคีโท (บางส่วนของประเทศนิการากัวและประเทศฮอนดูรัส)
  • หมู่เกาะวินด์เวิร์ด
    • ประเทศเกรเนดา
    • ประเทศเซนต์ลูเชีย
    • ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ทวีปอเมริกาใต้[แก้]

  • บริติชกายอานา (ประเทศกายอานา)
  • หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
  • เกาะเซาท์จอร์เจีย

ทวีปแอฟริกา[แก้]

  • แองโกล-อียิปต์ ซูดาน (ประเทศซูดาน)
  • บาโซโทแลนด์ (ประเทศเลโซโท)
  • เบชวานาแลนด์ (ประเทศบอตสวานา)
  • บริติชแคเมอรูนส์ (บางส่วนของประเทศไนจีเรียและประเทศแคเมอรูน)
  • บริติชแอฟริกาตะวันออก (ประเทศเคนยา)
  • บริติชอียิปต์ (ประเทศอียิปต์)
  • บริติชมอริเชียส (ประเทศมอริเชียส)
  • บริติชโซมาลีแลนด์ (ภาคเหนือของประเทศโซมาเลีย)
  • บริติชโตโกแลนด์ (ภาคตะวันออกของประเทศกานา)
  • อาณานิคมแกมเบีย (ประเทศแกมเบีย)
  • โกลด์โคสต์ (ประเทศกานา)
  • ไนแอซาแลนด์ (ประเทศมาลาวี)
  • อาณานิคมไนจีเรีย (ประเทศไนจีเรีย)
  • โรดีเซียเหนือ (ประเทศแซมเบีย)
  • ประเทศเซเชลส์
  • อาณานิคมเซียร์ราลีโอน (ประเทศเซียร์ราลีโอน)
  • สหภาพแอฟริกาใต้ (ประเทศแอฟริกาใต้)
    • อาณานิคมบริติชเคป
    • อาณานิคมเนทาล
    • เสรีรัฐออเรนจ์
    • อาณานิคมทรานส์วาล
  • เซาเทิร์นโรดีเชีย (ประเทศซิมบับเว)
  • แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (ประเทศนามิเบีย)
  • สวาซิแลนด์ (ประเทศเอสวาตีนี)
  • ดินแดนแทนกันยีกา (ประเทศแทนซาเนียแผ่นดินใหญ่)
  • รัฐในอารักขายูกันดา (ประเทศยูกันดา)
  • แซนซิบาร์ (เกาะของประเทศแทนซาเนีย)

ทวีปยุโรป[แก้]

  • คอร์ซิกา (เกาะของประเทศฝรั่งเศส)
  • บริติชไซปรัส (ประเทศไซปรัส)
  • สาธารณรัฐดัตช์ (ประเทศเนเธอร์แลนด์และบางส่วนของประเทศเบลเยียม)
  • ยิบรอลตาร์
  • เฮ็ลโกลันท์ (บางส่วนของประเทศเยอรมนี)
  • ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ (บางส่วนของประเทศเยอรมนี)
  • หมู่เกาะไอโอเนียน (บางส่วนของประเทศกรีซ)
  • ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ประเทศไอร์แลนด์)
  • ประเทศมอลตา
  • มินอร์กา (เกาะของประเทศสเปน)

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • อาณานิคมเอเดน (บางส่วนของประเทศเยเมน)
  • ประเทศบาห์เรน
  • หมู่เกาะโบนิน (หมู่เกาะของประเทศญี่ปุ่น)
  • บริติชเบอร์มา (ประเทศพม่า)
  • บริติชอินเดีย
    • ประเทศบังกลาเทศ
    • ประเทศอินเดีย
    • ประเทศปากีสถาน
  • บริติชซีลอน (ประเทศศรีลังกา)
  • ประเทศบรูไน
  • ประเทศจีน
    • บริติชฮ่องกง (ฮ่องกง)
    • เวยไห่เวย
    • ชุมชนนานาชาติเซี่ยงไฮ้
    • แคนตัน (กว่างโจว)
  • เอมิเรตส์ทรานส์จอร์แดน (ประเทศจอร์แดน)
  • อิรักในอาณัติ (ประเทศอิรัก)
  • ประเทศคูเวต
  • ประเทศมาเลเซีย
    • บริติชมาลายา
      • สหพันธรัฐมลายู
      • นิคมช่องแคบ
    • บริติชบอร์เนียว
      • บอร์เนียวเหนือ
      • ราชอาณาจักรซาราวัก
  • ประเทศมัลดีฟส์
  • มัสกัตและโอมาน (บางส่วนของประเทศโอมาน ประเทศแทนซาเนีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
  • ปาเลสไตน์ในอาณัติ (บางส่วนของประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์)
  • ประเทศกาตาร์
  • อาณานิคมสิงคโปร์ (ประเทศสิงคโปร์)
  • อาระเบียใต้ (บางส่วนของประเทศโอมาน ประเทศซาอุดีอาระเบีย และประเทศเยเมน)
  • รัฐทรูเชียล (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
  • บางส่วนของประเทศไทย
    • ภาคเหนือหรือล้านนาไทย
    • ภาคใต้
    • ภาคกลางเกือบทั้งหมด(ยกเว้นจันทบุรี และ ตราด)
  • ราชอาณาจักรทิเบต
  • ประเทศอัฟกานิสถาน
  • ประเทศเนปาล
  • ประเทศภูฎาณ
  • บางส่วนของประเทศอิหร่าน
    • ตอนใต้ของอิหร่าน

ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย[แก้]

  • ประเทศออสเตรเลีย
  • ดินแดนบริติชแปซิฟิกตะวันตก
    • ประเทศคิริบาส
    • ประเทศนาอูรู
    • ประเทศตองงา
    • ประเทศตูวาลู
    • ประเทศวานูอาตู
  • อาณานิคมฟีจี (ประเทศฟีจี)
  • ประเทศนิวซีแลนด์
  • นีวเว
  • ดินแดนปาปัวและนิวกินี (ประเทศปาปัวนิวกินี)
  • ราชอาณาจักรราโรตองกา (หมู่เกาะคุก)
  • ซามัวตะวันตก (ประเทศซามัว
  • หมู่เกาะโซโลมอน
  • โทเคอเลา

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสและทหารปืนไรเฟิลตังเกี๋ย ปี ค.ศ. 1884

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

  • แอนติกา (ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา) ปี ค.ศ. 1666
  • บางส่วนของประเทศแคนาดา
    • ฝรั่งเศสใหม่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1534–1763
      • อ่าวฮัดสัน
      • นิวฟันด์แลนด์
      • แม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์
      • เกรตเลกส์
      • ควิเบก
  • ประเทศดอมินีกา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1625–1763, 1778–1783
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1795–1809
  • ประเทศเกรเนดา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650–1762, 1779–1783
  • กัวเดอลุป ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1635–ปัจจุบัน
  • ประเทศเฮติ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1627–1804
  • ลาเดซีราด ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1635–ปัจจุบัน
  • มาร์ตีนิก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1635–ปัจจุบัน
  • เนวิส (ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1782–1784
  • แซ็ง-บาร์เตเลมี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1648–1784, 1878–ปัจจุบัน)
  • เซนต์คริสโตเฟอร์ (ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1628–1690, 1698–1702, 1706, 1782–1783
  • ประเทศเซนต์ลูเชีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650–1723, 1756–1778, 1784–1803
  • แซ็ง-มาร์แต็ง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1624–ปัจจุบัน
  • แซ็งปีแยร์และมีเกอลง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1604–1713, 1763–ปัจจุบัน
  • ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1719–1763, 1779–1783
  • โตเบโก (ประเทศตรินิแดดและโตเบโก) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1666–1667, 1781–1793, 1802–1803
  • บางส่วนของสหรัฐอเมริกา
    • ป้อมเซนต์หลุยส์ (รัฐเท็กซัส) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1685–1689
    • เซนต์ครอย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650–1733
    • ป้อมแคโรไลน์ (เฟรนช์ฟลอริดา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1562–1565
    • เฟรนช์ลุยเซียนา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1764–1804 (ขายโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1)
    • ลุยเซียนา (ฝรั่งเศสใหม่) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1672–1764

ทวีปอเมริกาใต้[แก้]

  • บางส่วนของประเทศบราซิล
    • อ่าวเซาลูอีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1610–1615
    • ดินแดนอามาปา ปี ค.ศ. 1897[2]
    • อ่าวรีโอเดจาเนโร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1555–1567
    • เกาะในเฟร์นันดูจีนอโรนยา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1736–1737
  • เฟรนช์เกียนา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1604–ปัจจุบัน
  • ประเทศกายอานา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1782–1784
  • ประเทศซูรินาม

ทวีปแอฟริกา[แก้]

