พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
  • คลังข้อมูล
  • Digital Learning Contest
  • คลังบทเรียน
  • คลังข่าว
  • บล็อก
  • กระดานข่าว
  • ติดต่อเรา

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร
เมื่อ พฤ, 04/11/2010 - 13:45 | แก้ไขล่าสุด พฤ, 04/11/2010 - 13:45| โดย
พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร
nsspramote

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

คำถามท้าทายให้หาคำตอบ

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

nss37469 เมื่อ จันทร์, 27/12/2010 - 18:07

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ 
การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง
การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง 
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก 
คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน 

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

บทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยเป็นอย่างมากที่ทำให้ประชาชนบังเกิดความ
เชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตย
เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์
จึงมีผลส่งให้ประชาชนเกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุขด้วย
เนื่องจาเห็นว่าเป็นระบอบที่เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพ
สักการะของประชาชนนั่นเอง

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

 พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา
ชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง
โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวด
ล้อม
และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้
เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการ
ดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้ง
กระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่
มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

ที่มา  :  http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37526 เมื่อ พฤ, 23/12/2010 - 21:59

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำในด้านการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ
ด้วยการพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อกิจการสาธารณกุศลอยู่เป็นนิจ
  ได้แก่ พระราชทานทุนการศึกษา 
สงเคราะห์คนยากจน  คนพิการ  เจ็บป่วย และชราเมื่อราษฎรประสบภัยธรรมชาติ  หรือความทุกข์ยาก 
พระองค์พระราชทานความช่วยเหลือ ทรงเป็นผู้นำทางด้านสังคมสงเคราะห์อย่างแท้จริง 
นอกจากนั้นยังทรงมีพระราชดำริให้มีโครงการเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย 
ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการปฏิรูปที่ดิน   โครงการ สหกรณ์แบบต่างๆ   
โครงการด้านการเกษตร  โครงการฝนหลวง 
โครงการนาสาธิต  โครงการแพทย์หลวง 
โครงการพัฒนาที่ดิน  โครงการการศึกษา 
โรงเรียนร่มเกล้า  โครงการแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร 
โครงการฝึกอาชีพต่างๆ  เป็นต้น 
โครงการทั้งหลายนี้ล้วนได้รับการสนับสนุนจากราษฎร  หน่วยราชการ  เกิดผลดีต่อประเทศชาติและประชาชน

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการปกครอง

พระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง 
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง 
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและ
ความเจริญแก่สังคม
  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
   พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา ชาติทั้งสิ้น
โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
  ได้แก่ 
โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง 
โครงการปลูกป่า  โครงการขุดคลองระบายน้ำ 
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์
ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก
  นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่
เช่น การประกอบอาชีพ
  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ทรงมีแนวพระราชดำริว่ามีความสำคัญด้วยเป็นทั่งที่มาของความเจริญ
และเป็นสิ่งที่จะช่วยดำรงความเป็นไทยไว้ได้
ดังพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อวันที่
12 ตุลาคม
พ.ศ
. 2513  ความตอนหนึ่งว่า"งานด้านการศึกษา
ศิลปะและวัฒนธรรมนั้น
  คืองานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญาและทางจิตใจ 
ซึ่งเป็นต้นเหตุ  ทั้งองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของความเจริญด้านอื่น
ๆ ทั้งหมด
  และเป็นปัจจัยที่ช่วยให้เรารักษาและดำรงความเป็นไทยไว้ได้สืบไป

ดังที่กล่าวแล้วว่าพระราชภารกิจอีกประการหนึ่งของพระมหากษัตริย์คือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย 
ด้วยทรงตระหนักถึงแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 
ซึ่งมีทั้งการรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  เศรษฐกิจและการค้า  และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชาติ 
โดยยังคงดำรงความเป็นไทย  เป็นชาติที่มี
อารยธรรมเก่าแก่สืบทอดกันมานาน
  มีเอกลักษณ์อันเด่นชัดที่ก่อให้เกิดความสามัคคีในชาติ
ทรงมีพระราชดำริให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวประชาชนคนไทยไว้ด้วยกันให้มี
    
ความเป็นเจ้าของร่วมกัน
และในที่สุดจะสามารถสืบทอดต่อไปสู่คนรุ่นหลัง
    ความลึกซึ้งในแนวพระราชดำริเกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจของคนแต่ละชาติแต่ละภาษานั้น 
ทรงนำมาใช้เพื่อสร้างมิตรภาพได้แม้แต่ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่าซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เคยทำสงครามกันมา   

ศิลปะและวัฒนธรรมนั้นมีบริบทที่กว้างขวาง
แม้แยกเป็นประเด็นก็อาจจะมีความเกี่ยวเนื่องโยงใยถึงกัน
โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน
เนื่องด้วยพระราชกรณียกิจเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากแนวพระราชดำริที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรม
อย่างไรก็ดี
  ในที่นี้จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ 
ผู้ทรงทำนุบำรุง  ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ 
ได้แก่การฟื้นฟูขนบประเพณี  ประวัติศาสตร์และการอนุรักษ์มรดกของชาติ 
และการอนุรักษ์ภาษาไทย

เอกสารอ้างอิง
http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss40079 เมื่อ พฤ, 23/12/2010 - 13:30

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

     พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองมิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆเพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้วทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมือง ไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใดไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆโดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลาง โดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

     สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

     พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมากและล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้นแม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนักแต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่าทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เองทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

     พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคม  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวงโครงการปลูกป่า โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพ  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

     ศิลปวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญของคน ในชาติโดยเฉพาะในความเป็นมนุษย์ที่มีจิตใจดีงาม มีความคิดทางสังคมที่เป็นระเบียบ แบบแผนและมีความสามารถในเชิงช่างที่สร้างสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ส่วนสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้นำทำนุบำรุงและปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องแสดงความเป็นชาติไว้ให้สืบทอดต่อไปถึงคนรุ่นหลังด้วยเหตุนี้บูรพกษัตริย์ของไทยในอดีตจึงทรงมีพระราชกรณียกิจทางศิลปวัฒนธรรมที่เป็นทิศทางเดียวกันคือการอนุรักษ์ของเก่าที่มีอยู่ การฟื้นฟูสิ่งที่กำลังจะสูญหายและการสร้างสรรค์ของใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากรากฐานที่มั่นคง

     บทบาทของพระมหากษัตริย์นั้นอธิบายได้ยากเพราะย่อมมีต่าง ๆ กันออกไปตามสถานการณ์แต่โดยพื้นฐานแล้วการเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยก็คือการเป็นประมุขของรัฐผู้เป็นประมุขเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของชาติไม่ว่าประมุขนั้นจะมีอำนาจหรือไม่ก็ตาม ดังนั้นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยจึงมีบทบาท อันดับแรกคือ เป็นสัญลักษณ์ของประเทศและหากทำได้เป็นผลสำเร็จก็จะเป็นเสมือน เสมือนสัญลักษณ์ที่มีชีวิตของประเทศนั้นพระมหากษัตริย์จะต้องเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับประเทศชาติแต่ในขณะเดียวกันก็ต้องคงความเป็นสาระของชาติไว้ด้วยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นตัวแทนของสิ่งต่างๆ ในประเทศหรือเป็นวิญญาณของประเทศชาติอาจมีต่าง ๆ กันแต่ลักษณะสามัญพื้นฐานเหล่านั้นต้องมีอยู่ในองค์พระผู้เป็นประมุข การพัฒนาประเทศ การพัฒนาคุณภาพของประชากรและการธำรงรักษาความเป็นไทยไว้สืบไป

ที่มา; http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm
         http://www.swu.ac.th/royal/book7/b7c1t7.html

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

NSS037562 เมื่อ พฤ, 23/12/2010 - 12:01

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

     สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมากพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมากและล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้นแม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนักแต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่าทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เองทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม 

2.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

     การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราชการวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง  การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง  พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

     พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก  และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น  แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก  แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง  ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน  ที่ว่า  เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม  เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม  

3.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

     การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ เช่น โครงการฝนหลวงชลประทาน พัฒนาที่ดิน พัฒนาชาวเขา เป็นต้น

4.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

     พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ ได้แก่ โครงการอีสานเขียวโครงการฝนหลวง โครงการปลูกป่า โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น 

