ม.ปลาย เฉลย ข้อสอบ ช่อง ทางการ ขยายอาชีพ อช 31001

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

Description: 21. ช่องทางการขยายอาชีพ อช 31001 (ม.ปลาย)
โดย :สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

Read the Text Version

No Text Content!

ก ข เอกสารสรปุ เนอ้ื หาท่ตี อ งรู รายวิชา ชอ งทางการขยายอาชพี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั อช31001 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนา ย หนังสอื เรยี นนจ้ี ดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพอ่ื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธิ์เปน ของสาํ นกั งาน กศน.สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิกา ง สารบัญ หนา คาํ นาํ สารบัญ คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ องรู บทที่ 1 ชองทางการเขา สูอ าชพี .............................................................................................1 เรือ่ งที่ 1 ความสําคญั และความจําเปน ในการขยายอาชพี ..................................................1 เรื่องที่ 2 การขยายอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป............................2 เรื่องที่ 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ....................................................................................................3 เรื่องท่ี 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม............................................................................................11 เรื่องท่ี 5 การอนรุ ักษพ ลงั งานและสงิ่ แวดลอ มในการขยายอาชีพในชมุ ชน สังคม และภูมภิ าค 5 ทวปี ...........................................................................................12 แบบฝก หดั ........................................................................................................................15 บทท่ี 2 ชองทางการขยายอาชพี ..........................................................................................17 เรอ่ื งท่ี 1 ความจาํ เปนในการมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชีพ....................................17 เรอื่ งที่ 2 ความจาํ เปนไปไดของการขยายอาชพี ...............................................................18 เร่อื งที่ 3 การกําหนดวธิ ีการขัน้ ตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของการขยายอาชพี .......21 แบบฝก หัด ........................................................................................................................26 บทท่ี 3 การตดั สนิ ใจเลือกขยายอาชพี .................................................................................28 เรื่องท่ี 1 ภารกจิ เพ่ือความม่นั คงในการทําธุรกิจ...............................................................28 เรื่องที่ 2 การวดั และประเมินผลความมน่ั คงในอาชพี .......................................................32 เรื่องที่ 3 การตัดสินใจขยายอาชีพดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ..........................................40 แบบฝกหดั ........................................................................................................................42 เฉลยแบบฝก หัด ...................................................................................................................43 บรรณานกุ รม ......................................................................................................................48 คณะผจู ดั ทํา .........................................................................................................................49 จ คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรุปเนอ้ื หาทตี่ อ งรู หนงั สอื สรุปเนอื้ หาทต่ี องรูหนงั สือเรยี นรายวชิ า ชอ งทางการขยายอาชีพ เลมน้ีเปนการ สรปุ เน้ือหาจากหนังสอื เรียนรายวชิ าบงั คับ สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ชอ งทางการขยาย อาชีพ อช31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพ่ือใหนักศึกษาไดเรียนรูและทํา ความเขาใจในเนื้อหาสาระของรายวิชาชองทางการขยายอาชีพ อช31001 ที่สําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาใจยงิ่ ข้ึน ในการศึกษาหนังสือสรุปเนื้อหาที่ตอ งรหู นังสือเรียนรายวิชา ชองทางการขยายอาชพี เลม น้ี นกั ศึกษาควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ศึกษาหนงั สือเรยี นรายวิชา ชองทางการขยายอาชีพ อช31001 สาระการประกอบ อาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใหเ ขาใจกอ น 2. ศึกษาเน้อื หาสาระของหนังสือสรุปเน้อื หาทตี่ อ งรูหนังสือเรียนรายวิชา ชองทางการ ขยายอาชีพ อช 31001 ใหเขาใจอยางถองแท พรอมท้ังทําแบบฝกหัดทายบททีละบท และ ตรวจคาํ ตอบจากเฉลยแบบฝกหัดทายเลมใหครบ 3 บท 3. หากนักศึกษาตองการศึกษารายละเอียดเนื้อหาสาระรายวิชา ชองทางการขยาย อาชีพ อช31001 เพิ่มเติมสามารถศึกษาคนควาไดจากส่ืออื่น ๆ ในหองสมุดประชาชน อินเทอรเ น็ต หรือครูผสู อน 1 บทที่ 1 ชองทางการเขา สูอาชีพ เรอ่ื งท่ี 1 ความสําคญั และความจําเปน ในการขยายอาชีพ การขยายขอบขายอาชีพ หมายถึง กิจกรรมอาชีพท่ีมีอยูแลว และสามารถขยาย กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วของและสัมพันธกับอาชีพเดิมออกไปเปนอาชีพที่สรางรายไดเพ่ิมขึ้น โดยใชทุน ทรพั ยากรจากอาชีพหลกั ใหเ กิดคณุ คา และสรา งความเขม แข็งย่งั ยนื ในอาชีพ เชน 1. การขยายขอบขายอาชีพจากการหมุนเวียนเปล่ียนรูปผลิตภัณฑหรือผลพลอยได ไปสูกจิ กรรมใหม เชน 1.1 สรา งธุรกิจแปรรูปหมูจากฟารม สุกรของตนเอง 1.2 สรางธุรกจิ ปยุ หมักจากมูลสกุ ร 1.3 สรา งธุรกิจขนมหวานเยลลีจ่ ากหนงั สุกร 2. การขยายขอบขายอาชีพจากการสรางและพัฒนาเครือขา ยจากอาชีพ เชน 2.1 เฟรนไชส ชายส่ีบะหมเ่ี กยี๊ ว 2.2 การสรา งเครือขายนาขาวอินทรีย 3. การขยายขอบขายอาชพี จากการตลาด เชน 3.1 สวนมะพราวน้ําหอมแมตุม ศูนยกลางรับซื้อและขายสงมะพราวนํ้าหอม ภายใตการควบคมุ คณุ ภาพของตนเอง 4. การขยายขอบขา ยอาชพี จากการสง เสรมิ การทองเทยี่ ว เชน 4.1 จัดบรกิ ารทองเที่ยวพักผอ น กินอาหารเกษตรอนิ ทรียท่ไี รสุดปลายฟา 4.2 ทองเท่ยี วชมิ ผลไม ชมสวนชาวไรจ นั ทบุรี 5. การขยายขอบขา ยอาชีพกบั การสง เสรมิ สขุ ภาพและอนามยั เชน 5.1 การพักฟน รับประทานอาหารธรรมชาติไรสารพิษ ปฏิบัติธรรมกับ Home Stay คลองรางจระเข 6. การขยายขอบขายอาชีพกบั การเรียนรู เชน 6.1 เรยี นรูร ะบบนิเวศ ความพอเพียงที่ไรนาสวนผสม 2 เร่อื งท่ี 2 การขยายอาชพี ในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี การประกอบอาชพี ในปจ จบุ นั ไดมกี ารกาํ หนดลักษณะอาชีพ แบงได 5 ลกั ษณะอาชพี ดังน้ี 2.1 งานอาชีพดานเกษตรกรรม กลุมอาชีพดานการเกษตร คือ การพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเก่ียวกับการ ปลูกพืช เล้ียงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยี นวัตกรรม มาพัฒนาให สอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่ เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม ธุรกิจการเกษตร เปน ตน 2.2 งานอาชีพดานอตุ สาหกรรม กลุม อาชพี ดา นอุตสาหกรรม คือ การพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพ หลักของพ้ืนท่ี เชน ผูผลิตช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสเคร่ืองใชไฟฟาหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ผูประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตาง ๆ ผูผลิต ตัวแทนจําหนายหรือผูประกอบช้ินสวน หรอื อะไหลร ถยนต ผใู หบ ริการซอ มบํารงุ รถยนต ผจู ดั จําหนา ยและศูนยจําหนายรถยนตมือสอง ผผู ลติ และจําหนา ยเคร่อื งจกั รและเคร่อื งมือทกุ ชนิด ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของ เครือ่ งใชไ ฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา การผลิตอลูมิเนียม ผลิตและตัวแทน จําหนายผลิตภัณฑเหล็ก สแตนเลส ผูผลิตจําหนายวัสดุกอสราง วัสดุตกแตง สุขภัณฑ การกอ สรางอาคารหรอื ท่อี ยูอ าศัย 2.3 งานอาชีพดานพาณชิ ยกรรม กลมุ อาชพี ดานพาณิชยกรรม คือ การพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดานพาณิชย กรรม เชน ผูให บรกิ ารจาํ หนา ยสินคาท้ังแบบคาปลีกและคาสงใหแกผูบริโภคทั้งมีหนารานเปน สถานทีจ่ ัดจาํ หนาย เชน หา งราน หา งสรรพสนิ คา ซปุ เปอรส โตร รา นสะดวกซอ้ื และการขาย ท่ีไมมีหนาราน เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (รานคาออนไลน) ซึ่งปจจุบันมี ผูประกอบการธุรกิจลกั ษณะน้ีมากขน้ึ เพราะมกี ารลงทนุ นอ ย 2.4 งานอาชีพดานความคิดสรางสรรค กลมุ อาชีพดานความคิดสรา งสรรค เปนอาชีพท่อี ยูบนพ้ืนฐานของการใชองคความรู การศึกษา การสรางสรรค และการใชทรัพยสินทางปญญา ที่เช่ือมโยงพ้ืนฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรูของสังคม และเทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม ดังนั้นกลุมอาชีพดานความคิด 3 สรางสรรค จงึ เปน การตอยอดหรือการพฒั นาอาชพี ในกลมุ อาชพี เดมิ ในกลุมอาชีพเกษตรกรรม กลุมอาชีพอตุ สาหกรรม กลมุ อาชีพพาณิชยกรรม กลุมอาชพี คหกรรม กลมุ อาชีพหตั ถกรรมและ กลุมอาชีพศิลปกรรม ทําใหเกิดผลผลิตหรือผลิตภัณฑท่ีทันสมัยมากขึ้น เชน แฟช่ันเส้ือผา เครื่องประดับ เคร่ืองสําอาง ทรงผม สปาสมุนไพร การออกแบบส่ือ/ภาพยนตร/โทรทัศน เคร่ืองใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วัสดุกอสรางแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผาทอ จักสาน แกะสลกั รถยนตพ ลังงานทางเลือก ขาเทียมหุนยนตเพื่อคนพิการ การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ตลาดนาํ้ อโยธยา เปน ตน 2.5 งานอาชีพดา นอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง กลมุ อาชพี ดานอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง เชน ธุรกิจบรกิ ารทองเทีย่ ว ธุรกิจ บริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิสติกส ธุรกิจภาพยนตร ธุรกิจการจัดประชุมและแสดง นิทรรศการ บรกิ ารทปี่ รกึ ษาดานอสงั หาริมทรัพย ท่ีปรกึ ษาทางธุรกจิ โดยงานอาชพี ดา นอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง ในอนาคตจะมีการเติบโตทาง ธุรกิจมากขึ้น จึงมีความตองการเจาหนาท่ี บุคคล พนักงาน เพ่ือควบคุมและปฏิบัติงานท่ีมี ความรู ความสามารถและทกั ษะฝมือเปน จาํ นวนมาก เรอื่ งที่ 3 การขยายกระบวนการจัดการงานอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป กระบวนการจดั การงานอาชีพมีความสําคญั ตอการดาํ เนนิ ธรุ กจิ มีรายละเอียดดงั นี้ 3.1 การจัดการการผลิต กระบวนการของการจดั การการผลติ มีความสําคัญและจําเปนท่ีจะตองมีข้ันตอน ท่ีกําหนดไวกอนหลังอยางชัดเจน เพื่อใหผูดําเนินการสามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง การ กําหนดกระบวนการผลิตจําเปนตองมีความเขาใจและสามารถจัดระบบการบริหารจัดการได อยางมีประสิทธิภาพ เพราะเปนการกําหนดแนวทางการสื่อสาร การประกันคุณภาพ การ ประเมนิ การควบคมุ การตดิ ตามตรวจสอบ การดาํ เนินงาน การแกปญหา และเปนเครื่องมือใน การสรางนวตั กรรม รวมถึงการพยากรณส่งิ ท่เี กดิ ข้นึ ใหเหมาะสมยิง่ ข้ึน กระบวนการของการจดั การการผลิต เปนการวเิ คราะหล กั ษณะ ขอบขา ย ทีเ่ กย่ี วของกับการจัดการการผลติ ประกอบดวย 4 1. การวางแผน การวางแผนเปนจุดเรมิ่ ตน ของการทาํ งานตามนโยบาย เพื่อบรรลุวัตถุประสงคของธุรกิจ โดยกําหนดกิจกรรมไวชัดเจนวา จะใหใครทําอะไร ที่ไหน เม่ือใด เพราะอะไร ดวยวิธีใด เม่ือพบปญหาและอุปสรรคท่ีคาดวาจะมี จะเกิดอยางไรน้ัน จะแกไขอยางไร ในชวงเวลาขางหนา ของการดาํ เนนิ การภายใตงบประมาณท่ีตัง้ ไว องคประกอบของการวางแผนงาน สรปุ ไดด ังนี้ 1. การวางแผนเปน จดุ เริ่มตนของการลงมือทาํ งาน 2. แผนตองสอดคลองกบั นโยบาย ซึง่ นโยบายสนองตอบวัตถุประสงค 3. แผนงานประกอบดว ยกิจกรรมตาง ๆ ตามลําดับความสําคัญและวิธีการทํางาน อยางเปน ข้ันตอน 4. ทุกข้ันตอนแตละกิจกรรม ตอบคําถามไดวา ใคร ทําอะไร เรื่องอะไร ทําท่ี ไหนทําเมื่อใด เพาะอะไร จะไดผ ลอะไร กําหนดวิธีทํางานในแตล ะขน้ั ตอนแลวจะเกิดอะไรขึ้น 5. ตองกาํ หนดชว งเวลาของแผน 6. ในทุกกจิ กรรมตองใชท รพั ยากรหรืองบประมาณเทาไร ประเภทของแผนงาน มกี ารแบง ประเภทของแผนงาน ดงั นี้ 1. การวางแผนตามระยะเวลา ดังนี้ 1.1 แผนระยะสน้ั 1.2 แผนระยะปานกลาง 1.3 แผนระยะยาว 2. การวางแผนตามขอบเขตของการวางแผน 2.1 แผนแมบ ท 2.2 แผนกลุมหนา ทีห่ รือกลุมงาน เชน แผนงานขาย แผนการเงิน แผนการ ตลาด แผนการผลิต 2.3 โครงการ เชน โครงการสง เสรมิ การขาย โครงการจัดแสดงสนิ คา 2.4 แผนสรุป เชน แผนการศึกษา 2.5 แผนกิจกรรม 3. การวางแผนตามลักษณะของการใช 3.1 แผนงานทใี่ ชประจํา 3.2 แผนงานท่ีใชค รง้ั เดยี ว 5 4. การแบงการวางแผนตามขอบขายของการใชแผน 4.1 แผนกลยุทธ 4.2 แผนกลวธิ ี ลกั ษณะของแผนท่ีดี มีดงั นี้ 1. มวี ตั ถปุ ระสงคห รอื เปาหมายที่ชัดเจน 2. ครอบคลุมรายละเอียดอยางเพียงพอท่ีสามารถจะปฏิบัติใหสําเร็จไดตาม วัตถุประสงค 3. มคี วามยดื หยุนพอสมควรปรับใชไ ดก บั สถานการณท ีเ่ ปลีย่ นแปลง 4. มีระยะเวลาดําเนินการทแ่ี นนอน 5. มีการกําหนดบทบาหนา ที่ของผูปฏบิ ัติตามแผนชัดเจน 6. ผูเกยี่ วขอ งกับแผนมีสวนรว มในการวางแผนที่ชดั เจน 7. ใชขอมลู เปน พน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจทกุ ขัน้ ตอน 2. การจัดทาํ โครงการ โครงการ หมายถึง งานที่มีการดําเนินการในขอบเขตที่จํากัด โดยมุงหวัง ความสําเร็จของงานเปน สาํ คญั ความสําคัญของโครงการ การดําเนินโครงการ มีการใชทรัพยากรตาง ๆ ของ องคกร ซึง่ เก่ียวพันกบั คา ใชจ า ยที่เกิดขน้ึ จากการใชทรัพยากร การกําหนดโครงการมีการจัดทํา งบประมาณท่ตี อ งใชตลอดโครงการและกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของโครงการ หากการดําเนิน โครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาท่ีกําหนด จะมีการใชเงินตามงบประมาณ แตหากการ ดําเนินงานโครงการมีการเลื่อนกําหนดเวลาออกไป จะมีผลทําใหตองเพิ่มงบประมาณ การดําเนินโครงการตองมีการควบคุมเวลาใหแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนดเพ่ือควบคุม ตน ทนุ คา ใชจา ยและผลกระทบตา ง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้นได สวนประกอบของโครงการ มดี งั นี้ 1. ชื่อโครงการ ควรตั้งช่ือโครงการอาชีพใหสื่อความหมายไดชัดเจน ครอบคลุมความหมายของกิจกรรมอาชพี ทท่ี าํ ใหช ดั เจนวา ทําอะไร 2. ชอื่ ผดู าํ เนนิ โครงการหรือผูจดั ทาํ โครงการ อาจจะเปนบุคคลคนเดียวหรือเปน กลุมบคุ คลก็ได 3. หลักการและเหตุผลหรือความสําคัญของโครงการหรือของงานนั้น ๆ วามี เหตุผลอะไร มีความจาํ เปน มีคุณคา และประโยชนมากนอ ยเพยี งใด 6 4. วัตถุประสงค ระบวุ า มงุ ที่จะใหเ กิดผลอะไร อยางไร หรือแกใคร มีปริมาณ และคณุ ภาพมากนอ ยเพยี งใด 5. เปา หมาย กําหนดเปาหมายของผลผลิตใหชัดเจนคืออะไร มีปริมาณเทาใด และคุณภาพเปน อยา งไร 6. ระยะเวลา กาํ หนดระยะเวลาต้งั แตเร่ิมตนจนส้นิ สดุ การดาํ เนินโครงการ 7. งบประมาณ จัดทํารายละเอียดรายจายที่เกิดขึ้นในการดําเนินโครงการ ตง้ั แตข ้นั ตอนแรกจนถงึ ขัน้ ตอนสดุ ทาย 8. ข้ันตอนวิธีดําเนินงาน กําหนดรายละเอียดข้ันตอนของการทํางาน ตั้งแต เร่ิมตนจนส้ินสุดโครงการ โดยเขียนเปนแผนปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวยหัวขอ กิจกรรม ระยะเวลา สถานท่ี ทรพั ยากร/ ปจ จัย เปนตน 9. การติดตามและการประเมินผล ระบุวิธีการหรือเทคนิคในการดูแลและ ควบคุมการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงค ท้ังนี้ตองบอกใหชัดเจนวากอนเริ่มทําโครงการ ระหวางทาํ โครงการและหลงั การทาํ โครงการจะมีการตดิ ตามและประเมนิ ผลอยา งไร 10. ผลที่คาดวาจะไดรับ ใหระบุผลที่จะเกิดขึ้นเม่ือเสร็จส้ินโครงการ ผลที่ ไดรับโดยตรงและผลพลอยไดหรือผลกระทบจากโครงการ ที่เปนผลในดานดีเปนอยางไร สอดคลอ งกับวัตถุประสงคแ ละเปาหมายอยางไร ตวั อยางการเขียนโครงการอาชพี 1. ช่ือโครงการ โครงการจาํ หนา ยอาหารสาํ เรจ็ รูป 2. ชอ่ื ผดู ําเนินโครงการ 1. นางสาวอารยี า ศริ มิ าลา 2. นางสาวสรวงสุดา วภิ าวรรณ 3. นางสาววภิ าวดี วเิ ชยี รสวุ รรณ 4. นางสาวอภสิ มัย ศรคี มสัน 5. นายยรุ นนั ต ภมรศักดิ์ 3. ชอ่ื อาจารยที่ปรกึ ษาโครงการ 1. อาจารยร อบรู สอนดี 2. อาจารยฉลาด ดีพรอม 7 4. หลักการและเหตผุ ล อาหารเปนสง่ิ จําเปนสําหรบั ทกุ คน เราตองรบั ประทานอาหารทกุ วนั คนในหมูบานของ กลมุ ผูดําเนินโครงการสวนใหญประกอบอาชีพนอกบาน มักไมมีเวลาประกอบอาหารเอง ใกล หมูบานยงั มสี าํ นักงานของเอกชนซ่งึ มพี นักงานจาํ นวนมาก แตใ นบริเวณน้ีมีรานจําหนายอาหาร สําเร็จรูปนอย คุณภาพอาหารและการบริการไมคอยดี ไมมีรานจําหนายอาหารสําเร็จรูปท่ีมี คุณภาพดี และราคาปานกลาง สมาชิกของกลุม มีความสามารถในการประกอบอาหารไดดี และ บริเวณบานของสมาชิกมีสถานที่กวางเหมาะท่ีจะจัดเปนราน จําหนายอาหาร จึงไดจัดทํา โครงการจําหนา ยอาหารสาํ เรจ็ รูป 5. วัตถุประสงค 1. เพือ่ ใหมีประสบการณในการประกอบอาชพี จาํ หนา ยอาหารสาํ เร็จรปู 2. เหน็ ชอ งทางและมีความรคู วามสามารถในการประกอบอาชีพจาํ หนา ยอาหาร สําเรจ็ รปู 3. สามารถนาํ ความรูท ไี่ ดจากการเรยี นและประสบการณการปฏิบัติโครงการอาชีพไป ใชประโยชน ในการประกอบอาชีพไดอ ยางเหมาะสม 6. เปาหมาย ดา นปรมิ าณ ปรงุ และจาํ หนายอาหารสาํ เรจ็ รปู ในวันเสารแ ละวันอาทิตย ดา นคณุ ภาพ นักเรียนทุกคนในกลมุ เห็นชองทางในการประกอบอาชีพและพัฒนาการ ประกอบอาชพี ไดอ ยางเหมาะสม 7. ระยะเวลาดําเนนิ โครงการตลอดโครงการ ตั้งแตเปดภาคเรียนจนถึงปดภาคเรียน (20 พฤษภาคม - 30 กันยายน และ 1 พฤศจกิ ายน – 15 มีนาคม) 8. สถานท่ีประกอบอาชีพ บานของนางสาวอารยี า ศิรมิ าลา ในหมบู า นชื่นใจ แขวงลาดยาว เขตลาดพรา ว กรุงเทพมหานคร 9. งบประมาณ 1. แหลงเงินทุน เงินสะสมของสมาชิกกลุม คนละ 1,000 บาท และเงินยืมจาก ผปู กครองของ นางสาวอารยี า ศิรมิ าลา เปนเงิน 10,000 บาท รวมเปนเงนิ 15,000 บาท 2. จาํ นวนเงินทุน เร่ิมโครงการ 15,000 บาท 8 3. ทรัพยส นิ ถาวร โตะ เกา อ้ี ถวย ชาม ชอน และเคร่ืองครัว สวนหน่ึงยืมใชชั่วคราว / จดั ซ้อื 4. ทรัพยสนิ ส้นิ เปลือง อาหารสด ซ้อื เปน รายวนั 5. เงินทุนขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความสําเร็จก็จะนํากําไรมาขยายกิจการ และขอยืมเพ่มิ เตมิ จากผปู กครอง 6. กําไร (คาดการณ) ในระยะเริ่มแรกมกี ําไรประมาณวันละ 300-500 บาท 10. ขน้ั ตอนการดําเนินงาน 10.1 การเตรียมการ - ศึกษาสาํ รวจขอมลู - เขียนโครงการ - ขออนุมัตโิ ครงการ - เตรยี มหาทุน - กาํ หนดรายการอาหารท่จี ะปรงุ จาํ หนา ย - ประชาสัมพันธใ หลูกคา เปาหมายทราบ 10.2 การเตรยี มสถานท่ี - จัดตกแตงสถานที่ - เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ 10.3 ข้นั ตอนการดําเนินงานอยางละเอียด - ศกึ ษาหาความรูเ บอื้ งตนเก่ยี วกบั การปฏบิ ัติงานอาชีพ - ศึกษาสํารวจขอ มลู ตา ง ๆ เพื่อสํารวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชพี - วเิ คราะหข อ มูล - ตดั สินใจเลือกอาชพี - ศกึ ษาวิธเี ขยี นโครงการอาชพี - ขออนุมัตโิ ครงการอาชีพ - ศึกษาคนควาหาความรเู พ่มิ เตมิ - กาํ หนดรายการอาหารทจ่ี ะจําหนา ย - ประชาสมั พนั ธบอกกลุมลกู คา เปาหมาย - เตรียมอปุ กรณก ารปรุงอาหาร ภาชนะตาง ๆ - ตกแตง สถานที่ 9 - ลงมือปรุงอาหารจาํ หนาย โดยสับเปลยี่ นหมนุ เวยี นการปฏบิ ตั ิหนาที่ ดงั นี้ ซื้ออาหารสด ตกแตง / ทําความสะอาดราน / ลา งภาชนะ บรกิ าร ลกู คา เกบ็ เงิน – ทาํ บญั ชี - ประเมินการปฏบิ ตั ิงานเปนรายวนั / รายสัปดาห - ประเมินสรุปเม่ือปฏิบัติงานเสร็จสิ้น - เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชพี 11. ปญหาและแนวทางแกไข 11.1 ปญหาท่ีคาดวาจะเกดิ ขึ้นระหวา งปฏิบัตงิ าน 1) จาํ นวนลกู คาไมเ ปน ไปตามเปาหมาย 2) ประสบการณใ นการจาํ หนา ยสินคา ไมเพยี งพอ 11.2 แนวทางแกไข 1) นาํ อาหารสําเรจ็ รูปใสถุงไปจาํ หนา ยตามบาน / ชุมชน 2) ขอคาํ แนะนาํ จากอาจารยท ีป่ รกึ ษาเปน ระยะ 12. ผลทค่ี าดวาจะไดร บั - ดานความรูและประสบการณ นักเรียนทุกคนมีประสบการณในการประกอบอาชีพ เห็นชอ งทางใน การประอบอาชีพในอนาคต - ดานผลผลิต ทรพั ยสนิ กาํ ไร นกั เรียนมรี ายไดระหวางเรียน ทําใหเห็นคุณคาของการ ประกอบอาชีพ แบงเบาภาระผปู กครอง ลงชอื่ ผเู สนอโครงการ ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นางสาวอารียา ศิรมิ าลา) (นางสาวอภิสมยั ศรีคมสัน) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นางสาวสรวงสดุ า วิภาวรรณ) (นางสาววิภาวดี วิเชยี รสุวรรณ) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นายยุรนันต ภมรศักด์)ิ 10 ลงช่ืออาจารยทปี่ รกึ ษาโครงการ ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นายรอบรู สอนด)ี (นายฉลาด ดพี รอม) 3. การใชว สั ดอุ ปุ กรณ วสั ดุ หมายถงึ ส่งิ ท่ีใชแ ลว สิ้นเปลืองและหมดไป อุปกรณ หมายถึง ส่ิงที่ใชแลว ยังคงเหลือ สามารถนาํ กลบั มาใชไ ดอ กี 4. การใชแ รงงาน แรงงาน หมายถึง บุคคลท่ีผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความ เหมาะสมของงาน และความสามารถของแตละบคุ คล ซ่งึ มีท้ังแรงงานประเภทท่ีมีความชํานาญ แรงงานท่ีมีฝมือ แรงงานประเภทไรฝมือที่ตองใชกําลังแบกหาม ดังนั้น เจาของกิจการ หรือ ผปู ระกอบการจําเปน จะตอ งเลือกบุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถทํางานตามความถนัดของ แตล ะบคุ คลเพอ่ื ประสทิ ธิภาพของงาน 5. การใชสถานท่ี สถานที่ หมายถึง อาคาร บริเวณทป่ี ระกอบอาชพี ธุรกิจ ของผปู ระกอการ 6. การใชทุน ทุน หมายถงึ ปจจยั ในการผลติ ทใี่ ชในการสรา งสนิ คา หรอื บรกิ ารอน่ื ๆ 3.2 การจดั การการตลาด การจดั การการตลาด ประกอบดว ย 1. การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการศึกษาตลาดจากปจจัยภายนอกและ ภายใน ทาํ ใหผูประกอบการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจ และสามารถบอกรายละเอียดใน การดาํ เนินงานไดอ ยางชดั เจน 2. การหาความตอ งการของตลาด 3. การขนสง 4. การขาย 5. การกําหนดราคาขาย 6. การทาํ บญั ชีประเภทตาง ๆ เปนการบนั ทึกรายรับ รายจาย ที่เกิดข้ึนจริงในการใชจาย ตาง ๆ ของสถานประกอบการ 11 เรอื่ งที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผูประกอบการจะตอ งมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรรม เก่ยี วกบั เร่อื งความรับผิดชอบในการผลิต สนิ คา เชน ความสะอาด ความประณตี ความซอ่ื สตั ย โดยเฉพาะดานความปลอดภยั ตอ สุขภาพ ของผูบริโภคหรอื การใหบ ริการท่ปี ลอดภัยแกผูรบั บริการ ในสวนตัวของผูประกอบอาชีพใหมีความม่ันคงน้ัน ตองมีคุณลักษณะเปนคนขยัน ซือ่ สตั ย รจู ักประหยัด อดออม มีความพากเพยี ร มีอุตสาหะ เพื่อความมนั่ คงในการพัฒนาอาชีพ ของตนเองใหม ีความมน่ั คง 4.1 การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดาํ ริ 4.1.1 มีความรู ความสามารถ 4.1.2 รูจักการประยุกตใ ช 4.1.3 คดิ อยางรอบคอบ 4.1.4 ใชปญ ญา 4.1.5 มีสติและสงบสํารวม 4.1.6 มีความจริงใจและมีสจั จะ 4.1.7 มวี ินยั 4.1.8 สรางสรรคและพฒั นา 4.1.9 วางแผนในการทาํ งาน 4.2 การพฒั นาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา 4.2.1 ทาน คือ การให เปนหลักปฏิบัติในการพัฒนาตนเองสําหรับที่จะใชในการ เก้อื หนุนจนุ เจอื ซ่ึงกันและกนั 4.2.2 ศลี คอื การรกั ษา กาย วาจา ใจ ใหต้ังอยูอยางปกติ ไมเบียดเบียนกันความ สงบสขุ ยอมเกิดข้นึ 4.2.3 ปริจจาคะ คือ การสละส่ิงท่ีเปนประโยชนนอย เพ่ือประโยชนท่ีมากกวา การสละเพ่ือรักษาหนาที่ รักษากิจท่ีพึงกระทํา รักคุณความดี เพื่อความสุข ความเจริญใน การอยูรวมกนั 4.2.4 อาชวะ คือ ความเปนผูซ่ือตรงตอตนเอง บุคคล องคกร มิตรสหาย หนาที่ การงาน 12 4.2.5 มทั วะ คอื ความออ นโยน มีอธั ยาศัยไมตรี ออนโยน มีสัมมาคารวะตอผูใหญ ไมด ื้อดึง ถอื ตนวางอาํ นาจ 4.2.6 ตบะ คือ ความเพยี ร ผูมคี วามเพยี รสามารถปฏิบตั ิหนา ท่ีใหบรรลุลวงสําเร็จ ไดด ว ยดี มกั เปน ผมู คี วามอดทนสูง 4.2.7 อักโกธะ คือ ความไมโกรธ ตลอดจนไมพยาบาทมุงทํารายผูอ่ืน ความไม โกรธมขี ้นึ ไดเ พราะความเมตตา หวังความสขุ ความเจริญซึ่งกนั และกนั 4.2.8 อหิงสา คือ การหลีกเลี่ยงความรุนแรงและไมเบียดเบียนหรือเคารพในชีวิต ของผอู ่นื 4.2.9 ขันติ คือ ความอดทน อดทนตอการตรากตราํ ประกอบการตาง ๆ อดทนตอ ถอยคาํ ไมพ งึ ประสงคหรือส่งิ อนั ไมชอบใจตาง ๆ ในการอยรู วมกันของคนหมมู าก 4.2.10 อวิโรธนะ คือ ความไมผิด ผิดในท่ีน้ี หมายถึง ผิดจากความถูกตอง ทุก อยา งท่คี นท่ัวไปทําผิด เพราะไมรูวาผิด หรือรูวาผิดแตยังด้ือดึงทํา ทั้ง ๆ ท่ีรู ถาปลอยเชนน้ีไป เรอ่ื ย ๆ กไ็ มรูจ ัก ไมอ าจปฏบิ ัติในสิง่ ท่ถี กู ตอ งไดเลย เร่อื งที่ 5 การอนุรกั ษพ ลังงานและสิง่ แวดลอมในการขยายอาชพี ในชุมชน สังคม และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ทรัพยากร เปนปจจัยท่ีสําคัญในการประกอบอาชีพ แบงเปน 2 ประเภท คือ ทรพั ยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรในการประกอบการ การใชทรพั ยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึง ความหมดเปลอื ง และการใชทรัพยากรอืน่ ทดแทน 5.1 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏและเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนาํ มาใชป ระโยชนไ ด เชน อากาศ ดนิ นํ้า ปา ไม สตั วป า แรธาตุ พลังงาน สง่ิ แวดลอม หมายถึง สง่ิ ตาง ๆ ทอี่ ยูร อบตัวเรา ทง้ั ส่ิงมีชีวิต และไมมีชีวิต รวมทั้ง สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึน หรือกลาวไดวา ส่ิงแวดลอมประกอบดวย ทรัพยากรธรรมชาติและทรพั ยากรมนษุ ยทีส่ รางขึ้นในชวงเวลาหน่ึงเพ่ือสนองความตองการของ มนุษยน่ันเอง 13 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติที่ใชแ ลวไมห มดสน้ิ เชน นาํ้ อากาศ พลังงานแสงอาทิตย 2. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแลว ทดแทนได เชน พชื ปาไม สัตวป า มนุษย 3. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใ่ี ชแ ลวหมดส้นิ ไป ไดแก นํา้ มันปโตรเลียม กาซธรรมชาติ ถา นหนิ 4. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่สี ามารถนาํ มาใชใ หมได เชน แรโลหะ แรอ โลหะ การอนุรักษพ ลังงาน หมายถึง การใชพ ลังงานอยางมีประสทิ ธิภาพ และประหยัด การอนุรกั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอม นอกจากจะชวยลดปริมาณจากแหลงที่ใชพลังงาน ซึ่งเปน การประหยดั คา ใชจ า ยในกิจกรรมแลว ยงั ชว ยลดปญหาสิ่งแวดลอมทีเ่ กดิ จากแหลง ทใ่ี ชและผลิต พลังงานดวย การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง ประหยัด ใหเ กิดคณุ คา และประโยชนส ูงสุด รวมท้งั ปรับปรงุ หมนุ เวียนนํากลับมาใชใหม เพ่ือให เกิดการสญู เสียนอ ยท่สี ดุ การอนุรักษสิ่งแวดลอม หมายถึง การใชส่ิงแวดลอมไมใหเกิดพิษภัยตอสังคม สวนรวม ดํารงไวซึ่งสภาพเดิมของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีมนุษยสรางขึ้น รวมทั้งการกาํ จดั และปองกนั มลพษิ สง่ิ แวดลอ ม ในการขยายขอบขายอาชพี ผูประกอบอาชีพจําเปนตองคํานึงถึงผลกระทบที่เกิด จากการใชทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน และส่ิงแวดลอม เชน ปาไม ดิน น้ํา ทรัพยากรมนุษย ตน ทุนการผลติ อยา งคุม คา และวถิ ีชีวติ ของคนในชุมชน สงั คมนัน้ ๆ 5.2 แนวทางการอนุรักษพลงั งาน มดี ังนี้ 5.2.1 ใชพ ลังงานอยางประหยัดและคุมคา 5.2.3 ใชพลงั งานอยางรูคุณคา จะตองมีการวางแผนใชอยางมีประสิทธิภาพและ เกดิ ประโยชนส งู สุด มกี ารลดการสญู เสยี พลังงานทุกข้นั ตอน 5.2.4 ใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานท่ีไดจากธรรมชาติ เชน พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานลม พลงั งานน้ํา 5.2.5 เลือกใชเครอ่ื งมือและอุปกรณท ม่ี ปี ระสิทธภิ าพสูง 5.2.6 เพ่ิมประสิทธิภาพเช้ือเพลิง เชน การเปล่ียนโครงสราง ทําใหเชื้อเพลิงให พลังงานมากข้นึ 14 5.2.7 หมุนเวียนกลับมาใชใหม โดยการนําวัสดุท่ีชํารุดนํามาใชใหม การลดการท้ิง ขยะที่ ไมจําเปน หมนุ เวียนกลบั มาผลิตใหม 5.3 กจิ กรรมทีส่ ง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม มดี งั นี้ 5.3.1 อุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมเหมืองแร เหมอื งทองคํา 5.3.2 เกษตรกรรม เชน การใชสารเคมี การใชยาฆา แมลง 5.3.3 กจิ กรรมการบรโิ ภคของมนษุ ย เชน การซอ้ื สนิ คา การใชน้ํา 15 แบบฝกหัด ใหผูเรียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ใหผูเรียนอธิบายความสําคญั และความจาํ เปน ในการขยายอาชีพ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหผูเรียนอธิบายลกั ษณะการขยายอาชีพดานเกษตรกรรม พรอ มยกตวั อยา ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. ใหผเู รียนอธบิ ายลักษณะการขยายอาชพี ดา นพาณชิ ยกรรม พรอมยกตัวอยาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. ใหผ เู รียนบอกขอ ดีของการขยายอาชพี ดา นความคดิ สรางสรรค ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 16 5. ใหผเู รยี นบอกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดําริ มาอยา งนอย 5 ขอ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 6. การซอ้ื สินคาผานระบบออนไลนเปน การอนุรักษทรพั ยากรหรือไม อยางไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 17 บทท่ี 2 ชอ งทางการขยายอาชพี เรื่องที่ 1 ความจําเปนในการมองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชีพ การมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชพี โอกาสและความสามารถท่ีจะนํามาประกอบอาชีพไดกอนผูอื่น เปนหัวใจสําคัญของ การประกอบอาชพี หากผูประกอบอาชีพสามารถผลิตสินคาหรือบริการไดตามที่ตลาดตองการ ไดกอน และเปนอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณในขณะนั้น ยอมทําใหมีโอกาสประสบ ความสาํ เร็จ สามารถพฒั นาตนเองใหม องเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพได หลกั สําคัญของชอ งทางในการขยายอาชพี มดี ังน้ี 1. ความชํานาญจากงานท่ีทําในปจจุบัน มีสวนชวยใหมองเห็นโอกาสในการประกอบ อาชพี ไดมาก เชน บางคนมคี วามชํานาญทางดานการทาํ อาหาร ตัดเย็บเสื้อผา ซอมเครื่องใชไฟฟา ตอทอนํ้าประปา ชางไม ชางปูกระเบ้ือง ชางทาสี ฯลฯ ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมา พัฒนาและประกอบอาชีพได บางคนทํางานที่โรงงานตัดเย็บเสื้อผา เมื่อกลับมาภูมิลําเนาเดิม ของตนเอง ก็นําความรคู วามสามารถและความชํานาญมาใชเปน ชอ งทางการประกอบอาชีพของ ตนเองได 2. ความชอบความสนใจสวนตัว เปนอีกทางหนึ่งท่ีชวยใหมองเห็นชองทางโอกาสใน การประกอบอาชีพ บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป ทําใหบุคคลเหลานี้พัฒนา งานทช่ี อบ ซ่งึ เปน งานอดเิ รกกลายเปนอาชีพหลัก สรางรายไดเปนอยา งดี 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ โดยการพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ บคุ คลผทู ่ปี ระสบความสําเร็จ เปนการเรียนรูจากแหลงความรูและกอใหเกิดความคิดริเร่ิมเปน อยา งดี ในบางครัง้ ตัวเราเองอาจจะมีความคดิ แลว และไดพูดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยใหการ วิเคราะหความคิดมีความชัดเจนขึ้น ชวยใหมองไปขางหนาไดอยางรอบคอบกอนที่จะลงมือ ทํางานจริง 4. การศึกษาคนควา จากหนงั สือ นิตยสาร หนังสอื พิมพ เว็บไซต การดวู ีดที ัศน ฟงวิทยุ ดูรายการโทรทัศน จะชวยใหเกดิ ความรูและความคดิ ใหม ๆ 18 5. ขอมูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมท้ังแผนพัฒนา เศรษฐกจิ ของประเทศในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูท่ีจะมองหาอาชีพ พัฒนา อาชีพ ควรใหความสนใจขอมูลตาง ๆ ในการติดตามเหตุการณใหทัน แลวนํามาพิจารณา ประกอบการตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ เรอื่ งท่ี 2 ความเปน ไปไดข องการขยายอาชีพ การประเมินความเปนไปไดในการนํากรอบแนวคิดไปใชใ นการขยายอาชพี ไดจริง จากแผนภูมิดังกลาวแสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมินความเปนไปได ท่ีมี องคประกอบรว มกนั 5 องคป ระกอบ โดยในแตละองคประกอบมตี ัวแปรดังน้ี 1. รปู แบบการขยายอาชีพ มีตัวแปรรวม ดงั นี้ 1.1 ผลผลติ เชน การผลติ สินคาไดต รงตามความตองการของตลาด 1.2 กระบวนการผลิต เชน การใชเทคโนโลยีทท่ี นั สมยั ในการผลิต 1.3 ปจ จัยนาํ เขาการผลติ เชน วตั ถุดิบในการผลติ 2. ความยากงายของการดําเนนิ การจัดการ มตี ัวแปรรวม ดังน้ี 2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงินทุน เชน การบริหารจัดการกระบวนการผลิต การขนสง ชอ งทางการตลาด ชอ งทางการหาแหลงทุน 2.2 แผนธุรกิจ เชน มีการศึกษาชองทางการตลาด แผนงานการขยายชองทาง การตลาด 19 3. การรับไดข องลกู คา มตี ัวแปรรวมดงั น้ี 3.1 ผลผลิตอยูในความนิยม เชน มีการพัฒนา ปรับปรุง สินคาใหตรงตามความ ตองการของผูบ รโิ ภค 3.2 เปน สิง่ จาํ เปนตอชีวิต เชน สนิ คาทเี่ ปน ที่ตองการและใชเปนประจํา 3.3 ราคา เชน การกาํ หนดราคาขายท่เี หมาะสมกับสินคา 4. การรับไดข องสงั คมชมุ ชน มีตัวแปรรว ม ดงั นี้ 4.1 สภาพแวดลอม เชน สถานท่ีประกอบการไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของ สังคมชมุ ชน 4.2 วัฒนธรรมประเพณี เชน การขยายอาชีพไมขัดแยงกับประเพณีวัฒนธรรมของ สังคมชุมชน 5. ความเหมาะสมของเทคนคิ วิทยาการทีใ่ ชในการขยายอาชพี 5.1 เทคนิควิทยาการเพ่ือการลดตนทุน เชน นําเทคโนโลยีมาใชเพื่อลดตนทุนใน การผลิต 5.2 เทคนิควิทยาการเพ่ือการลดของเสีย เชน การนําวัสดุเหลือใชกลับมาใช ประโยชนอ ีก วธิ ีการวเิ คราะห การวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจมีความจําเปนท่ีเจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจ ดวยตนเองสําหรับกรณีที่ธุรกิจมีหุนสวนหรือผูเกี่ยวของ ควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธี ความสัมพันธรวมกนั โดยมวี ิธกี ารวิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดวยตนเอง ดวย รายละเอียดและความเปนไปได ความเปน พวกเดียวกัน โดยทบทวนหลาย ๆ ครั้ง จนมั่นใจ แลว จึงตัดสินใจ ตัวอยาง ความเปน ไปไดของการขยายอาชีพ “ลงุ อนิ ปลูกขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง อยา ง ตอเนื่องไดผลผลติ สปั ดาหละ 250 กโิ ลกรัม ขายใหกับลูกคาประจํา มีรายได 2,500 บาท คอนขา งแนน อน แตปนี้ลูกของลุงอินเขาเรียนระดับอุดมศึกษา 2 คน จะตองมีรายจายเพิ่มอีก เดือนละ 10,000 บาท ลงุ อนิ หาตลาดขาวโพดหวาน ไดลูกคาเพิ่มสามารถรับซื้อขาวโพดหวาน ตามปริมาณที่เพิ่มข้ึนไดตามตองการ อยูมาไมนานเพ่ือนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูก ขาวโพดหวานขาย ทําใหขาวโพดมีปริมาณมาก ราคาตก ลุงอินเห็นวาเพื่อนบานตางก็ยากจน 20 หากปลอยใหสภาพเหตุการณเปนเชนนี้ก็จะพากันขาดทุนเสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณ ขาวโพดหวานที่ผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณสัปดาหละ 3,000 กิโลกรมั จึงตัดสินใจไปพบ พอคาขายสงรายใหมต อ งการขาวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอิน สามารถรวบรวมผลผลิต ควบคมุ คุณภาพใหไดมาตรฐานที่ตองการและจัดการสงมอบใหได จะ รับซ้ือกโิ ลกรัมละ 15 บาท ลุงอินจงึ เจรจารับซือ้ ขาวโพดหวานของเพื่อนบานใหราคากิโลกรัมละ 10 บาท หักคาขนสง กโิ ลกรมั ละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมีรายได 48,000 บาท พอเพียงใชจายดาํ รงชวี ติ สง ลูกเรียนได” จากกรณีตวั อยา งขา งตน จะเหน็ ไดวา กรอบแนวคิดการขยายอาชีพเปน ไปไดจ รงิ มีองคประกอบ ดงั น้ี 1. รปู แบบการขยายอาชีพ 1. เปน ตัวแทนรบั ซ้ือขา วโพดจากเพอื่ นบานเพื่อสง ใหผ รู ับซ้อื รายใหม 2. การควบคมุ คุณภาพของขาวโพด 2. ความยากงายของการ 1. ขาวโพดมีผลผลิตมาก ราคาตก ดําเนนิ การจดั การ 2. การรวบรวมขาวโพดเพ่ือขายใหผ คู า รายใหม 3. การควบคมุ คุณภาพของขา วโพด 3. การรับไดของลูกคา 1. ผรู ับซอ้ื รายใหมม คี วามตอ งการสนิ คา จาํ นวนมาก 2. ผรู บั ซอ้ื พึงพอใจกบั คณุ ภาพของสินคา 4. การรบั ไดข องสังคม 1. เพ่ือนบานมคี วามพึงพอใจกับการทขี่ ายใหผูร บั ซอ้ื รายใหม 2. เพื่อนบานมีรายไดท ี่แนนอน 5. ความเหมาะสมของเทคนคิ 1. มเี ทคนคิ การปลูกเพอื่ ใหมีผลผลติ ตลอดทงั้ ป วทิ ยาการทีใ่ ชใ นการขยาย 2. มีการรวบรวมผลผลติ จํานวนมากเพอ่ื ขายใหผรู ับซอื้ ราย อาชพี ใหม 21 เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดวิธีการขัน้ ตอนการขยายอาชีพและเหตผุ ลของการขยายอาชพี เปน ขน้ั ตอนการปฏิบัติการในอาชีพท่ีจะตองใชองคความรูที่ยกระดับคุณคาเพื่อมาใช ปฏิบัติการ จึงเปนกระบวนการของการทํางานที่เริ่มจากการนําองคความรูที่จัดทําในรูปของ คมู ือคณุ ภาพหรอื เอกสารคูมือดําเนินงานมาศึกษาวิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการ จัดปจจัยนําเขา ดําเนินการ ทํางานตามข้ันตอนและการควบคุมผลผลิตใหมีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนด ดําเนินการตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางาน ปฏิบัติแกไขขอบกพรองเปนวงจรอยาง ตอเนื่อง และมีการปรับปรุงพัฒนาเอกสารคูมือดําเนินงานไปเปนระยะ ๆ ก็จะทําใหการ ปฏิบัติการในกิจกรรมอาชีพประสบความสําเร็จสูความเขมแข็ง มั่นคง ยั่งยืน ตามกรอบ ความคดิ นี้ 1. การปฏบิ ตั กิ ารใชความรู โดยใชว งจรเดม็ มงิ่ เปนกรอบการทํางาน 1.1 P- Plan ดวยการจัดทําเอกสารคูมือดําเนินงาน โดยศึกษาวิเคราะหจัด ระบบปฏิบตั ิการที่ประกอบดวย กจิ กรรมขัน้ ตอน และผูรบั ผิดชอบกาํ หนดระยะเวลาการทํางาน กาํ หนดปจจัยนาํ เขาดาํ เนินงานใหส ามารถทาํ งานไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ การจัดทําแผนปฏิบัติการ (P) การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ เปนการดําเนินการท่ีมีองคประกอบรวม ดังนี้ 22 1. เหตุการณหรือข้ันตอนการทํางาน ซึ่งจะบอกวาเหตุการณใดควรทําพรอม กัน หรอื ควรทาํ ทีหลัง เปนการลาํ ดับขัน้ ตอนในแตล ะกจิ กรรมใหเ ปนแผนการทํางาน 2. ระยะเวลาที่กําหนดวา ในแตละเหตุการณจะใชเวลาไดไมเกินเทาไร เพอื่ ออกแบบการใชปจ จยั ดาํ เนินงานใหสัมพนั ธกนั 3. ปจจัยนําเขาและแรงงาน เปนการระบุปจจัยนําเขาและแรงงานในแตละ เหตกุ ารณว าควรใชเทาไร การจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารทางอาชีพ มักจะนิยมใชผังการไหลของงาน มาใชออกแบบการทํางานใหมองเห็นความสัมพันธรวมระหวางเหตุการณ ระยะเวลา ปจจัย นําเขาและแรงงานจะชวยใหผูปฏิบัติงานและผูจัดการไดขับเคลื่อนการทํางานสูความสําเร็จได ดังนั้น ในการออกแบบแผนปฏิบัติงาน