เฟรนช์แอฟริกาเหนือ[แก้]
  • เฟรนช์แอลจีเรีย (ประเทศแอลจีเรีย) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1830–1962
  • เฟรนช์โมร็อกโก (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1912–1956 (พื้นที่ 89% ของประเทศโมร็อกโกในปัจจุบัน)
  • เฟรนช์ตูนิเซีย (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1881–1956 (ประเทศตูนิเซีย)
เฟรนช์แอฟริกาตะวันตก[แก้]
  • ประเทศบูร์กินาฟาโซ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1896–1960
  • ประเทศโกตดิวัวร์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1843–1960
  • ดาโฮมีย์ (ประเทศเบนิน) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1883–1960
    • ปอร์โต-โนโว (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1863–1865, 1882
    • โคโทนู (รัฐในอารักขา) ปี ค.ศ. 1868
  • เฟรนช์กินี (ประเทศกินี) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1891–1958
  • เฟรนช์ซูดาน (ประเทศมาลี) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1883–1960
  • เฟรนช์โตโกแลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1918–1960 (ประเทศโตโก)
  • บางส่วนของประเทศแกมเบีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1681–1702
  • ประเทศมอริเตเนีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1902–1960
  • ประเทศไนเจอร์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1890–1960
    • ซินเดอร์ (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1899
  • บางส่วนของประเทศไนจีเรีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1892–1927
  • ประเทศเซเนกัล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1677–1960
เฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา[แก้]
  • สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1905–1960
  • ประเทศชาด ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900–1960
  • เฟรนช์แคเมอรูน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1918–1960 (พื้นที่ 91% ของประเทศแคเมอรูนในปัจจุบัน)
  • เฟรนช์คองโก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1875–1960 (สาธารณรัฐคองโก)
  • ประเทศกาบอง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1839–1960
  • ประเทศเซาตูเมและปรินซีปี ปี ค.ศ. 1709
แอฟริกาตะวันออกและมหาสมุทรอินเดีย[แก้]
  • กลุ่มเกาะชากอส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1721–1745, 1768–1814
  • ประเทศคอโมโรส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1866–1975
  • เฟรนช์โซมาลีแลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1862–1977 (ประเทศจิบูตี)
  • ประเทศมาดากัสการ์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1896–1960
    • ราชอาณาจักรเมรีนา (รัฐในอารักขา) ปี ค.ศ. 1896
  • ประเทศมอริเชียส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1715–1810
  • มายอต ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1841–ปัจจุบัน
  • เรอูนียง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1710–ปัจจุบัน
  • ประเทศเซเชลส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1756–1810

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • บางส่วนของประเทศจีน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1849–1949
  • เฟรนช์เลบานอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1920–1946 (ประเทศเลบานอน)
  • เฟรนช์ซีเรีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1920–1946 (ประเทศซีเรีย)
  • บางส่วนของประเทศอินเดีย
    • เฟรนช์อินเดีย
      • จันทนนคร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1673–1952
  • อินโดจีนของฝรั่งเศส
    • สหภาพอินโดจีน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1887–1954
      • ประเทศลาว (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1893–1953
      • ประเทศกัมพูชา (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1863–1953
      • ประเทศเวียดนาม
        • โคชินไชนา (เวียดนามใต้) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1858–1949
        • รัฐในอารักขาอันนัม (เวียดนามกลาง) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1883–1949
        • รัฐในอารักขาตังเกี๋ย (เวียดนามเหนือ) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884–1949
        • รัฐเวียดนาม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949–1954
        • หมู่เกาะสแปรตลี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1933–1939
        • หมู่เกาะซีชา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1933–1939
  • บางส่วนของประเทศฟิลิปปินส์
    • บาซีลัน ปี ค.ศ. 1845
  • บางส่วนของประเทศศรีลังกา
    • ตรินโคมาลี ปี ค.ศ. 1796
  • บางส่วนของไต้หวัน
    • จีหลง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884–1885
    • เผิงหู ปี ค.ศ. 1885
  • บางส่วนของประเทศเยเมน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1868–1936
  • บางส่วนของประเทศไทย
    • จันทบุรี
    • ตราด
    • เลย
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[3]

ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย[แก้]

  • บางส่วนของประเทศออสเตรเลีย
    • เกาะเดิร์กฮาร์ตอก ปี ค.ศ. 1772[4][5][6]
  • เกาะกลีแปร์ตอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1858–ปัจจุบัน
  • เฟรนช์พอลินีเชีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1789–ปัจจุบัน
    • หมู่เกาะโซไซเอตี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1843
      • ตาฮีตี (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1842–1880
      • ราอีอาเตอา (รัฐในอารักขา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1880
    • ตูอาโมตัส
    • หมู่เกาะมาร์เคซัส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1870
  • หมู่เกาะฮาวาย ปี ค.ศ. 1837
  • นิวแคลิโดเนีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1853–ปัจจุบัน
  • บางส่วนของประเทศปาปัวนิวกินี
    • เกาะนิวไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1880–1882
  • ประเทศวานูอาตู ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1906–1980
  • วาลิสและฟูตูนา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1887–ปัจจุบัน

ทวีปแอนตาร์กติกา[แก้]

  • เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1772–ปัจจุบัน
    • แตร์อาเดลี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1840–ปัจจุบัน

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของรัสเซีย[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

  • อเมริกาของรัสเซีย (บางส่วนของสหรัฐอเมริกา)
    • รัฐอะแลสกา
    • รัฐแคลิฟอร์เนีย
    • บางส่วนของรัฐฮาวาย

ทวีปยุโรป[แก้]

  • ประเทศเบลารุส
  • ราชรัฐฟินแลนด์ (ประเทศฟินแลนด์)
  • พื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตผู้ว่าการบอลติก
    • ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (บางส่วนของประเทศลัตเวีย)
    • เอสโตเนียภายใต้การปกครองของสวีเดน (บางส่วนของประเทศเอสโตเนีย)
  • พื้นที่ส่วนใหญ่ของราชอาณาจักรโปแลนด์ (บางส่วนของประเทศเบลารุส ประเทศลิทัวเนีย และประเทศโปแลนด์)
  • ประเทศมอลโดวา
  • หมู่เกาะนิวไซบีเรีย
  • พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศยูเครน

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • ประเทศอาร์มีเนีย
  • ประเทศอาเซอร์ไบจาน
  • ประเทศจอร์เจีย
  • ประเทศคาซัคสถาน
  • ประเทศคีร์กีซสถาน
  • บางส่วนของจักรวรรดิออตโตมัน (ประเทศตุรกี)
    • อาร์ดาฮัน
    • อาร์ตวิน
    • อือดือร์
    • คาร์ส
    • แอร์ซูรุม
  • ประเทศทาจิกิสถาน
  • ประเทศเติร์กเมนิสถาน
  • เตอร์กิสถานของรัสเซีย (ภาคตะวันตกของเตอร์กิสถาน)
  • ประเทศมองโกเลีย
  • บางส่วนของประเทศจีน
    • แมนจูเรีย
    • เตอร์กิสถานตะวันออก
  • บางส่วนของประเทศอิหร่าน
    • ตอนเหนือของอิหร่าน

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของเยอรมนี[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

แคเมอรูนในอาณานิคมแอฟริกาตะวันตกของเยอรมนี เมื่อปี ค.ศ. 1908 (วาดโดย R. Hellgrewe)

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

  • เกาะแคร์บส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1689–1693 (เกาะของปวยร์โตรีโก)
  • เกาะเซนต์ทอมัส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1685–1720 (เกาะของหมู่เกาะเวอร์จิน)

ทวีปอเมริกาใต้[แก้]

  • เยอรมันเวเนซุเอลา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1528–1546 (บางส่วนของประเทศโคลอมเบียและประเทศเวเนซุเอลา)

ทวีปแอฟริกา[แก้]

  • อาร์กวิน (เกาะของประเทศมอริเตเนีย) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1685–1721
  • โกลด์โคสต์ของบรันเดินบวร์ค (บางส่วนของประเทศกานา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1683–1718
  • แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1885–1919 (ประเทศบุรุนดี ประเทศรวันดา และประเทศแทนซาเนีย)
  • แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884–1915 (ประเทศนามิเบียและบางส่วนของประเทศบอตสวานา)
  • แอฟริกาตะวันตก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884–1914 (ประเทศแคเมอรูน และประเทศโตโก)

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • ประเทศจีน (ให้เช่าโดยราชวงศ์ชิง)
    • อ่าวเจียวโซว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1898–1914
    • ชิงเต่า ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1891–1914
    • เทียนจิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901–1917
    • ยานไท่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901–1918
  • หมู่เกาะนิโคบาร์ของประเทศอินเดีย[7]

ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย[แก้]

  • เยอรมันนิวกินีและไมโครนีเซีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884–1914
    • กลุ่มเกาะบิสมาร์กและเกาะบูเกนวิลล์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1888–1919 (บางส่วนของประเทศปาปัวนิวกินี)
    • หมู่เกาะแคโรไลน์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1899–1919 (ประเทศไมโครนีเซียและประเทศปาเลา)
    • เยอรมันหมู่เกาะโซโลมอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1885–1899 (หมู่เกาะโซโลมอน)
    • หมู่เกาะมาเรียนา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1899–1919 (หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา)
    • หมู่เกาะมาร์แชลล์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1885–1919
    • ประเทศนาอูรู ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1888–1919
  • เยอรมันซามัว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1899–1914 (ประเทศซามัว)

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของอิตาลี[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

การบุกลิเบียของอิตาลีระหว่างสงครามอิตาโล–ตุรกี ปี ค.ศ. 1911

ทวีปแอฟริกา[แก้]

  • อิตาเลียนแอฟริกาตะวันออก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936–1941
    • บริติชโซมาลีแลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940–1941 (ภาคเหนือของประเทศโซมาเลีย)
    • อิตาเลียนเอริเทรีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1882–1936 (ประเทศเอริเทรีย)
    • อิตาเลียนเอธิโอเปีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936–1941 (ประเทศลิเบีย)
    • อิตาเลียนโซมาลีแลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1889–1936 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคกลาง และภาคใต้ของประเทศโซมาเลีย)
  • อิตาเลียนลิเบีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1934–1943 (ประเทศลิเบีย)