อ้างอิง : http://praewtomkrab.blogspot.com/2010/08/blog-post_23.html 

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

NSS40143 เมื่อ พฤ, 23/12/2010 - 10:26

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

     รัฐธรรมนูญทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์ โดยบัญญัติว่าองค์พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ  สักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้  หมายความว่า  ผู้ใดจะฟ้องร้องหรือหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้  ผู้ที่ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ก็มี

     เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมี  รัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตย  ซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา  อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล

     การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็นต้นว่า  การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณา  เลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ  หรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่า  พระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้น แต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธย เพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ  อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้น จึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธย  แต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย                พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธย  ของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้น  ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบ  เพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆ ด้วยพระองค์เอง  จะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมา  และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว  ผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเอง  จะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้ เช่น พระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี  หากนายกรัฐมนตรีที่ได้รับการแต่งตั้งนั้นบริหารประเทศให้ประชาชนไม่ได้รับความสุข  ถ้าวิพากษ์วิจารณ์การแต่งตั้งก็ต้องมุ่งไปที่รัฐสภา ที่ให้ความเห็นชอบในการตั้งนายกรัฐมนตรีผู้นั้น  เพราะเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีที่แท้จริง  หาใช้องค์พระมหากษัตริย์ไม่                นอกจากนี้  พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับการเทิดพระเกียรติให้เป็นจอมทัพไทย  และทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก  ทรงให้การสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงภายในประเทศ  แม้ว่ารัฐธรรมนูญจะกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงต้องเป็นพุทธมามกะหรือนับถือศาสนาพุทธ  เพราะฉะนั้นประชาชนชาวไทยไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด  ย่อมจะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากองค์พระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น  ทรงเป็นศูนย์รวมที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของคนภายในชาติ  ไม่ว่าจะเชื้อชาติใดและศาสนาใด                 พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมือง  มิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้ว  ทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมือง  ไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใด  ไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆ โดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลาง  โดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ            2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง                  สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง  การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง  พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมากสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยเป็นที่พึ่งของประชาชน  เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทั้งประเทศ  เป็นที่เคารพสักการะ เป็นมิ่งขวัญของชาติทั้งในอดีต  ปัจจุบัน  และอนาคต มูลเหตุสำคัญก็คือ  พระมหากษัตริย์ไทยทรงคุณธรรมอย่างสูง  ธรรมะที่พระมหากษัตริย์ของไทยทรงยึดถือเป็นหลักในการปกครองมาแต่โบราณกาลเป็นธรรมะสำหรับผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา คือ ทศพิธราชธรรมสำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับทศพิธราชธรรม มีดังนี้                 ทศพิธราชธรรม  หรือธรรมของพระราชา 10 ประการ สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยยึดมั่น ในทศพิธราชธรรมอันมีคุณค่ายิ่ง  ได้แก่                      1. การให้  รวมถึงการพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์  เพื่อประชาชน พระราชดำริริเริ่มในการพัฒนาประเทศ  ทรงปฏิบัติราชการทั้งปวงเพื่อพสกนิกรของพระองค์                     2. การตั้งและประพฤติพระองค์อยู่ในศีล  ทรงปฏิบัติพรองค์ถูกต้องตามหลักศาสนา เป็นแบบอย่างที่ดีต่อประชาชน                      3. การบริจาค คือ สละอุทิศสิ่งทั้งปวงเพื่อส่วนรวม เช่น ความผาสุกส่วนพระองค์  พระราชทรัพย์และแม้พระชนมชีพของพระองค์                      4. ความซื่อตรง ทางมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อชาติและประชาชนของพระองค์                      5. ความอ่อนโยน ทรงเป็นผู้มีอัธยาศัยอ่อนโยน  เคารพในเหตุผล ทรงมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส                      6. ความเพียร ทรงมีพระราชอุตสาหะปฏิบัติพระราชกรณียกิจอย่างสมบูรณ์ครบถ้วน  ทรงตั้งพระทัยแน่วแน่เพื่อช่วยประเทศชาติอย่างเต็มที่                      7. ความอดกลั้นไม่แสดงความโกรธ  ทรงมีเมตตา  ไม่ก่อเวรแก่ผู้ใด อดกลั้นต่อความทุกข์  สุข ความรักความชัง                      8. ความไม่เบียดเบียน ทรงมีพระอัธยาศัยกอปรด้วยพระมหากรุณา  ไม่ทรงก่อทุกข์ หรือเบียดเบียนผู้อื่น  ทรงปกครองประชาชนประหนึ่งบิดาปกครองบุตร  ไม่เดือดร้อน                      9. ความอดทน ทรงมีจริยวัตรอดทนต่อสิ่งทั้งปวง กล่าวคือ รักษาพระราชหฤทัย พระ วรกาย พระวาจา ให้เรียบร้อยตลอดเวลา                      10. ทรงตั้งอยู่ในขัตติยราชประเพณี  ทรงยึดในพระราชจริยานุวัตรอันถูกต้อง เช่น ไม่ทรงประพฤติให้คลาดไปจากความยุติธรรม  ทรงยกย่องคนดี  เป็นต้นแม้พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญจะได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง  และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ในการปฏิบัติการทางการเมืองการปกครองทุกอย่าง  แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจบางประการที่ได้รับรองโดยรัฐธรรมนูญ  และพระราชอำนาจนั้นส่งผลกระทบต่อการเมืองการปกครองของไทย  พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์  มีดังนี้              1. พระราชอำนาจในการยับยั้งพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติหรือกฎหมายที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว  และนายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย  พระมหากษัตริย์อาจทรงยับยั้งได้หากไม่ทรงเห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัตินั้น  การยับยั้งทำได้ 2 วิธี คือ พระราชทานคืนมา  ให้รัฐสภาพิจารณาใหม่ภายในเวลาที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้  ปกติรัฐธรรมนูญส่วนใหญ่กำหนดไว้ 90 วัน และมีกรณีหนึ่งคือ ทรงเก็บไว้  โดยไม่ดำเนินการใดๆ จนครบกำหนดซึ่งเท่ากับว่าทรงไม่เห็นชอบด้วย  พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จำกัดอยู่แค่การยับยั้งเท่านั้น  ถ้ารัฐสภาพิจารณาใหม่และมีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของรัฐสภา  ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายที่รัฐสภายืนยัน  ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้ง  ถ้าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยในเวลาที่กำหนดไว้ ให้นายกรัฐมนตรีนำพระราชบัญญัตินั้น ประกาศในราชกิจจานุเบกษา  ก็จะมีผลบังคับใช้  แม้จะไม่มีพระปรมาภิไธยก็ตาม                      2. พระราชอำนาจในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน  ในกรณีที่พระมหากษัตริย์เสด็จต่างประเทศหรือไม่อาจที่จะทรงบริหารพระราชภาระด้วยเหตุใดก็ตาม  พระองค์ทรงมีพระราชอำนาจที่จะแต่งตั้งผู้หนึ่งผู้ใดเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์  แต่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่ทรงแต่งตั้งขึ้นนั้นจะต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา  การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการ  ประธานรัฐสภาเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ                      3.พระราชอำนาจในการแต่งตั้งคณะองคมนตรี  รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (พุทธศักราช 2534 ) กำหนดให้มีองคมนตรีขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานองคมนตรี1 คน และองคมนตรีอีกไม่เกิน 18 คน การแต่งตั้งผู้ใดให้ดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีหรือองคมนตรีนั้น พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัย  คณะองคมนตรีนี้ทำหน้าที่เป็นคณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์  แต่จะถวายคำปรึกษาเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงมีพระประสงค์เท่านั้น  3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคม  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ   พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่า  โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพ  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น  4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย  ด้วยทรงตระหนักถึงแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ  ซึ่งมีทั้งการรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  เศรษฐกิจและการค้า  และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชาติ  โดยยังคงดำรงความเป็นไทย  เป็นชาติที่มี อารยธรรมเก่าแก่สืบทอดกันมานาน  มีเอกลักษณ์อันเด่นชัดที่ก่อให้เกิดความสามัคคีในชาติ ทรงมีพระราชดำริให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวประชาชนคนไทยไว้ด้วยกันให้มี     ความเป็นเจ้าของร่วมกัน และในที่สุดจะสามารถสืบทอดต่อไปสู่คนรุ่นหลัง    ความลึกซึ้งในแนวพระราชดำริเกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจของคนแต่ละชาติแต่ละภาษานั้น  ทรงนำมาใช้เพื่อสร้างมิตรภาพได้แม้แต่ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่าซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เคยทำสงครามกันมา    ดังพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่ประมุขของสหภาพพม่าความว่า "… I rejoice at being able to see the great monuments of your culture, which springs from the same source as our own." (ประมวลพระราชดำรัสในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนนานาประเทศฯ. 2517 : 83) ศิลปะและวัฒนธรรมนั้นมีบริบทที่กว้างขวาง แม้แยกเป็นประเด็นก็อาจจะมีความเกี่ยวเนื่องโยงใยถึงกัน โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน เนื่องด้วยพระราชกรณียกิจเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากแนวพระราชดำริที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรม อย่างไรก็ดี  ในที่นี้จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์  ผู้ทรงทำนุบำรุง  ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ  ได้แก่การฟื้นฟูขนบประเพณี  ประวัติศาสตร์และการอนุรักษ์มรดกของชาติ  และการอนุรักษ์ภาษาไทย