จําเปนตองใชองคความรูท่ีสรุปไดในรูปของเอกสาร ขัน้ ตอนการทาํ งานมาคิดวิเคราะหแ ละสรางสรรคใ หเ กิดแผนปฏบิ ตั กิ าร 1.2 D-Do การปฏบิ ตั ิการทํางานตามระบบงานท่ีจัดไวอยางเครงครัด ควบคุมการ ผลติ ใหเ สียหายนอ ยท่ีสดุ ไดผลผลิตออกมามคี ณุ ภาพเปนไปตามขอ กําหนด การทาํ งานตามแบบแผนปฏิบตั กิ าร (D) การทํางานตามแผนปฏิบัตกิ ารของผรู ับผดิ ชอบ ยังใชวงจรเด็มมิ่ง เชนเดียวกัน โดยเริ่มจาก P : ศึกษาเอกสารแผนปฏบิ ตั กิ ารใหเ ขา ใจอยางรอบคอบ D : ทาํ ตามเอกสารข้ันตอนใหเ ปน ไปตามขอ กําหนดทุกประการ C : ขณะปฏบิ ตั กิ ารตองมกี ารตรวจสอบทุกขัน้ ตอนใหเ ปนไปตามขอ กําหนด A : ถา มกี ารทําผดิ ขอ กาํ หนด ตองปฏิบัติการแกไขใหเ ปนไปตามขอกําหนด 1.3 C-Check การตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานโดยผูปฏิบัติการหา เหตผุ ลของการเกิดขอบกพรองและจดบันทึก การตรวจสอบหาขอบกพรอ ง (C) เปนข้ันตอนที่สําคัญของการปฏิบัติการใชความรู สรางความเขมแข็ง ยั่งยืน โดยมรี ปู แบบการตรวจตดิ ตามขอบกพรองดงั นี้ 23 1.4 A-Action การนําขอบกพรองท่ีตรวจพบของคณะผูปฏิบัติการมารวมกันเรียนรู หาแนวทาง แกไขขอบกพรองจนสรุปไดผลแลว นําขอมูลไปปรับปรุงเอกสารคูมือดําเนินงานเปน ระยะ ๆ จะทําใหไดองคความรูสูงข้ึนโดยลําดับ แลวสงผลตอประสิทธิภาพของธุรกิจ ประสบ ผลสําเร็จนําไปสูค วามเขม แข็งยัง่ ยืน การปฏิบัติการแกไ ขและพฒั นา (A) เปนกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาขอบกพรอง และกําหนด แนวทางแกไขขอ บกพรอ งโดยมกี าํ หนดระยะเวลา เมื่อถงึ กําหนดเวลาจะตองมีการติดตามผลวา ไดมีการปฏิบัติการแกไขขอบกพรองตามแนวทางท่ีกําหนดไวหรือไมเกิดผลอยางไร โดยมี ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดงั น้ี 1. ตรวจตดิ ตามเอกสารสรุปประเมินผลการศึกษา 2. เชญิ คณะผรู ับผิดชอบแกไขขอบกพรองมาประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู เสนอ สภาพปญ หาขอ บกพรอ ง ปจ จยั ท่ีสง ผลตอ ความบกพรองและการแกไ ข 3. ผรู บั ผิดชอบตรวจตดิ ตามและผูร ับผดิ ชอบแกไขขอ บกพรองเขาศึกษาสภาพ จรงิ ของการดําเนินงาน แลวสรุปปจ จัยที่เปน เหตแุ ละปจ จยั สนบั สนุนการแกไข 4. นําขอมูลท่ีไดนําสูการปรับปรุงแกไขพัฒนาเอกสารองคความรู ใหมี ประสิทธภิ าพสูงย่ิงข้นึ 24 ตวั อยาง การใชวงจรเดม็ มิ่ง (PDCA) เปนกรอบการทํางาน “ลุงอินปลูกขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอ งอยา ง ตอเน่ืองไดผลผลิตสัปดาหละ 250 กิโลกรัม ขายใหกับลูกคาประจา มีรายได 2,500 บาท คอ นขางแนนอน แตป น ล้ี ูกเขา เรียนระดับอุดมศึกษา 2 คน จะตองมีรายจายเพ่ิมอีกเดือน ละ 10,000 บาท ลุงอินหาตลาดขาวโพดหวาน ไดลูกคาเพิ่มสามารถรับซ้ือขาวโพดหวานตาม ปริมาณทเ่ี พิ่มข้นึ ไดตามตอ งการ อยูมาไมนานเพ่ือนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูกขาวโพด หวานขาย ทําใหขาวโพดมีปริมาณมาก ราคาตก ลุงอิน เห็นวา เพื่อนบานตางก็ยากจน หากปลอยใหสภาพเหตุการณเปนเชนนี้ก็จะพากันขาดทุน เสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณ ขาวโพดหวานที่ผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณ สัปดาหละ 3,000 กโิ ลกรัม จึงตัดสนิ ใจไปพบพอ คาขายสงรายใหมตองการขาวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอิน สามารถรวบรวมผลผลิต ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานท่ีตองการและจัดการสงมอบใหได จะรับซือ้ กิโลกรมั ละ 15 บาท ลุงอนิ จงึ เจรจารบั ซ้อื ขาวโพดหวานของเพ่ือนบา นใหราคากโิ ลกรัม ละ 10 บาท หักคาขนสงกิโลกรัมละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมี รายได 48,000 บาท พอเพียงใชจายดํารงชีวิต สงลูกเรียนได ท่ีดินที่เคยปลูกขาวโพดและวาง เปลา จํานวน 20 ไร ลุงอิน ปลูกไมปาตนยางนา ตนสัก เปนไมโตไวได 2,000 ตน อีก 15 ป ขา งหนา จะสามารถตัดโคนขายไดตนละ 5,000 บาท คาดวา จะไดเ งนิ ประมาณ 10 ลานบาท” จากกรณีตวั อยา งขา งตนจะเหน็ ไดว า การใชวงจรเดม็ ม่ิง (PDCA) เปนกรอบการทาํ งาน ดงั น้ี การจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ าร (P) 1.มกี ารวางแผนการเพาะปลูกขา วโพดใหม ผี ลผลติ ตลอด ท้ังป 2.วางแผนรับซ้ือขา วโพดจากเพอ่ื นบา นเพอื่ ขายตอ 3.มปี ลกู ตน ไมย ืนตนเพือ่ ใหม รี ายไดระยะยาว การทํางานตามแบบแผนปฏบิ ัตกิ าร 1.ลงมือเพาะปลูกขาวโพดตามแผนการเพาะปลกู (D) 2.รบั ซือ้ ขาวโพดจากเพ่อื นบานเพื่อนาํ ไปขายตอ 3.ปลกู ตน ไมยืนตน เพือ่ ใหมรี ายไดในอนาคต การตรวจสอบหาขอ บกพรอ ง (C) 1.ปริมาณของขาวโพดทม่ี ากข้นึ 2.ตรวจสอบคุณภาพของขา วโพด 25 การปฏิบัติการแกไ ขและพัฒนา (A) 1.ควบคมุ คุณภาพของขา วโพด 2.ปลกู ตน ไมย ืนตนเพือ่ ประกันความเส่ียงของรายได 2. ทุนทางปญญา ผลจากการนําองคความรูไปใช มีการตรวจสอบหาขอบกพรอง และปฏิบัติการแกไขขอบกพรองเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ืองทําใหองคความรูสูงข้ึนเปนลําดับ จนกลายเปนทุนทางปญ ญาของตนเองหรอื ของชุมชนทีจ่ ะเกดิ ผลตอ ธรุ กจิ ดงั นี้ 2.1 องคความรูสามารถใชสรางผลผลิตท่ีคนอ่ืนไมสามารถเทียบเคียงได และไม สามารถทาํ ตามได จงึ ไดเ ปรยี บทางการแขงขัน 2.2 การเปลย่ี นแปลงยกระดบั คณุ ภาพผลผลติ อยางตอเน่ือง ทําใหลูกคาเช่ือม่ันตอ การทาํ ธรุ กจิ รว มกัน 2.3 เปนการสรางทุนทางมนุษยผูรวมงานไดเรียนรูบริหารระบบธุรกิจดวยตนเอง สามารถเกิดภูมิปญญาในตัวบุคคล ทําใหชุมชนพรอมขยายขอบขายอาชีพออกสูความเปน สากล 3. ธุรกิจสูความเขมแข็งยั่งยืน การจัดการความรูทําใหองคความรูสูงข้ึนโดยลําดับ การขยายของอาชีพจึงเปนการทํางานท่ีมีภูมิคุมกัน โอกาสของความเส่ียงในดานตาง ๆ ตํ่าลง ดงั นัน้ ความนาจะเปนในการขยายอาชีพจึงประสบความสําเร็จคอนขางสูง เพราะมีการจัดการ ความรู ยกระดับความรูนําไปใชและปรับปรุง แกไขเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง จึงสงผลทําให ธรุ กิจเขม แขง็ ยงั่ ยืนได เพราะรจู กั และเขาใจตนเองตลอดเวลา บทสรปุ การขยายขอบขายอาชีพเพื่อสรางความเขมแข็งและย่ังยืนใหกับธุรกิจ จําเปนจะตอง ดําเนนิ งานอยา งเปน ระบบ ไมใชท าํ ไปตามท่ีเคยทํา ดังนนั้ การจัดการความรูเปนเร่ืองสําคัญของ ทุกคนที่ประกอบอาชีพ จะขยายชองทางการประกอบอาชีพออกไป จําเปนตองมีคุณสมบัติ ดังน้ี 1. เปนบุคคลที่ทาํ งานบนฐานขอมูล ซึ่งจะตองใชความรูดานตาง ๆ เขามาบูรณาการ รวมกนั ทัง้ ระบบของอาชพี 2. ตองใชกระบวนการวิจัยเปนเคร่ืองมือ หมายถึง ผูประกอบการตองตระหนักและ เห็นถึงปญหาเพื่อการจัดการความรูหรือใชแกปญหา