ทวีปยุโรป[แก้]

  • แอลเบเนียในอารักขา
    • ประเทศแอลเบเนีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1917–1920, 1939–1943
    • ประเทศคอซอวอ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1939–1943
  • หมู่เกาะของอิตาลีในทะเลอีเจียน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1912–1947 (หมู่เกาะในประเทศกรีซ)
  • ฝรั่งเศสที่ยึดครองโดยอิตาลี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940–1943 (ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส)
  • ประเทศกรีซ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940–1944
  • ประเทศโมนาโก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1942–1943
  • อิตาเลียนมอนเตเนโกร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941–1943 (พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศมอนเตเนโกรและบางส่วนของประเทศเซอร์เบีย)
  • ดินแดนในราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
    • แดลเมเชีย (บางส่วนของประเทศโครเอเชีย) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941–1943
    • ประเทศสโลวีเนีย

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • ประเทศจีน ให้เช่าโดยราชวงศ์ชิง
    • เทียนจิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901–1917

อาณานิคมและรัฐในอารักขาของเนเธอร์แลนด์[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

การยอมจำนนของเจ้าชายไดโปเนโกโรต่อนายพลชาวดัตช์หลังสิ้นสุดสงครามชวา ในปี ค.ศ. 1830

ทวีปอเมริกา[แก้]

  • เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954–2010
    • อารูบา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1637–ปัจจุบัน
    • โบแนเรอ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1634–ปัจจุบัน
    • กือราเซา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1634–ปัจจุบัน
    • ซาบา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1640–ปัจจุบัน
    • ซินต์เอิสตาซียึส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1636–ปัจจุบัน
    • ซินต์มาร์เติน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1618–ปัจจุบัน
  • ดัตช์บราซิล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1630–1654 (ทางตอนเหนือของอาณานิคมบราซิลของโปรตุเกส) (ภาคเหนือของประเทศบราซิล)
  • ดัตช์ชิลี
    • บัลดิเบีย (เมืองในประเทศชิลี) ปี ค.ศ. 1600
  • อาณานิคมเกียนา
    • อาณานิคมเอสเซกวีโบ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1616–1815 (ประเทศกายอานา)
    • ประเทศซูรินาม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1667–1975

ทวีปแอฟริกา[แก้]

  • อาณานิคมเคป ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1652–1806 (พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศแอฟริกาใต้)

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1800–1949 (ประเทศอินโดนีเซีย)
    • นิวกินีของเนเธอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949–1962
  • ดัตช์ซีลอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1640–1796 (บางส่วนของประเทศศรีลังกา)
  • ดัตช์ฟอร์โมซา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1624–1662 (บางส่วนของไต้หวัน)
  • ดัตซ์อินเดีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1605-1825 (บางส่วนของประเทศอินเดีย)

อาณานิคมของโปรตุเกส[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • อะโซร์ส
  • อาณานิคมในทวีปแอฟริกา
    • คาบินดา
    • มาเดรา
    • แองโกลาของโปรตุเกส
    • Portuguese Cape Verde
    • คองโกของโปรตุเกส
    • กิเนียของโปรตุเกส
    • โมซัมบิกของโปรตุเกส
    • Portuguese São Tomé and Príncipe
    • Fort of São João Baptista de Ajudá
  • อาณานิคมในทวีปเอเชีย
    • เขตปกครองย่อยอินเดียของโปรตุเกส
    • มาเก๊าของโปรตุเกส
  • อาณานิคมในโอซีเนีย
    • ติมอร์ของโปรตุเกส (ปัจจุบันคือประเทศติมอร์-เลสเต)

อาณานิคมของสเปน[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ภาพวาดระบบ Casta สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 จากนิวสเปนแสดงให้เห็นถึงชายชาวสเปนคนหนึ่ง ที่มีภรรยาเป็นชนพื้นเมืองและมีลูกด้วยกัน

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

นายพลอาร์เซนิโอ มาร์ติเนซ กัมโปส ได้รับการต้อนรับจากชาวเมืองฮาวานา คิวบา อาณานิคมสเปน ค.ศ. 1878

  • หมู่เกาะคะเนรี
  • Cape Juby
  • Captaincy General of Cuba
    • Spanish Florida
    • Spanish Louisiana
  • Captaincy General of the Philippines
    • Caroline Islands
    • หมู่เกาะมาเรียนา
    • Palau Islands
  • Ifni
  • Río de Oro
  • Saguia el-Hamra
  • หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของสเปน (ที่ต่อมามีการโอนอำนาจอธิปไตยไปให้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 2441 และในปี 2489 จึงประกาศเอกราชในชื่อประเทศฟิลิปปินส์)
  • โมร็อกโกของสเปน (รวมไปถึงปลาซัสเดโซเบรานีอา)
  • เนเธอร์แลนด์ของสเปน
  • Spanish Sahara
  • Spanish Sardinia
  • Spanish Sicily
  • Viceroyalty of Peru
    • Captaincy General of Chile
  • Viceroyalty of the Río de la Plata
    • Spanish Guinea
      • Annobón
      • Fernando Po
      • Río Muni
  • Viceroyalty of New Granada
    • Captaincy General of Venezuela
  • Viceroyalty of New Spain
    • Captaincy General of Guatemala
    • Captaincy General of Yucatán
    • Captaincy General of Santo Domingo
    • Captaincy General of Puerto Rico
    • Spanish Formosa