อ้างอิง ; http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htmwww.mwit.ac.th/~keng/lesson05/7.dochttp://www.swu.ac.th/royal/book7/b7c1t3.html

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37693 เมื่อ พุธ, 22/12/2010 - 22:04

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.
บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

ตอบ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมือง มิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ
เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ เป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้ว
ทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมือง ไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใด ไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผล
ประโยชน์ใดๆ โดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลาง โดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

ตอบ สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ
การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น
แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ
จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า
ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

ตอบ การสร้างงานและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ
เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมไทยและสังคมโลก

การพัฒนางานอาชีพให้ก้าวหน้า

พัฒนาอาชีพให้แก่ประชาชนและประเทศชาติให้มีความเจริญสูงสุด

4.
บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตอบ ศิลปวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญของคน
ในชาติ โดยเฉพาะในความเป็นมนุษย์ที่มีจิตใจดีงาม มีความคิดทางสังคมที่เป็นระเบียบ แบบแผน
และมีความสามารถในเชิงช่างที่สร้างสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ส่วนสถาบัน
พระมหากษัตริย์เป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้นำ ทำนุบำรุงและปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องแสดงความเป็นชาติไว้ให้สืบทอด
ต่อไปถึงคนรุ่นหลัง ด้วยเหตุนี้บูรพกษัตริย์ของไทยในอดีตจึงทรงมีพระราชกรณียกิจทางศิลปวัฒนธรรม
ที่เป็นทิศทางเดียวกันคือ การอนุรักษ์ของเก่าที่มีอยู่ การฟื้นฟูสิ่งที่กำลังจะสูญหาย
และการสร้างสรรค์ของใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากรากฐานที่มั่นคง

บทบาทของพระมหากษัตริย์นั้นอธิบายได้ยาก เพราะย่อมมีต่าง ๆ กันออกไปตามสถานการณ์
แต่โดยพื้นฐานแล้วการเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยก็คือ การเป็นประมุขของรัฐ
ผู้เป็นประมุขเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของชาติ ไม่ว่าประมุขนั้นจะมีอำนาจหรือไม่ก็ตาม
ดังนั้นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย จึงมีบทบาท อันดับแรกคือ เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ
และหากทำได้เป็นผลสำเร็จก็จะเป็นเสมือน เสมือนสัญลักษณ์ที่มีชีวิตของประเทศนั้น พระมหากษัตริย์จะต้องเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับประเทศชาติ
แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องคงความเป็นสาระของชาติไว้ด้วยพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ตัวแทนของสิ่งต่าง
ๆ ในประเทศหรือเป็นวิญญาณของประเทศชาติอาจมีต่าง ๆ กัน แต่ลักษณะสามัญพื้นฐานเหล่านั้นต้องมีอยู่ในองค์พระผู้เป็นประมุข
การพัฒนาประเทศ การพัฒนาคุณภาพของประชากร และการธำรงรักษาความเป็นไทยไว้สืบไป

http://www.swu.ac.th/royal/book7/b7c1t7.html

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37571 เมื่อ อังคาร, 21/12/2010 - 19:56

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

บทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ.การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสThis will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically. นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุ เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม.บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่นที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ.การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term. อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านานเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทยเดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดินทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการเพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนและการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่าประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์  ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเองโดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมาแต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตยที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาลและอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ               3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคมพ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอีแล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึงตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคมเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึงทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทานมูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่น พระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาเป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูปประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆนอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครองเนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญจึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุขทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครองทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอรับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนช

.4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมส่วนอาคารและสถานที่มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงานสนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการแต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆโดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนดและจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัยและ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯจะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้นตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆานลอยกระทงงานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขันกีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้นทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37770 เมื่อ อังคาร, 21/12/2010 - 17:49

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

ตอบ 

เนื่อง
จากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้
อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา
อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กรอื่นเป็นผู้ใช้ 
 เป็น
ต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมาย
ความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง 
 แต่
ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตาม
กฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยใน
พระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่ม
หรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายก
รัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติ
ว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ
ผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิ
ได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านปกครอง

ตอบ 

การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช  การ
วางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูป
การปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มี
ส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบ
ธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์
เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา 
 ทำ
ให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระ
ราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ 

 ตอบ พระ
มหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
 พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และ
อื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิด
ประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรง
ชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น
  

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตอบ  การ
พัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้ง
กระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่
มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง 
 ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

Nss37765 เมื่อ อังคาร, 21/12/2010 - 13:47

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ
การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง
การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร
หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี
มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก

และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น
แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก
แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ
จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี
เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า
ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง
ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทาง
สายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง
สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ
แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้
โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540
ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ
ต้องการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งพาผู้อื่น
และ พัฒนานโยบายที่สำคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า
มันไม่ได้มีความจำเป็นที่เราจะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่
พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ
ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

บทบาทของพระมหากษัตริย์ในสมัยรัตนโกสินทร์ที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติ
นั้น มีความแตกต่างกันบ้าง
ซึ่งเป็นไปตามความเหมาะสมของยุคสมัยและความจำเป็นของบ้านเมือง
แต่มีสิ่งที่น่าสังเกตสำหรับพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์นี้
ทุกพระองค์ล้วนสนพระราชหฤทัยและทรงมีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงใดแขนงหนึ่ง
บางพระองค์ทรงโปรดหลายแขนง
และทุกพระองค์ทรงให้ความสำคัญกับงานฟื้นฟูและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
พร้อมทั้งทรงเป็นองค์ผู้สร้างงานศิลปะหรือมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดด้วย
จึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ในช่วงแรกทรง
เป็นนักรบ นักปกครองและศิลปิน
และในช่วงเวลาต่อมาพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทรงเป็นนักการฑูต
นักพัฒนา และศิลปิน
พระอัจฉริยภาพในความเป็นศิลปินจึงมีอยู่อย่างมั่นคงเฉพาะในพระบรมราชจักรี
วงศ์นี้สืบทอดมายาวนานถึงรัชกาลปัจจุบันเป็นเวลากว่าสองศตวรรษ
ดังความตอนหนึ่งในคำประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติคุณในวโรกาสที่จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ปีการศึกษา 2529 ความตอนหนึ่งว่า
พระมหากรุณาธิคุณแห่งสมเด็จพระบูรพามหากษัตริยาธิราชในพระบรมราชจักรีวงศ์
ที่ทรงมีต่อเมืองไทยและคนไทยนั้นมากมายเป็นอเนกปริยาย นอกจากจะ
ทรงปกบ้านครองเมืองให้ร่มเย็น เป็นสุขด้วยความที่ทรงมั่นอยู่ในราชธรรมทศพิธ
แล้ว
ยังทรงเป็นดวงแก้วส่องทางดำเนินไปสู่ความจำเริญให้ปรากฏชัดแก่ชาวนิกรชน
ทรงเป็นต้นแบบให้อาณาประชาราษฎร์ได้ชื่นชมกับงานศิลปะแขนงต่าง ๆ
อันถือว่าเป็นอาภรณ์ประดับชาติ
พระวุฒิปรีชาสามารถในศิลปกรรมศาสตร์ทุกสาขาไม่ว่าจะเป็นสาขาทัศนศิลป์
สาขานฤมิตศิลป์ สาขาดุริยางคศิลป์ และสาขานาฏศิลป์
เป็นพระราชมรดกพิเศษที่พระราชทานสืบเนื่องมาโดยไม่ขาดสาย
จนอาจกล่าวได้ว่าพระมหาจักรีบรมราชวงศ์เป็นพระบรมราชตระกูลแห่งศิลปินโดยแท้

อ้างอิง ,.5/8

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss-37475 เมื่อ เสาร์, 18/12/2010 - 10:41

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง?

 เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้ เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง?

 สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

 3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ?

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคม ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ ได้แก่ โครงการอีสานเขียว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกป่า โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่ โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพ การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆ ของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนา ชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ เช่น โครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนาที่ดิน พัฒนาชาวเขา

 4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ เช่นโครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนาที่ดิน พัฒนาชาวเขา เป็นต้น

อ้างอิง : http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

NS37703 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 22:32

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

   1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง     ตอบ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล  การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้      2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองตอบ สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง  การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง  พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก  และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น  แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก  แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง  ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน  ที่ว่า  เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม   เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจตอบ พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคม  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ   พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่า  โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพ  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆ ของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนา  ชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  เช่น  โครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมตอบ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น นาย  ไพฑูรย์  รอดงาม  ม.5/7  เลขที่ 21

อ้างอิง : http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

Nss37836 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 21:49

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

ตอบเนื่อง
จากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้
อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา
อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กรอื่นเป็นผู้ใช้
 เป็น
ต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมาย
ความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง
 แต่
ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตาม
กฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยใน
พระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่ม
หรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายก
รัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติ
ว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ
ผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิ
ได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

ตอบการเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช  การ
วางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูป
การปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มี
ส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบ
ธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์
เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
 ทำ
ให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระ
ราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ 

 ตอบพระ
มหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ  โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และ
อื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิด
ประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรง
ชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น
  

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตอบ การ
พัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้ง
กระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่
มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง
 ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm   

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

Nss37606 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 21:35

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของ
ประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทาง
รัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กรอื่นเป็นผู้ใช้
เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิ
ได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง
แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่ง
ตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระ
ปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรง
เป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติ
ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่
บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจ
ตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหา
กษัตริย์
มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

การ
เมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
การรวมชาติการสร้างเอกราช
การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการ
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่า
ศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหา
กษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา
ชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง
โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวด
ล้อม
และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้
เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการ
ดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้ง
กระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่
มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37516 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 19:42

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

บทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ.การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสThis will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically.นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุFor the purposes of this essay it is necessary to establish what will be understood by the key terms in the question.  Role will be understood to be the role of the monarchy both constitutionally and non-constitutionally.  The rationale for this is the Queen plays an important non-constitutional as well as constitutional role which could justify her position.  Defining what the 'modern monarchy' is and when it came into existence is a debate in itself. เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม.บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่น ที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ.การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเองHowever, for the purposes of this essay it will be understood to mean the accession of Queen Elizabeth to the throne in 1953, because as Tony Blair described during the Jubilee Celebrations, the Queen “adapted the monarchy successfully to the modern world.” 1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term.อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่       2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านานเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทยเดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดินทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการเพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนและการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่าประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์  ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเองโดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมาแต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตยที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาลและอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ                  3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคมพ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอีแล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึงตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึงทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทานมูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่นพระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาเป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูปประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆนอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครองเนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญจึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุขทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอรับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา       4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ส่วนอาคารและสถานที่ มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงานสนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการแต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆโดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนดและจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัยและ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯจะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้น ตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆานลอยกระทงงานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขันกีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37577 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 18:48

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

**1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง**

บทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ.การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส This will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically.นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุ เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม. บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่นที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ. การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term.อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง**พระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านานเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย เดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดินทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนและการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่าประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์  ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเองโดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมาแต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตยที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาลและอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ               3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ **

ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคมพ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอีแล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึงตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึงทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทานมูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่นพระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาเป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูปประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆนอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครองเนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญจึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุขทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอรับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนช

.4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมส่วนอาคารและสถานที่มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงานสนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการ แต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆโดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนดและจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัย และ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯจะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้นตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆานลอยกระทง งานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขันกีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้นทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss40083 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 18:23

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำในด้านการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ
ด้วยการพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อกิจการสาธารณกุศลอยู่เป็นนิจ
  ได้แก่ พระราชทานทุนการศึกษา 
สงเคราะห์คนยากจน  คนพิการ  เจ็บป่วย และชราเมื่อราษฎรประสบภัยธรรมชาติ  หรือความทุกข์ยาก 
พระองค์พระราชทานความช่วยเหลือ ทรงเป็นผู้นำทางด้านสังคมสงเคราะห์อย่างแท้จริง 
นอกจากนั้นยังทรงมีพระราชดำริให้มีโครงการเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย 
ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการปฏิรูปที่ดิน   โครงการ สหกรณ์แบบต่างๆ   
โครงการด้านการเกษตร  โครงการฝนหลวง 
โครงการนาสาธิต  โครงการแพทย์หลวง 
โครงการพัฒนาที่ดิน  โครงการการศึกษา 
โรงเรียนร่มเกล้า  โครงการแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร 
โครงการฝึกอาชีพต่างๆ  เป็นต้น 
โครงการทั้งหลายนี้ล้วนได้รับการสนับสนุนจากราษฎร  หน่วยราชการ  เกิดผลดีต่อประเทศชาติและประชาชน

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการปกครอง

พระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง 
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง 
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและ
ความเจริญแก่สังคม
  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
   พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา ชาติทั้งสิ้น
โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
  ได้แก่ 
โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง 
โครงการปลูกป่า  โครงการขุดคลองระบายน้ำ 
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์
ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก
  นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่
เช่น การประกอบอาชีพ
  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ทรงมีแนวพระราชดำริว่ามีความสำคัญด้วยเป็นทั่งที่มาของความเจริญ
และเป็นสิ่งที่จะช่วยดำรงความเป็นไทยไว้ได้
ดังพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
    มหาวิทยาลัยศิลปากร  
เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2513 
ความตอนหนึ่งว่า  "งานด้านการศึกษา
ศิลปะและวัฒนธรรมนั้น
  คืองานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญาและทางจิตใจ 
ซึ่งเป็นต้นเหตุ  ทั้งองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของความเจริญด้านอื่น
ๆ ทั้งหมด
  และเป็นปัจจัยที่ช่วยให้เรารักษาและดำรงความเป็นไทยไว้ได้สืบไป
(ทบวงมหาวิทยาลัย.2539 : 135)

ดังที่กล่าวแล้วว่าพระราชภารกิจอีกประการหนึ่งของพระมหากษัตริย์คือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย 
ด้วยทรงตระหนักถึงแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 
ซึ่งมีทั้งการรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  เศรษฐกิจและการค้า  และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชาติ 
โดยยังคงดำรงความเป็นไทย  เป็นชาติที่มี
อารยธรรมเก่าแก่สืบทอดกันมานาน
  มีเอกลักษณ์อันเด่นชัดที่ก่อให้เกิดความสามัคคีในชาติ
ทรงมีพระราชดำริให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวประชาชนคนไทยไว้ด้วยกันให้มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน
และในที่สุดจะสามารถสืบทอดต่อไปสู่คนรุ่นหลัง
    ความลึกซึ้งในแนวพระราชดำริเกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจของคนแต่ละชาติแต่ละภาษานั้น 
ทรงนำมาใช้เพื่อสร้างมิตรภาพได้แม้แต่ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่าซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เคยทำสงครามกันมา   

