ลักษณะทางพันธุกรรมถ่ายทอดไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ทางใด

������ (chromosome)�繷������ͧ˹��¾ѹ�ء��� ��觷�˹�ҷ��Ǻ�����ж��·ʹ������ ����ǡѺ �ѡɳзҧ�ѹ�ء�����ҧ� �ͧ����ժ��Ե �� �ѡɳТͧ��鹼� �ѡɳдǧ�� �� ��м��

����֡���ѡɳ������� �е�ͧ����¡�ôٴ��¡��ͧ��ŷ��ȹ�����ѧ�����٧� �֧������ö �ͧ�����������´�ͧ��������

˹��¾ѹ�ء��� ���� �չ ( Gene )��ҡ����躹������ ��Сͺ���´������ ��˹�ҷ���˹��ѡɳ� �ҧ�ѹ�ء�����ҧ � �ͧ����ժ��Ե ˹��¾ѹ�ء��� �ж١���·ʹ�ҡ����ժ��Ե ��蹡�͹˹������١��ҹ �� �Ǻ�����кǹ�������ǡѺ�Ԩ�������� � 价ҧ��������������ͧ����ժ��Ե 仨��֧�ѡɳл�ҡ���辺��������ѧࡵ����µ� �� �ٻ��ҧ˹�ҵҢͧ�硷���պҧ��ǹ����͹�Ѻ���, ���ѹ�ͧ�͡���, �ʪҵԢͧ����ùҹҪ�Դ ��ǹ���������ѡɳз��ѹ�֡�����˹��¾ѹ�ء���������

������� (DNA) �������?

������� (DNA) �繪�����ͧ͢��þѹ�ء��� �ժ���Ẻ������ �ô���͡����⺹�Ǥ���ԡ (Deoxyribonucleic acid) ����繡ô��Ǥ���ԡ (�ô��辺�㨡�ҧ�ͧ����ء��Դ) ��辺�����ͧ����ժ��Ե�ء��Դ ���� �� (Haman), �ѵ�� (Animal), �ת (Plant), ������ (Fungi), Ấ������ (bacteria), ����� (virus) ( ����� �����١���¡�������ժ��Ե����§͹��Ҥ��ҹ��) �繵� ������� (DNA) ��èآ����ŷҧ�ѹ�ء����ͧ����ժ��Ե��Դ������ ������ѡɳз������ҹ�Ҩҡ����ժ��Ե��蹡�͹ ��觡��� ��������� (Parent) �������ö���·ʹ��ѧ����ժ��Ե��蹶Ѵ� ��觡��� �١��ҹ (Offspring)

������� (DNA) ���ٻ��ҧ������Ǥ�� ����ºѹ��ԧ���Դ��Ƿҧ��� ���ͺѹ����¹��� ��������Ǣͧ�ѹ����Т�ҧ���͡�����§��Ǣͧ��Ǥ����䷴� ( Nucleotide ) ��Ǥ����䷴������š�ŷ���Сͺ���¹�ӵ�� ( Deoxyribose Sugar ), ���࿵ ( Phosphate ) (��觻�Сͺ���¿�ʿ��������͡��ਹ) �����èչ���� (Nitrogenous Base) ��㹹�Ǥ����䷴���������誹Դ ���� �дչչ (adenine, A) , ��չ (thymine, T) , �ⷫչ (cytosine, C) ��С�ǹչ (guanine, G) ��������Ǣͧ�ѹ��ͧ��ҧ���͹�Ǥ����䷴�١����������� �·�� A ��������Ѻ T ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ�Ф�� ���� double bonds ��� C ��������Ѻ G ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ��������� triple bonds (㹡óբͧ�������) ��Т����ŷҧ�ѹ�ء��������ժ��Ե��Դ��ҧ � �Դ��鹨ҡ������§�ӴѺ�ͧ��㹴�����͹���ͧ

���鹾�������� ��� ��մ�Ԫ ������ 㹻� �.�. 2412 (�.�. 1869) ���ѧ����Һ������ç���ҧ���ҧ�� ��㹻� �.�. 2496 (�.�. 1953) ���� ��. �ѵ�ѹ ��п�ҹ��� ��ԡ �繼���Ǻ��������� ������ҧẺ���ͧ�ç���ҧ�ͧ������� (DNA Structure Model)����������Ѻ�ҧ������ ��й�蹹Ѻ�繨ش������鹢ͧ�ؤ෤����շҧ�������

15.ในการทดลองเพื่อศึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เมนเดลใช้ถั่วลันเตาเป็นพืชทดลอง เพราะมีสมบัติใดสำคัญที่สุด

 ก.ปลูกง่ายให้ผลผลิตสูง

 ข.เป็นดอกสมบูรณ์เพศ

 ค.มีการผสมข้ามพันธุ์ตามธรรมชาติ

 ง.มีพันธุ์เดียวสามารถหาพันธุ์แท้ได้ง่าย

ตอบ  ข.เป็นดอกสมบูรณ์เพศ

16.สมมติว่า ลักษณะต้นสูงและต้นเตี้ยของพืชตระกูลถั่ว มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมเป็นไปตามกฎของเมนเดล ถ้าจะพิสูจน์ว่าพืชต้นสูงเป็นพันธุ์สูงแท้หรือไม่โดยวิธีใด

 ก.หาพันธุ์สูงแท้มาผสม

 ข.หาพันธุ์เตี้ยแท้มาผสม

 ค.หาพันธุ์สูงเทียมมาผสม

 ง.ผสมเกสรในต้นเดียวกัน

ตอบ  ข.หาพันธุ์เตี้ยแท้มาผสม

17.คนปกติจะมีจำนวนโครโมโซมเท่าใด

 ก. 23 คู่  48 แท่ง

 ข. 23 คู่  46 แท่ง

 ค. 24 คู่  46 แท่ง

 ง. 24 คู่  48 แท่ง

ตอบ  ข. 23 คู่  46 แท่ง

18.ข้อมูลทางพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆเกิดขึ้นจากการเรียงลำดับของอะไร

 ก.เบส ใน DNA

 ข.เบส ใน ไรโบโซม

 ค.กรด ใน RNA

 ง.กรด ใน ไลโซโซม

ตอบ  ก.เบส ใน DNA

19.ในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สิ่งที่ทำหน้าที่นำลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งคือข้อใด

ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยกรดนิวคลีอิกชนิด DNA หรือ RNAที่สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อ ๆ ไป โดยอาศัยเซลล์สืบพันธุ์หรือเซลล์ชนิดอื่น ๆ เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด

ประเภทของลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรมจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ
1.ลักษณะที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous variation) เป็นลักษณะพันธุกรรมที่
- แยกความแตกต่างกันได้อย่างเด่นชัด
- มักถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่
- มักเกี่ยวข้องกับทางด้านคุณภาพ (Qualitative trait)
2. ลักษณะที่มีความแปรผันต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่
- ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด
- มักถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ (Polygenes or Multiple genes)
- มักเกี่ยวข้องกับทางด้านปริมาณ (Qrantitative trait)

คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์
1. เซลล์สืบพันธุ์ (Gamete or Sex cell) หมายถึง ไข่ (Egg) หรือ สเปิร์ม ( Sperm)
2. ลักษณะเด่น (Dominance) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นลูกหรือรุ่นต่อ ๆ ไปเสมอ
3. ลักษณะด้อย (Recessive) หมายถึง ลักษณะที่ไม่มีโอกาสปรากฏในรุ่นต่อไป
4. ยีน (Gene) หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเป็นสารเคมีจำพวกกรดนิวคลีอิก โดยเฉพาะ ชนิด DNA จะพบมากที่สุด ชนิด RNA
5. โฮโมโลกัสยีน (Homologous gene) หมายถึง ยีนที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน เช่น TT , tt , AA , bb
6. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous gene) หมายถึง ยีนที่ต่างกันอยู่ด้วยกัน เช่น Tt , Aa , Bb
7. จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง ลักษณะหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ
8. ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาเนื่องจากการ แสดงออกของยีนและอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม
9. โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เป็นคู่กัน มีขนาดและรูปร่างภายนอกเหมือนกัน
10. โฮโมไซกัสโครโมโซม (Homozygous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เป็นโฮโมโลกัสกันและมียีนที่เป็นโฮโมไซกัสกัน อย่างน้อย 1 คู่

กฏพันธุกรรมของเมนเดล
เมนเดลได้ทดลองผสมถั่วลันเตาที่มีลักษณะต่าง ๆ กัน 7 ลักษณะซึ่งกระจายอยู่บนโครโม
โซมต่างท่อนกัน โดยได้ทำ การทดลองนานถึง 7 ปี จึงพบกฏเกณฑ์การถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆและได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ (Father of Genetics)

กฏการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล ที่สำคัญ คือ

กฏข้อที่ 1 กฏแห่งการแยก (Law of segregation)
มีสาระสำคัญดังนี้คือ : ยีนที่อยู่คู่กันจะแยกตัวออกจากกันไปอยู่ในแต่ละเซลล์สืบพันธุ์ก่อนที่จะมารวมตัวกันใหม่เมื่อ จะมารวมตัวกันใหม่เมื่อ

กฏข้อที่ 2 กฏแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)
มีสาระสำคัญดังนี้คือ : ยีนที่เป็นคู่กันเมื่อแยกออกจากกันแล้ว แต่ละยีนจะไปกับ ยีนอื่นใดก็ได้อย่างอิสระนั่นคือเซลล์ สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ โดยการรวมกลุ่มที่เป็นไปอย่างอิสระ จึงทำให้สามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูกรุ่นหลายได้