อาณานิคมของออสเตรีย-ฮังการี[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • บอสเนียและเฮอร์เซอโกบีนาในอาณัติของออสเตรียและฮังการี
  • หมู่เกาะนิโคบาร์
  • เนเธอร์แลนด์ของออสเตรีย
  • Delagoa Bay
  • บอร์เนียวเหนือ
  • แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ
  • ทรานซิลเวเนีย
  • เทียนจิน

อาณานิคมของเดนมาร์ก[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • Andaman and Nicobar Islands
  • Danish West Indies (now United States Virgin Islands)
  • Danish Norway
  • หมู่เกาะแฟโร
  • กรีนแลนด์
  • ไอซ์แลนด์
  • Serampore

อาณานิคมของเบลเยียม[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

'La Revue' แห่งกองทัพ Force Publique จากเมืองบอมา เมืองหลวงของเสรีรัฐคองโก ค.ศ. 1899

  • คองโกของเบลเยียม
    • สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
  • รวันดา-บุรุนดี
    • รวันดา
    • บุรุนดี
  • Santo Tomás de Castilla
  • เทียนจิน
  • แทนเจียร์

อาณานิคมของสวีเดน[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • รัฐบอลติก
    • ลัตเวีย
    • ลิทัวเนีย
    • เอสโตเนีย
  • กัวเดอลุป
  • นิวสวีเดน
  • แซ็ง-บาร์เตเลมี
  • Swedish Pomerania

อาณานิคมของโปแลนด์-ลิทัวเนีย[แก้]

  • New Courland
  • Couronian Africa

อาณานิคมและดินแดนที่ยึดครองของโรมาเนีย[แก้]

  • Romanian concession in Sarandë
  • Transnistria Governorate

ดินแดนโพ้นทะเลของนอร์เวย์[แก้]

  • สฟาลบาร์
  • ยานไมเอน
  • เกาะบูเว
  • ควีนม็อดแลนด์
  • เกาะปีเตอร์ที่ 1

จักรวรรดินอกทวีปยุโรป[แก้]

เป็นจักรวรรดิของประเทศต่าง ๆ นอกทวีปยุโรป

รัฐในอารักขาของออสเตรเลีย[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

เหล่าสมาชิกของทหารกองหนุนแห่งกองทัพออสเตเลียในแทสเมเนีย ประมาณปี ค.ศ. 1913

  • Papua New Guinea
  • เกาะคริสต์มาส
  • หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
  • หมู่เกาะคอรัลซี
  • เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมกดอนัลด์
  • เกาะนอร์ฟอล์ก
  • นาอูรู
  • ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

เขตสังกัดของนิวซีแลนด์[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • หมู่เกาะคุก
  • นีวเว
  • รอสส์ดีเพนเดนซี
    • หมู่เกาะเบลเลนี
    • เกาะโคลมัน
    • เกาะรอสส์
    • เกาะสกอตต์
    • เกาะรูสเวลส์
  • โตเกเลา
  • หมู่เกาะเคอร์มาเดค
  • หมู่เกาะทรีคิงส์
  • หมู่เกาะในเขตกึ่งแอนตาร์กติกของนิวซีแลนด์
  • หมู่เกาะแชทัม

อาณานิคมของสหรัฐและรัฐในอารักขา[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • อะแลสกา (รับโอนดินแดนมาจากรัสเซีย)
  • อเมริกันซามัว
  • คิวบา
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน
  • กวม
  • ฮาวาย
  • ฮอนดูรัส
  • มิดเวย์
  • นิการากัว
  • แพลไมราอะทอลล์
  • ปานามา
  • ฟิลิปปินส์ (รับโอนอำนาจอธิปไตยมาจากสเปน ในปี 2441 ก่อนที่จะมอบเอกราชให้แล้วเสร็จในปี 2489 ถือเป็นการสิ้นสุดการเป็นอาณานิคมของฟิลิปปินส์โดยสมบูรณ์)
  • เปอร์โตริโก
  • รัฐสุลต่านซูลู (ปัจจุบันอธิปไตยโดยหลักขึ้นอยู่กับฟิลิปปินส์)
  • เกาะเวก