ศิลปะและวัฒนธรรมนั้นมีบริบทที่กว้างขวาง
แม้แยกเป็นประเด็นก็อาจจะมีความเกี่ยวเนื่องโยงใยถึงกัน
โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน
เนื่องด้วยพระราชกรณียกิจเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากแนวพระราชดำริที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรม
อย่างไรก็ดี
  ในที่นี้จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ 
ผู้ทรงทำนุบำรุง  ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ 
ได้แก่การฟื้นฟูขนบประเพณี  ประวัติศาสตร์และการอนุรักษ์มรดกของชาติ 
และการอนุรักษ์ภาษาไทย

เอกสารอ้างอิง http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

NSS37863 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 17:53

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำในด้านการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ
ด้วยการพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อกิจการสาธารณกุศลอยู่เป็นนิจ
  ได้แก่ พระราชทานทุนการศึกษา 
สงเคราะห์คนยากจน  คนพิการ  เจ็บป่วย และชราเมื่อราษฎรประสบภัยธรรมชาติ  หรือความทุกข์ยาก 
พระองค์พระราชทานความช่วยเหลือ ทรงเป็นผู้นำทางด้านสังคมสงเคราะห์อย่างแท้จริง 
นอกจากนั้นยังทรงมีพระราชดำริให้มีโครงการเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย 
ได้แก่  โครงการอีสานเขียว  โครงการปฏิรูปที่ดิน   โครงการ สหกรณ์แบบต่างๆ   
โครงการด้านการเกษตร  โครงการฝนหลวง 
โครงการนาสาธิต  โครงการแพทย์หลวง 
โครงการพัฒนาที่ดิน  โครงการการศึกษา 
โรงเรียนร่มเกล้า  โครงการแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร 
โครงการฝึกอาชีพต่างๆ  เป็นต้น 
โครงการทั้งหลายนี้ล้วนได้รับการสนับสนุนจากราษฎร  หน่วยราชการ  เกิดผลดีต่อประเทศชาติและประชาชน

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการปกครอง

พระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ  การสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง 
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
  คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
  การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี  มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง 
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและ
ความเจริญแก่สังคม
  ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
   พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา ชาติทั้งสิ้น
โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
  ได้แก่ 
โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง 
โครงการปลูกป่า  โครงการขุดคลองระบายน้ำ 
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่  โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์
ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก
  นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่
เช่น การประกอบอาชีพ
  การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ทรงมีแนวพระราชดำริว่ามีความสำคัญด้วยเป็นทั่งที่มาของความเจริญ
และเป็นสิ่งที่จะช่วยดำรงความเป็นไทยไว้ได้
ดังพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
    มหาวิทยาลัยศิลปากร  
เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2513 
ความตอนหนึ่งว่า  "งานด้านการศึกษา
ศิลปะและวัฒนธรรมนั้น
  คืองานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญาและทางจิตใจ 
ซึ่งเป็นต้นเหตุ  ทั้งองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของความเจริญด้านอื่น
ๆ ทั้งหมด
  และเป็นปัจจัยที่ช่วยให้เรารักษาและดำรงความเป็นไทยไว้ได้สืบไป
(ทบวงมหาวิทยาลัย.2539 : 135)

ดังที่กล่าวแล้วว่าพระราชภารกิจอีกประการหนึ่งของพระมหากษัตริย์คือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย 
ด้วยทรงตระหนักถึงแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 
ซึ่งมีทั้งการรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  เศรษฐกิจและการค้า  และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชาติ 
โดยยังคงดำรงความเป็นไทย  เป็นชาติที่มี
อารยธรรมเก่าแก่สืบทอดกันมานาน
  มีเอกลักษณ์อันเด่นชัดที่ก่อให้เกิดความสามัคคีในชาติ
ทรงมีพระราชดำริให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวประชาชนคนไทยไว้ด้วยกันให้มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน
และในที่สุดจะสามารถสืบทอดต่อไปสู่คนรุ่นหลัง
    ความลึกซึ้งในแนวพระราชดำริเกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจของคนแต่ละชาติแต่ละภาษานั้น 
ทรงนำมาใช้เพื่อสร้างมิตรภาพได้แม้แต่ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่าซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เคยทำสงครามกันมา   

ศิลปะและวัฒนธรรมนั้นมีบริบทที่กว้างขวาง
แม้แยกเป็นประเด็นก็อาจจะมีความเกี่ยวเนื่องโยงใยถึงกัน
โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน
เนื่องด้วยพระราชกรณียกิจเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากแนวพระราชดำริที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรม
อย่างไรก็ดี
  ในที่นี้จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ 
ผู้ทรงทำนุบำรุง  ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ 
ได้แก่การฟื้นฟูขนบประเพณี  ประวัติศาสตร์และการอนุรักษ์มรดกของชาติ 
และการอนุรักษ์ภาษาไทย

เอกสารอ้างอิง
http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37702 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 17:49

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

ตอบ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมือง มิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้ว ทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมือง ไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใด ไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆ โดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลาง โดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

ตอบ สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

ตอบ การสร้างงานและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมไทยและสังคมโลก

การพัฒนางานอาชีพให้ก้าวหน้า

พัฒนาอาชีพให้แก่ประชาชนและประเทศชาติให้มีความเจริญสูงสุด

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตอบ ศิลปวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญของคน ในชาติ โดยเฉพาะในความเป็นมนุษย์ที่มีจิตใจดีงาม มีความคิดทางสังคมที่เป็นระเบียบ แบบแผน และมีความสามารถในเชิงช่างที่สร้างสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ส่วนสถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้นำ ทำนุบำรุงและปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องแสดงความเป็นชาติไว้ให้สืบทอดต่อไปถึงคนรุ่นหลัง ด้วยเหตุนี้บูรพกษัตริย์ของไทยในอดีตจึงทรงมีพระราชกรณียกิจทางศิลปวัฒนธรรมที่เป็นทิศทางเดียวกันคือ การอนุรักษ์ของเก่าที่มีอยู่ การฟื้นฟูสิ่งที่กำลังจะสูญหาย และการสร้างสรรค์ของใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากรากฐานที่มั่นคง

บทบาทของพระมหากษัตริย์นั้นอธิบายได้ยาก เพราะย่อมมีต่าง ๆ กันออกไปตามสถานการณ์ แต่โดยพื้นฐานแล้วการเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยก็คือ การเป็นประมุขของรัฐ…ผู้เป็นประมุขเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของชาติ ไม่ว่าประมุขนั้นจะมีอำนาจหรือไม่ก็ตาม ดังนั้นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย จึงมีบทบาท อันดับแรกคือ เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ และหากทำได้เป็นผลสำเร็จก็จะเป็นเสมือน เสมือนสัญลักษณ์ที่มีชีวิตของประเทศนั้น พระมหากษัตริย์จะต้องเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับประเทศชาติ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องคงความเป็นสาระของชาติไว้ด้วยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นตัวแทนของสิ่งต่าง ๆ ในประเทศหรือเป็นวิญญาณของประเทศชาติอาจมีต่าง ๆ กัน แต่ลักษณะสามัญพื้นฐานเหล่านั้นต้องมีอยู่ในองค์พระผู้เป็นประมุข การพัฒนาประเทศ การพัฒนาคุณภาพของประชากร และการธำรงรักษาความเป็นไทยไว้สืบไป

ที่มา

http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm
http://www.swu.ac.th/royal/book7/b7c1t7.html

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37449 เมื่อ ศุกร์, 17/12/2010 - 17:42

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

- ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์โดยบัญญัติว่าองค์พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ สักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะฟ้องร้องหรือหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ผู้ที่ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำผิดอย่างร้ายแรงรัฐธรรมนูญบางฉบับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ก็มี

เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้ เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับการเทิดพระเกียรติให้เป็นจอมทัพไทยและทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกทรงให้การสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงภายในประเทศแม้ว่ารัฐธรรมนูญจะกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงต้องเป็นพุทธมามกะหรือนับถือศาสนาพุทธเพราะฉะนั้นประชาชนชาวไทยไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดย่อมจะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากองค์พระมหากษัตริย์ทั้งสิ้นทรงเป็นศูนย์รวมที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของคนภายในชาติไม่ว่าจะเชื้อชาติใดและศาสนาใด พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองมิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้วทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมืองไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใดไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆโดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลางโดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ปัจจุบันรัฐธรรมนูญเกือบจะทุกฉบับรับรองฐานะของพระมหากษัตริย์เช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยองค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ และจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องในทางใด ๆ มิได้และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐ก็เช่นกัน

ฐานะของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยคือทรงเป็นประมุขของประเทศและยังทรงใช้อำนาจอำนาจอธิปไตยทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติคณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

2.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

-การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมากและล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้นแม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนักแต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่าทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เองทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

- พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ ได้แก่โครงการอีสานเขียว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

- การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ เช่นโครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนาที่ดิน พัฒนาชาวเขา เป็นต้น

อ้างอิง http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

ns40082 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 21:58

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้
อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา
อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กร
อื่นเป็นผู้ใช้
เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิ
ได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง
แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่ง
ตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระ
ปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรง
เป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติ
ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่
บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจ
ตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหา
กษัตริย์
มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
การรวมชาติการสร้างเอกราช
การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการ
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่า
ศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วม
ใน
การมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา
ชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง
โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมือง
ใหญ่
โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้
เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการ
ดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย
โดย
การจัดตั้งกระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราช
ดำริ
ส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

ที่มา

http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37728 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 20:40

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.                          บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง                                     เนื่อง จากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้ อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล  การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี องค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็น ต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมาย ความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตาม กฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่ม หรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายก รัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติ ว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ ผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่ องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิ ได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่ หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้           2.                         บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการปกครอง           สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง  การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง  พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมากพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก  และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง ทรง เสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่าเราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อ ประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม      3.                         บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ         พระ มหากษัตริย์ทรงได้บำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อความสุขของประชาชน ราชษฎรมากมาย ทรงคิดโครงการต่างๆ ที่ทำให้เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจมากมาย เช่น โครงการฝนหลวง เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ทำการเกษตร โครงงานขุดคลองระบายน้ำ และอื่นๆอีกมากมาย ที่ทำให้เศรษฐกิจของไทยมีความเจริญก้วหน้า และดีขึ้นต่อไป หรือแม้กระทั่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต      4.       บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม                     พระ มหากษัตริย์หลายพระองค์ได้ทรงทำนุบำรุพุทธศาสนา ส่งเสริมวัฒนธรรมมากมาย เช่น การแต่งบทกวี หนังสือ กาพย์ต่างๆ หรือแม้กระทั่งทรงสนับสนุนการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย  และทรงสนับสนุนการศึกษาศิลปวัฒนธรรมไทย ที่มาhttp://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm   

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37502 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 19:46

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมืองบทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ. การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส This will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically. นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุ For the purposes of this essay it is necessary to establish what will be understood by the key terms in the question.  Role will be understood to be the role of the monarchy both constitutionally and non-constitutionally.  The rationale for this is the Queen plays an important non-constitutional as well as constitutional role which could justify her position.  Defining what the 'modern monarchy' is and when it came into existence is a debate in itself. เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม. บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่น ที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ. การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง However, for the purposes of this essay it will be understood to mean the accession of Queen Elizabeth to the throne in 1953, because as Tony Blair described during the Jubilee Celebrations, the Queen “adapted the monarchy successfully to the modern world.” 1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term. อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบ ธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่         2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านาน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย เดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดิน ทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชน และการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่า ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์  ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเอง โดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมา แต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตย ที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาล และอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ          3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึง ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึง ทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย มูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน มูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่น พระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูป ประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครอง เนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญ จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุข ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติ ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอ รับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์ พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา
  4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ส่วนอาคารและสถานที่ มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงาน สนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการ แต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ โดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯ ซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนด และจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัย และ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯ จะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้น ตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่ กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ านลอยกระทง งานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขัน กีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย
ให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37746 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 19:36

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

เนื่อง
จากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
และเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้
อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา
อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กร
อื่นเป็นผู้ใช้
เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิ
ได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง
แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่ง
ตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระ
ปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรง
เป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติ
ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่
บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจ
ตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหา
กษัตริย์
มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

การ
เมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
การรวมชาติการสร้างเอกราช
การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการ
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่า
ศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วม
ใน
การมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ
แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา
ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

พระ
มหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความ
เจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา
ชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ
ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง
โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ
โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมือง
ใหญ่
โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้
เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการ
ดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น
การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

การ
พัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย
โดย
การจัดตั้งกระทรวงต่างๆ
ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการ
สาขาต่างๆ
ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหา
หลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราช
ดำริ
ส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่
และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

อ้างอิง

http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37486 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 19:07

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมืองบทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ. การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส This will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically. นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุ For the purposes of this essay it is necessary to establish what will be understood by the key terms in the question.  Role will be understood to be the role of the monarchy both constitutionally and non-constitutionally.  The rationale for this is the Queen plays an important non-constitutional as well as constitutional role which could justify her position.  Defining what the 'modern monarchy' is and when it came into existence is a debate in itself. เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม. บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่น ที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ. การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง However, for the purposes of this essay it will be understood to mean the accession of Queen Elizabeth to the throne in 1953, because as Tony Blair described during the Jubilee Celebrations, the Queen “adapted the monarchy successfully to the modern world.” 1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term. อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบ ธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่         2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านาน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย เดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดิน ทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชน และการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่า ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์  ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเอง โดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมา แต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตย ที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาล และอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ          3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึง ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึง ทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย มูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน มูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่น พระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูป ประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครอง เนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญ จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุข ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติ ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอ รับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์ พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา
  4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ส่วนอาคารและสถานที่ มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงาน สนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการ แต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ โดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯ ซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนด และจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัย และ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯ จะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้น ตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่ กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ านลอยกระทง งานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขัน กีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย
ให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป
1. วัตถุประสงค์การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม2. นโยบายการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ
4. การดำเนินงานกิจกรรม / โครงการ

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss40084 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 18:56

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมืองบทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ. การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบ monarchies ดัตช์และสเปนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส This will be done to ascertain whether or not the British monarchy can be justified empirically. นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุFor the purposes of this essay it is necessary to establish what will be understood by the key terms in the question.  Role will be understood to be the role of the monarchy both constitutionally and non-constitutionally.  The rationale for this is the Queen plays an important non-constitutional as well as constitutional role which could justify her position.  Defining what the 'modern monarchy' is and when it came into existence is a debate in itself. เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม. บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่ constitutionally. นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่น ที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ. การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง However, for the purposes of this essay it will be understood to mean the accession of Queen Elizabeth to the throne in 1953, because as Tony Blair described during the Jubilee Celebrations, the Queen “adapted the monarchy successfully to the modern world.” 1 The word 'monarchy' is in itself a contestable term. อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบ ธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่, Queen"ปรับสถาบันพระมหากษัตริย์ประสบความสำเร็จกับโลกสมัยใหม่."1 'คำว่า'สถาบันพระมหากษัตริย์ในตัวเองเป็นระยะอาจโต้แย้งได้ Dearlove suggests that it is the 'raft of people who are paid out of the civil list' 2 and for the purposes of this essay, that understanding will be adopted. For the second part of the question, 'justified empirically' will be understood to mean comparable to other presidential and monarchical systems, in terms of achieving the same role at the same cost of similar or alternative systems.  'Justified theoretically' will be understood to mean comparable to other to presidential and monarchical systems, inasmuch as providing an effective head of state, and filling any comparable roles. Dearlove แสดงให้เห็นว่ามันถูกนำมาใช้'แพของผู้ที่จะได้รับเงินจากพลเรือนรายการที่ 2 และเพื่อจุดประสงค์ของบทความนี้ที่จะเข้าใจ. สำหรับส่วนที่สองของคำถามที่ว่า'ความชอบธรรมทางสังเกตุ'จะต้องทำความเข้าใจกับ เฉลี่ยเทียบได้กับระบบประธานาธิบดีและเกี่ยวกับราชวงศ์อื่น ๆ ในแง่ของการบรรลุบทบาทเดียวกันมีค่าใช้จ่ายเหมือนกันหรือทางเลือกของระบบที่คล้ายกัน.'จัดชิดขอบชิดจะต้องทำความเข้าใจความหมายเทียบได้กับอื่น ๆ เกี่ยวกับราชาธิปไตยและระบบประธานาธิบดีเป็นเช่นนั้นให้หัวหน้าที่มีประสิทธิภาพ ของรัฐและการกรอกบทบาทเคียงใด ๆ 2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านาน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย เดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดิน ทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชน และการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่า ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์              ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเอง โดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมา แต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตย ที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาล และอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ         3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึง ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึง ทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย มูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน มูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่น พระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูป ประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครอง เนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญ จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุข ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติ ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอ รับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์ พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา
  4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ส่วนอาคารและสถานที่ มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงาน สนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการ แต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ โดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯ ซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนด และจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัย และ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯ จะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้น ตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่ กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ านลอยกระทง งานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขัน กีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย
ให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป
1. วัตถุประสงค์การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม2. นโยบายการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ
4. การดำเนินงานกิจกรรม / โครงการ