มัลติเปิลอัลลีลส์ (Multiple alleles)
อัลลีล หรืออัลลีโลมอร์ฟ (Allele or Allelomorph) หมายถึง ยีนต่างชนิดกันที่เข้าคู่กันได้ หรือ หน่วยกรรมพันธุ์ที่ ต่างชนิดกันแต่อยู่ในตำแหน่ง(Locus) ของโครโมโซมที่เป็นคู่กัน(Homologous chromosome) และควบคุมลักษณะพันธุกรรมเดียวกัน
มัลติเปิลอัลลีลส์ หมายถึง พันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่ถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 2 อัลลีลส์ (Alleles) ที่ตำแหน่ง (Locus) หนึ่งของโครโมโซมที่เป็นคู่กัน (Homolo-gous chromosome)

มัลติเปิลยีนส์ หรือพอลียีนส์ (Multiple genes or Polygenes)
มัลติเปิลยีนส์ หรือ พอลียีนส์ หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ที่กระจายอยู่บนโครโมโซมคู่เดียวกันหรือต่างคู่กัน ต่างทำหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

ยีน และโครโมโซม (Gene and Chromosome)
ยีน (Gene) หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นแต่ละส่วนของสารพันธุกรรม ชนิด DNA หรือ RNA โดยบรรจุอยู่ในโครโมโซม (Chromosome) ตำแหน่งของยีนในโครโมโซมเรียก โลกัส (Locus) เนื่องจากสิ่ง มีชีวิตโดยทั่วไปจะมีโครโมโซม
เหมือนกันเป็นคู่ ๆ (Homologus chromosome) ดังนั้น 1 โลกัส จึงหมายถึง 2 ตำแหน่งที่อยู่ตรงกันบนโฮโมโลกัสโครโมโซม ซึ่งยีนต่างชนิดกันที่อยู่บนโลกัสเดียวกัน เรียกว่าเป็นอัลลีล (Allele) กัน
โครโมโซม (Chromosome) ในเซลล์ร่างกาย จะมีรูปร่าง ลักษณะที่เหมือนกันเป็นคู่ ๆ แต่ละคู่เรียกว่า โฮโมโลกัสโครโมโซม(Homologus chromosome) ซึ่งโครโมโซมที่เป็นโฮโมโลกัสกันนี้ จะมีรูปร่าง ลักษณะเหมือนกัน ความยาวเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงลำดับยีนในโครโมโซมเหมือนกัน และมียีนที่เป็นอัลลีลกัน
ในโครโมโซมเรามีโครโมโซม 23 คู่ แต่ละคู่มียีนควบคุมลักษณะพันธุกรรมมากมายเรียงต่อ ๆ กันไป ดังนั้นจึงอาจ แบ่งยีนที่ควบคุมลักษณะพันธุกรรมออกเป็น 2 ประเภท คือลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนในออโตโซม และที่ถูก ควบคุมโดยยีนในโครโมโซมเพศ

ยีนในออโตโซม
- ยีนที่ควบคุมหมู่เลือด ABO (ABO blood grorp)
- ยีนที่ควบคุมหมู่เลือด Rh (Rh blood group)
- ยีนที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งที่เรตินา (Retinoblastoma)
- ยีนที่ทำให้เกิดโรคทาลัสซีเมีย (Thalassemia)

กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) มี 2 ชนิดคือ
1. DNA (Deoxyribonucleic acid)
2. RNA (Ribonucleic acid)

DNA
DNA เป็นสารพันธุกรรมที่พบเป็นส่วนใหญ่ในสิ่งมีชีวิตซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
1.DNA เป็นพอลีเมอร์(Polymer) ประกอบขึ้นจากหน่วยย่อย(Monomer) เรียกว่า นิวคลีโอไทด์(Nucleotide)
2.แต่ละนิวคลีโอไทด์เชื่อมต่อกันเป็นสายยาว โดยมีการสร้างพันธะระหว่างหมู่ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์หนึ่งกับน้ำตาล ของนิวคลีโอไทด์อีกหนึ่งที่คาร์บอน
3.DNA โมเลกุลหนึ่งประกอบขึ้นจากพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย โดยสายทั้งสองนี้ยึดกันด้วยพันธะไฮโดเจน
4.พอลินิวคลีโอไทด์สองสายในโมเลกุลของ DNA นั้น แต่ละสาย

ลักษณะทางพันธุกรรมถ่ายทอดไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ทางใด

https://sites.google.com/site/chawissil/laksna-thang-phanthukrrm

ลักษณะทางพันธุกรรมถ่ายทอดไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ทางใด