อาณานิคมของญี่ปุ่น[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ชาวเกาหลีสามคนถูกประหารชีวิตโดยการยิงเป้า ฐานก่อการจราจนประท้วงการเวนคืนที่ดินโดยไม่มีค่าชดเชยจากญี่ปุ่น

  • หมู่เกาะโบนิน
  • เกาะซาฮาลินส่วนใต้
  • เกาหลี (เมื่อสละอธิปไตยแล้ว เกาหลีถูกแบ่งเป็นสองส่วนนับแต่นั้นมา โดยแบ่งเป็นเกาหลีเหนือ ขึ้นอยู่กับรัสเซียในนามสหภาพโซเวียต และเกาหลีใต้ ขึ้นอยู่กับสหรัฐอเมริกา แต่เพียงระยะสั้นก่อนเปลี่ยนเป็นรัฐเอกราช)
  • หมู่เกาะคูริล
  • Kwantung Leased Territory
  • นันโย
    • หมู่เกาะแคโรไลน์
    • หมู่เกาะมาร์แชลล์
    • หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
  • หมู่เกาะรีวกีว (รวมหมู่เกาะเซ็งกะกุ)
  • ไต้หวัน
  • หมู่เกาะภูเขาไฟ
  • เอเชียอาคเนย์ (ทั้งภูมิภาค ตั้งแต่ ปี ค.ศ.1941-ค.ศ.1945)

อาณานิคมของจีน[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • Amdo
  • Chinese Turkestan
  • Guangxi
  • Hainan
    • หมู่เกาะหนานชา
    • หมู่เกาะซีซา
  • Manchuria
  • มองโกเลียใน
  • มองโกเลียนอก
  • เขตปกครองตนเองทิเบต
  • สาธารณรัฐตูวา
  • เวียดนาม
  • Xinjiang

อาณานิคมของไทย[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

Siamese Army in Laos in 1893.

  • ลาว (1778–1893)
    • อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (1778–1828)
    • อาณาจักรหลวงพระบาง (1778–1893)
    • อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (1778–1893)
  • กัมพูชา (1771–1907)
    • กัมพูชาส่วนนอก (1771–1863)
    • กัมพูชาส่วนใน (1771–1907)
  • นครเชียงใหม่ (1774–1899)
  • รัฐเชียงตุง (1802–1885)
  • รัฐมาลัย (1809–1909)
    • ไทรบุรี (1821–1909)
    • กลันตัน (1812–1909)
    • ตรังกานู (1812–1909)
    • ปะลิส (1821–1909)
  • สิบสองจุไท (1778–1888)

อาณานิคมของโอมาน[แก้]

  • Swahili coast
  • แซนซิบาร์
  • กาตาร์
  • บาห์เรน
  • โซมาเลีย
  • โซโคตร้า

อาณานิคมของเม็กซิโก[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

ผู้รอดชีวิตชาวเม็กซิกันผู้หญิงและเด็ก จากเหตุการณ์โศกนาฏกรรมที่เกาะกลีแปร์ตอน ปี ค.ศ. 1917

  • Alta California
    • รัฐแคลิฟอร์เนีย
  • รัฐโคโลราโด
  • รัฐเท็กซัส
  • รัฐเนวาดา
  • นิวเม็กซิโก
  • รัฐยูทาห์
  • รัฐไวโอมิง
  • รัฐแอริโซนา
  • อเมริกากลาง
  • เกาะกลีแปร์ตอน

อาณานิคมของเอกวาดอร์[แก้]

  • หมู่เกาะกาลาปาโกส

อาณานิคมของโคลอมเบีย[แก้]

  • ปานามา
  • จังหวัดซันอันเดรสและโปรบีเดนเซีย

อาณานิคมของอาร์เจนตินา[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

เครื่องบิน C-130 Hercules และหอบังคับการบินที่สนามบินมารัมบิโอ ของอาร์เจนตินา

  • รัฐติเอร์ราเดลฟูเอโก
  • Patagonia
  • หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (1829-1831, 1832-1833, 1982)
  • แอนตาร์กติกาของอาร์เจนตินา
  • รัฐมิซิโอเนส
  • Formosa
  • Puna de Atacama (1839- )
  • invasion Argentina to Monterey (1818)

อาณานิคมของชิลี[แก้]

  • เกาะอีสเตอร์
  • หมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ
  • ดินแดนแอนตาร์กติกาของชิลี

อาณานิคมของปารากวัย[แก้]

  • รัฐมาตูโกรสซูดูซูล
  • Formosa

อาณานิคมของโบลิเวีย[แก้]

  • Puna de Atacama (1825-1839 ceded to Argentina) (1825-1879 ceded to Chile)
  • รัฐอากรี

อาณานิคมของบราซิล[แก้]