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

Nss37523 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 18:39

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง ตอบ
เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของ
ประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทาง
รัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล
การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า อำนาจต่างๆ
จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มี
องค์กรอื่นเป็นผู้ใช้
เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้
หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง
แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้ง
ตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย
ในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริ
เริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายก
รัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติ
ว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ
ผ่านทางองค์การต่างๆ
นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่
องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระ
ปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิ
ได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับ
ผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2.
บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการปกครอง ตอบ
สถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ
การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง
การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา
กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก
คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก
ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร
หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี
มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง
พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมากพระราช
กรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมาก
และล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้น
แม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนัก
แต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ
จนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดี
เพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่า
ทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เอง
ทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่าเราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อ
ประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์
ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ ตอบ พระมหากษัตริย์ทรงได้บำเพ็ญพระราชกรณียกิจ
เพื่อความสุขของประชาชน ราชษฎรมากมาย ทรงคิดโครงการต่างๆ
ที่ทำให้เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจมากมาย เช่น โครงการฝนหลวง
เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ทำการเกษตร โครงงานขุดคลองระบายน้ำ และอื่นๆอีกมากมาย
ที่ทำให้เศรษฐกิจของไทยมีความเจริญก้วหน้า และดีขึ้นต่อไป
หรือแม้กระทั่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอบ พระมหากษัตริย์หลายพระองค์ได้ทรงทำนุบำรุพุทธศาสนา ส่งเสริมวัฒนธรรม
มากมาย เช่น การแต่งบทกวี หนังสือ กาพย์ต่างๆ
หรือแม้กระทั่งทรงสนับสนุนการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย
และทรงสนับสนุนการศึกษาศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อเป็นการสืบสานต่อไป

แหล่งอ้างอิง http://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37675 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 18:03

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

บทความนี้ครั้งแรกจะตรวจสอบสถาบันพระมหากษัตริย์บทบาทของ, การที่ทันสมัยในสหราชอาณาจักรเป็นสำคัญสำหรับการตรวจสอบและหาทางที่จะตอบหรือไม่ก็สามารถเป็นธรรมและทางทฤษฎีทางสังเกตุ. การออกแบบระบบที่คล้ายกันส่วนใหญ่จะใช้ในการเปรียบเทียบและสเปนด้วย สถาบันพระมหากษัตริย์ในขณะที่อังกฤษแตกต่างกันการออกแบบระบบส่วนใหญ่จะใช้ในการตรวจสอบระบบประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นี้จะทำเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือไม่สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษสามารถเป็นธรรมทางสังเกตุ  เพื่อความมุ่งประสงค์ของบทความนี้มีความจำเป็นต้องสร้างสิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเงื่อนไขสำคัญในคำถาม. บทบาทจะต้องทำความเข้าใจกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นบทบาทของทั้งสอง constitutionally และไม่  นี้เหตุผลในการเป็นราชินีเล่น ที่สำคัญไม่ใช่รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบทบาทในรัฐธรรมนูญซึ่งสามารถปรับตำแหน่งของเธอ. การกำหนดสิ่งที่'สถาบันพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัยคือและเมื่อมันมาเป็นชาติมีการอภิปรายในตัวเอง  อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุประสงค์ของการฉลองนี้เรียงความจะต้องทำความเข้าใจกับสมเด็จพระราชินีหมายถึงการเข้าของลิซาเบ ธ ราชสมบัติในปี 1953 เนื่องจากเป็นโทนี่แบลอธิบายในระหว่างยูบิลลี่, "ปรับสถาบันพระมหากษัตริย์ประสบความสำเร็จกับโลกสมัยใหม่."1 'คำว่า'สถาบันพระมหากษัตริย์ในตัวเองเป็นระยะอาจโต้แย้งได้  Dearlove แสดงให้เห็นว่ามันถูกนำมาใช้'แพของผู้ที่จะได้รับเงินจากพลเรือนรายการที่ 2 และเพื่อจุดประสงค์ของบทความนี้ที่จะเข้าใจ. สำหรับส่วนที่สองของคำถามที่ว่า'ความชอบธรรมทางสังเกตุ'จะต้องทำความเข้าใจกับ เฉลี่ยเทียบได้กับระบบประธานาธิบดีและเกี่ยวกับราชวงศ์อื่น ๆ ในแง่ของการบรรลุบทบาทเดียวกันมีค่าใช้จ่ายเหมือนกันหรือทางเลือกของระบบที่คล้ายกัน.'จัดชิดขอบชิดจะต้องทำความเข้าใจความหมายเทียบได้กับอื่น ๆ เกี่ยวกับราชาธิปไตยและระบบประธานาธิบดีเป็นเช่นนั้นให้หัวหน้าที่มีประสิทธิภาพ ของรัฐและการกรอกบทบาทเคียงใด ๆ      

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

พระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการปกครองประเทศมาช้านาน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย เดิมประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  คือ ระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการปกครองและบริหารแผ่นดิน ทรงอยู่เหนือกฎหมาย  ทรงแต่งตั้งข้าราชการ   ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยพระองค์เองแต่ก็มีลักษณะผิดไปจากระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษัตริย์ได้รับการยอมรับและเทิดทูนจากประชาชน  เหมือนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองแก่ประชาชน และการยอมรับในอำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์นั้นเป็นไปด้วยความสมัครใจและจงรักภักดี  เพราะทุกคนตระหนักดีว่า ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงได้ก็เพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์ ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีบทบาทหน้าที่ในการปกครองตนเอง โดยกำหนดให้อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ในปัจจุบันจึงไม่ได้ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศด้วยพระองค์เองโดยตรงเหมือนอดีตที่ผ่านมา แต่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ โดยใช้อำนาจการปกครอง ที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตย ที่ประกอบด้วยอำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผ่านทางคณะรัฐบาล และอำนาจตุลาการ ผ่านทางศาล ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ               

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

ทรงพระราชสมภพที่โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสทท์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชาของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์ทรงศึกษาวิชาสามัญชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วเสด็จไปประทับและศึกษาต่อที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ในปี พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลนิวัติประเทศไทย ประมาณ 2 เดือน ก็เสด็จกลับสวิสเซอร์แลนด์ จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 จึง ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล กลับประเทศไทยทางด้านสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎรจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึง ทรงก่อตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย มูลนิธิราชประชาสมาสัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อน ทรง ตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน มูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟื้นฟูสืบทอดประเพณีหลายอย่างเพื่อเป็นขวัญ เช่น พระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เป็นต้นด้านศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงอุปถัมภ์การทำนุบำรุง ศาสนาทุกด้าน เช่น การสร้างวัด สร้างพระพุทธรูป ประกอบพิธีทางศาสนา เช่น การทอดกฐิน ผ้าป่า และการบำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ทุกๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ด้านการเมืองการปกครอง เนื่องจากฐานะของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใตัรัฐธรรมนูญ จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ในทางปฏิบัติทรงเป็นประมุข ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นแบบอย่างในการปกครอง ทรงเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของประชาชน เวลาที่เกิดวิกฤตการณ์หรือ ความไม่มั่นใจในชาติ ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยามที่เดือดร้อนที่สุด ประชาชนก็ไปขอ รับพระราชทานความร่มเย็นจากพระองค์ พระองค์ยังทรงเป็นที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา
  
   