ชาติ ไทย รอดพ้น ภัยคุกคามจาก ลัทธิ ล่าอาณานิคมได้อย่างไร

  • รัฐอากรี
  • Cisplatina
    • Isla de Lobos
    • Lobos Island
  • รัฐมิซิโอเนส
  • รัฐรอนโดเนีย
  • รัฐมาตูโกรสซูดูซูล

อาณานิคมของเอธิโอเปีย[แก้]

  • เอริเทรีย

อาณานิคมของโมร็อกโก[แก้]

  • เวสเทิร์นสะฮารา

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ยุคแห่งการสำรวจ
  • การทำให้เป็นอาณานิคม (Colonization)
  • จักรวรรดิอาณานิคม
  • รัฐในอารักขา
  • ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา
  • การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา
  • การทำให้เป็นอาณานิคมในทวีปแอนตาร์กติกา
  • จักรวรรดินิยม
  • จักรวรรดินิยมในเอเชีย
  • รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.thecanadianencyclopedia.ca/en/article/ruperts-land/
  2. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2011-02-12.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. Cheikh Saïd - The territory of Cheikh Saïd was acquired in 1868 by a French company. It is for that reason that it was formerly shown with the French colours on certain atlases. In fact, Cheikh Saïd has been occupied by the Turks since 1870, and by the Yemenis since the First World War., Dictionnaire encyclopédique Quillet, (1985 ed.).
  4. "Consulter le sujet - L'Australie serait-elle française ?!... • [Forums". Francedownunder.com. สืบค้นเมื่อ 2011-03-26.
  5. Godard, Philippe; Kerros, Tugdual de; Margot, Odette; Stanbury, Myra; Baxter, Sue; Western Australian Museum; Godard, Phillippe; De Kerros, Tugdual; Margot, Odette; Stanbury, Myra; Baxter, Sue (2008), 1772 : the French annexation of New Holland : the tale of Louis de Saint Aloürn, Western Australian Museum, ISBN 978-1-920843-98-4
  6. Philippe Godard, Tugdual de Kerros 2002, "Louis de Saint Aloüarn, un marin breton à la conquête des terres australes", Les Portes du large, Saint-Jacques-de-la-Lande, 331-336
  7. "Index of Colonies and Dependencies". WorldStatesme.org. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.

wikipediaอาณาจักรรัตนโกสินทร์

ไทยรอดพ้นจากภัยคุกคามจากลัทธิล่าอาณานิคมได้อย่างไร

เมื่อทรงตระหนักพระราชหฤทัยว่ามิอาจเอาชนะศัตรูด้วยกำลังอาวุธ กำลังกองทัพแล้ว ทรงเห็นว่าวิธีเดียวที่จะทำให้สยามรอดพ้นเงื้อมมือนักล่าอาณานิคมเหล่านี้ได้ ก็คือการรู้จักศัตรูให้แจ่มแจ้ง รู้ถึงแนวความคิด วัตถุประสงค์ จุดอ่อนจุดแข็ง และวิธีการปฏิบัติด้วยการผูกมิตรและปฏิบัติกับประเทศเหล่านี้อย่างเป็นมิตรและเสมอภาค

รัชกาลที่ 5 ทรงใช้วิธีการใดในการให้สยามรอดพ้นจากการเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว ทรงพยายามแก้ไขปัญหาอย่างเต็มที่ ทั้งโดยวิธีทางการทูต การทหาร และการแสวงหาความช่วยเหลือจากมหาอำนาจอื่นอย่างอังกฤษ แต่ก็ไม่ได้รับการเหลียวแลใด ๆ เลย อังกฤษเพียงแต่บอกว่า ให้สยามยอมตามฝรั่งเศสไปเพราะไม่ใช่ผลประโยชน์ของตน

พระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงรักษาอิสรภาพของชาติไว้ได้ปลอดภัยไม่ให้ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก

สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระมหากษัตริย์ผู้เป็นที่เลื่องลือพระเกียรติยศในพระราโชบายทางคบค้าสมาคมกับชาวต่างประเทศ รักษาเอกราชของชาติให้พ้นจากการเบียดเบียนของชาวต่างชาติและรับผลประโยชน์ทั้งทางวิทยาการและเศรษฐกิจที่ชนต่างชาตินำเข้ามา นอกจากนี้ ยังได้ทรงอุปถัมภ์บำรุงกวีและงานด้านวรรณคดีอันเป็นศิลปะที่รุ่งเรืองที่สุดในยุค ...

ทำไมสยามไม่ตกเป็นอาณานิคม

เพราะสยามเป็นได้แค่ “ประเทศกึ่งอาณานิคม” แถมกษัตริย์เองนี่แหละที่ร่วมมือกับชาติมหาอำนาจยุโรป เพียงเพื่อ “ผลประโยชน์การเมืองภายใน” ของชนชั้นปกครอง และต้องการรักษาไว้ซึ่งอำนาจแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์