  4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ส่วนอาคารและสถานที่ มีการดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ของงาน สนับสนุนกิจกรรมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ยังไม่มีดัชนีชี้วัดและเป้าหมายอย่างเป็นทางการ แต่อาศัยมาตราฐานการปฎิบัติงานเดิมที่กำหนดไว้ งานสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ โดยมีการประสานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในของ
ส่วนอาคารฯ ซึ่งการปฎิบัติมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนด และจัดขึ้นเป็นประจำทั้งในส่วนงานโดยตรงของมหาวิทยาลัย และ
สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ซึ่งทุกหน่วยงานของส่วนอาคารฯ จะต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการทั้งสิ้น ตามภาระหน้าที่ที่สามารถให้การสนับสนุนได้ ได้แก่ กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ านลอยกระทง งานพระราชทานปริญญาบัตร งานวันคล้ายวันสวรรคต ร.4 งานวันวิทยาศาสตร์ การแข่งขัน กีฬาประเพณี และอื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การจรรโลงวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย
ให้คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป
1. วัตถุประสงค์การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

2. นโยบายการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ
4. การดำเนินงานกิจกรรม / โครงการ

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37763 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 17:53

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง- ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์โดยบัญญัติว่าองค์พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ  สักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้  หมายความว่า  ผู้ใดจะฟ้องร้องหรือหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ผู้ที่ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำผิดอย่างร้ายแรงรัฐธรรมนูญบางฉบับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ก็มี เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล  การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้ นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับการเทิดพระเกียรติให้เป็นจอมทัพไทยและทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกทรงให้การสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงภายในประเทศแม้ว่ารัฐธรรมนูญจะกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงต้องเป็นพุทธมามกะหรือนับถือศาสนาพุทธเพราะฉะนั้นประชาชนชาวไทยไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดย่อมจะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากองค์พระมหากษัตริย์ทั้งสิ้นทรงเป็นศูนย์รวมที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของคนภายในชาติไม่ว่าจะเชื้อชาติใดและศาสนาใด  พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองมิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้วทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมืองไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใดไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆโดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลางโดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ   ปัจจุบันรัฐธรรมนูญเกือบจะทุกฉบับรับรองฐานะของพระมหากษัตริย์เช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยองค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ และจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องในทางใด ๆ มิได้และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐ก็เช่นกัน ฐานะของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยคือทรงเป็นประมุขของประเทศและยังทรงใช้อำนาจอำนาจอธิปไตยทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติคณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ 2.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง-การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมากและล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้นแม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนักแต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่าทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เองทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า  เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม  เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม 3.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิ- พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ  โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น 4.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม- การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น   อ้างอิงhttp://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

nss37763 เมื่อ พฤ, 16/12/2010 - 17:53

พระ มหา กษัตริย์ ทรงเป็น ผู้นำ ในการพัฒนา สังคมไทย อย่างไร

1.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง - ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์โดยบัญญัติว่าองค์พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ  สักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้  หมายความว่า  ผู้ใดจะฟ้องร้องหรือหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ผู้ที่ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำผิดอย่างร้ายแรงรัฐธรรมนูญบางฉบับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ก็มี เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล  การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้ นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับการเทิดพระเกียรติให้เป็นจอมทัพไทยและทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกทรงให้การสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงภายในประเทศแม้ว่ารัฐธรรมนูญจะกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงต้องเป็นพุทธมามกะหรือนับถือศาสนาพุทธเพราะฉะนั้นประชาชนชาวไทยไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดย่อมจะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากองค์พระมหากษัตริย์ทั้งสิ้นทรงเป็นศูนย์รวมที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของคนภายในชาติไม่ว่าจะเชื้อชาติใดและศาสนาใด  พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองมิต้องรับผิดชอบในกิจกรรมการเมืองต่างๆ เพราะกิจกรรมที่ทำโดยพระปรมาภิไธยของพระองค์มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบอยู่แล้วทางวางพระองค์เป็นกลางทางการเมืองไม่ทรงฝักใฝ่กับกลุ่มหรือพรรคการเมืองใดไม่ทรงลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไม่ทรงเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มผลประโยชน์ใดๆโดยเฉพาะทรงวางพระองค์เป็นกลางโดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นหลักในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ   ปัจจุบันรัฐธรรมนูญเกือบจะทุกฉบับรับรองฐานะของพระมหากษัตริย์เช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยองค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ และจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องในทางใด ๆ มิได้และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐ก็เช่นกัน ฐานะของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยคือทรงเป็นประมุขของประเทศและยังทรงใช้อำนาจอำนาจอธิปไตยทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติคณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ 2.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง-การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์นั้นมีมากและล้วนก่อประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมทั้งสิ้นแม้การปฏิบัติพระราชกรณียกิจจะเป็นพระราชภาระอันหนักแต่ก็ได้ทรงกระทำอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอจนกระทั่งสามารถที่จะผูกจิตใจของประชาชนให้เกิดความจงรักภักดีเพาะตระหนักถึงน้ำพระทัยของพระองค์ว่าทรงเห็นแก่ประโยชน์สุขของส่วนรวมมากกว่าพระองค์เองทรงเสียสละยอมทุกข์ยากเพื่อบ้านเมืองอย่างแท้จริงดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า  เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม  เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม 3.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิ- พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ  โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น 4.บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม- การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น   อ้างอิงhttp://www.bbc07politics.ob.tc/117.htm

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

NSS37733 เมื่อ พุธ, 15/12/2010 - 23:47

1. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง

ตอบ     เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงได้รับการยกย่องเทิดทูนให้เป็นประมุขสูงสุดของประเทศและเพื่อเป็นการเทิดพระบารมีรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชนโดยทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภาอำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการทางศาล  การกำหนดเช่นนี้หมายความว่า  อำนาจต่างๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งในความเป็นจริงอำนาจเหล่านี้มีองค์กรอื่นเป็นผู้ใช้  เป็นต้นว่าการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจะต้องมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งแต่มิได้หมายความว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พิจารณาเลือกนายกรัฐมนตรีเอง  แต่ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้สรรหาหรือคัดเลือกมาทูลเกล้าฯถวายเพื่อทรงแต่งตั้งตามกฎเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติหรือการที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติก็มิได้หมายความว่าพระราชบัญญัตินั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มหรือสั่งการให้บัญญัติขึ้นแต่รัฐสภาเป็นองค์กรพิจารณาอนุมัติให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธยเพราะฉะนั้นการที่บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอำนาจบริหารและอำนาจตุลาการผ่านทางองค์การต่างๆ นั้นจึงเป็นการใช้พระราชอำนาจแต่โดยพระปรมาภิไธยแต่อำนาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายหรือบกพร่องเกิดขึ้นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการจะต้องรับผิดชอบเพราะในทางปฏิบัตินั้นพระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่มหรือดำเนินข้อราชการต่างๆด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรือองค์กรหนึ่งองค์กรได้เป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมาและเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วผู้รับสนองพระบรมราชโองการจะต้องเป็นผู้รับไปปฏิบัติและรับผิดชอบเองจะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้

2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการปกครอง

ตอบ     การเมืองการปกครองสถาบันพระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติการสร้างเอกราช  การวางรากฐานการเมืองการปกครองการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหากษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมากคนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึกร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันการเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดารหรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา  ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดีมีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้งพระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก

3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ

ตอบ     พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคมได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนาชาติทั้งสิ้นโครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ  ได้แก่โครงการอีสานเขียว  โครงการฝนหลวง  โครงการปลูกป่าโครงการขุดคลองระบายน้ำ  โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม  และอื่นๆทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมากนอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่ เช่น การประกอบอาชีพการใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตอบ     การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญๆของชาติส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตยโดยการจัดตั้งกระทรวงต่างๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาสปัจจุบันพระมหากษัตริย์ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่างๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรมทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยจะเห็นว่าโครงการตามพระราชดำริส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาหลักทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนาชาวไร่ และประชาชนผู้ยากไร้และด้อยโอกาสอันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ  เช่นโครงการฝนหลวง  ชลประทาน พัฒนาที่ดิน  พัฒนาชาวเขา  เป็นต้น

  • ล็อกอิน เพื่อแสดงความคิดเห็น

  • 1
  • 2
  • ถัดไป ›
  • หน้าสุดท้าย »