จัดการทดลอง สรุปองคความรูใหมั่นใจ แลว นําไปขยายกิจกรรมเขาสกู ารขยายขอบขายอาชีพออกไป 26 3. ตองเปนบุคคลท่ีมีความภูมิใจในการถายทอดประสบการณการเรียนรูแลกเปลี่ยน เรยี นรู สรางองคค วามรูใหส ูงสงเปน ทุนทางปญญาของตนเอง ชุมชนได แบบฝกหัด ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ใหผ เู รียนอธบิ ายความจาํ เปนและความเปน ไปไดในการขยายอาชพี พรอมยกตวั อยา ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งอาชีพและความเปน ไปไดตามกรอบแนวคิดการขยายอาชีพ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 27 ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 28 บทท่ี 3 การตัดสนิ ใจเลือกขยายอาชีพ เรอื่ งที่ 1 ภารกจิ เพอ่ื ความมน่ั คงในการทําธรุ กิจ ความมั่นคงในอาชีพเปนเรื่องที่ตองสรางตองทําดวยตนเอง สรางองคความรูสําหรับ ตนเองสูการพ่ึงพาตนเองได และการที่จะสรางความมั่นคงอาชีพ จําเปนตองมีภารกิจเพื่อสราง ความยงั่ ยนื ในอาชีพ อยา งนอ ย 5 ภารกจิ ดงั นี้ 1. บทบาทหนาที่เจาของธุรกิจ มีหนาที่ตองกําหนดทิศทางธุรกิจที่ผูประกอบอาชีพ จะตองกําหนดทิศทางของธุรกิจวา จะดําเนินไปทางไหนเพ่ือใหสอดคลองกับสภาวะทาง เศรษฐกจิ สงั คมทเ่ี ปน อยแู ละจะเกิดข้ึนในอนาคต ตองทาํ 2 กิจกรรม ดงั นี้ 1.1 การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น การกําหนดทิศทางของอาชีพท่ีจะเปนไปหรือจะตองการ ใหเกิดขึ้นในอนาคต 3-5 ป ขางหนา ดวยความรอบคอบและมีความเปนไปไดจนมั่นใจ จึงกําหนดเปนขอ ความเปน วิสยั ทศั นทต่ี องการใหเ กดิ กบั อาชพี ตอไป 1.2 การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพ เพ่ือใชในการพัฒนาอาชีพใหบรรลุวิสัยทัศนดวย การกําหนดภารกจิ วิเคราะหภารกจิ กําหนดกลยทุ ธส ูค วามสําเร็จ วิเคราะหกลยุทธ กําหนดตัว บงชคี้ วามสําเรจ็ และจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ าร 2. การบริหารทรัพยากรดําเนินการ เปนการจัดการใหเกิดระบบการควบคุมการใช ทรัพยากรใหเกิดความคุมคามากทีส่ ุด ประกอบดว ย 2.1 การวางแผนใชแ รงงานคนและจัดคนใหเหมาะสมกับงาน 2.2 ระบบการควบคมุ วัสดุอุปกรณและปจ จัยการผลติ 2.3 การควบคมุ การเงนิ 3. การบริหารการผลิต เปนการควบคุมการดําเนินงานใหเกิดผล ซ่ึงเก่ียวของกับกิจ กรรมการบริหารอยางนอย 3 กิจกรรม ดังน้ี การควบคุมคนทํางานใหเปนไปตามข้ันตอนท่ี กําหนด การควบคมุ ระยะเวลา การตรวจสอบคดั เลือกผลิตภณั ฑใหม คี ุณภาพ 4. การจัดการสงมอบผลิตภณั ฑ ผูป ระกอบการตองพฒั นาระบบการสงมอบผลผลิตให ถึงมอื ลกู คา ไดตามขอกําหนดในเรื่องตา ง ๆ ดงั นี้ 29 4.1 การบรรจุภัณฑเพื่อการปกปอ งผลผลิตไมใหเสียหาย 4.2 การสงสินคามีหลายรูปแบบท่ีจะนําสินคาไปถึงลูกคาไดอยางปลอดภัย สามารถเลอื กวิธีการท่เี อกชนและภาครฐั จัดบรกิ ารใหหรอื จัดสงเอง 4.3 การจัดการเอกสารสงมอบ ใชเพ่ือควบคุมใหทราบถึงผลผลิตที่นําออกไปมี ปริมาณเทา ใดไปถึงลกู คา ดว ยวธิ ีใดและไดร บั หรอื ไม 5. การวิจัยและพัฒนา เปน การดําเนนิ งานใหธ ุรกิจที่ทําอยูใหไดรับความนิยมและกาว ทันตอการเปล่ยี นแปลง ดังน้ี 5.1 ตดิ ตามขอมูลกระแสความนิยมในสนิ คา 5.2 ติดตามประเมนิ เทยี บเคยี งคณุ ภาพผลติ ภณั ฑของคูแขงและสภาวะของตลาด 5.3 ดาํ เนินการวจิ ยั และพัฒนา ดวยการคนควาหาขอมูล สรางองคความรู พัฒนา ผลผลติ ใหอ ยใู นกระแสความนยิ มหรือเปลีย่ นโฉมออกไปสตู ลาด จากสาระความเขาใจภารกิจเพื่อความมั่นคงในอาชีพเปนการนําเสนอแนวคิดที่เปน ธุรกจิ คอ นขา งขนาดใหญ ดงั นั้น ผปู ระกอบการจึงจาํ เปนตอ งคดิ สรา งสรรคเพื่อตนเองวาธุรกิจท่ี ดาํ เนินการจะทําอะไร เทาไรและอยางไร ตัวอยาง ธุรกจิ ไรทนเหนือ่ ย เปน ธุรกจิ ขยายแลวดําเนินการผลิตผักสดผลไมใ นระบบเกษตรอินทรียบนพื้นท่ี 130 ไร ระบบการบริหารจัดการดานตาง ๆ ตองลงมือทําดวยตนเองในครอบครัวเพียง 3 คน ภารกิจ สรางความม่ันคงจะตองคิดสรางสรรคออกแบบใหเหมาะสมกับตนเอง ตัวอยางบทบาทหนาท่ี เจา ของธุรกจิ ซึง่ จะตองกําหนดทศิ ทางและแผนงานดว ยตนเอง ดวยการกําหนดวิสยั ทัศน จัดทํา แผนควบคุมเชงิ กลยุทธและโครงการพัฒนาที่จําเปนและมีพลังทําใหการขับเคลื่อนการทํางาน เขาสแู ละเปนไปตามวิสัยทัศนไ ด ดงั ตวั อยางการคิดสรางสรรคกําหนดทิศทางและแผนงานของ ไรท นเหน่ือย ดังน้ี ตัวอยาง : แผนการควบคุมเชิงกลยุทธ วิสัยทัศน “ป 2551 ไรทนเหน่ือยผลิตผักสด ผลไมอินทรีย เขาสตู ลาดประเทศสิงคโปรได” 30 แผนควบคมุ เชิงกลยุทธ เงื่อนไข ดานการลงทนุ ดา นลกู คา ดา นผลติ ผล ดา นการพฒั นา ตนเอง 1.เปา หมาย 1.1 จัดพ้นื ที่การ 1.1 ผสู งออก 1.1 ผลผลติ ตอ งผา น 1.1 พัฒนา เชงิ กลยุทธ ผลติ ตามแผน ดําเนินการสรา ง การประเมินรบั รอง คนงานในแตละ จาํ นวน 80 ไร ความเช่อื ถือดวย คณุ ภาพจาก ฟารมใหทํางาน การประชาสัมพันธ หนวยงานอาหาร ตามขนั้ ตอนได ทางอินเทอรเน็ต และยาและ ถกู ตอ ง 1.2 จดั สงเสริม สาํ นักงานมาตรฐาน 1.2 การตรวจ การตลาดกับการ เกษตรอินทรียของ ตดิ ตามหา ผลติ ผลตวั เดนในแต ประเทศสงิ คโปร ขอบกพรองใน ละฤดกู าล การทาํ งาน เงอื่ นไข ดานการลงทนุ ดา นลกู คา ดา นผลติ ผล ดา นการพฒั นา ตนเอง 2. ปจ จัย 2.1จัดซื้อรถไถ 2.1 จดั ทาํ สารคดี 2.1 เมล็ดพนั ธุ นําเขา 2.1 เอกสาร ดําเนนิ งาน พรวน เผยแพรค ณุ ภาพ ออแกนิค ขั้นตอนการ ทาํ งานของ ขนาด26 แรงมา ผลผลิตและ 2.2 จลุ นิ ทรีย คนงานแตล คน 2.2 เอกสาร 2.2ซอ้ื ข้ีวัว ราํ ขา ว กระบวนการผลติ อารักขาพชื ระบบการตรวจ ติดตามหา เพ่อื ขยายจลุ ินทรยี  2.3 จุลินทรีย ขอบกพรอง ในรปู แหง ตรึงไนโตรเจนใน 2.3จดั หาและจดั ซื้อ ดิน เมล็ดพันธปุ ยุ พชื สด 2.4 จุลินทรีย สรางฟอสฟอรัส ในดิน 31 3. ตวั บง ชี้ 3.1ดาํ เนนิ การ 3.1 ยอดสงั่ ซ้อื 3.1 ผลการ 3.1 คนงาน ความสาํ เร็จ พัฒนาคุณภาพดนิ เพ่มิ ขึ้นเปน ระยะ ตรวจสอบ ทาํ งานถกู ตอง ได ตามขอกาํ หนดครบ อยางตอเน่ือง คุณภาพและ ไดตามเอกสาร 80 ไร 3.2ภายใน 6 รอบ ความปลอดภยั ขั้นตอนการ การผลิตยกเลกิ การ ใชข วี้ วั ของผลิตผล ทาํ งาน 3.3 เกบ็ เมลด็ พนั ธุ ปยุ พชื สดใชเองได ตรวจสอบผาน อยางพอเพยี ง 4. กจิ กรรม ทุกคร้ังเกี่ยวกับ โครงการท่ี ตอ งทํา (1) สารพษิ (2) ตกคา ง (2) จุลินทรยี  บดู เนา 4.1 กิจกรรม 4.1 โครงการผลิต 4.1 โครงการ รวมมือกบั ผู เมล็ดพันธใุ ชเ อง จดั ทําเอกสาร สงออกและผจู ัด 4.2 โครงการผลิต ขนั้ ตอนการ จําหนายที่ จลุ นิ ทรยี อ ารกั ขา ทํางาน ประเทศสงิ คโปร และบํารงุ พืชเพ่ือ 4.2 โครงการ จดั ทําVDO ใชเ อง ศึกษาจดั ทํา เผยแพรค ณุ ภาพ ระบบการตรวจ ผลผลติ และ ตดิ ตามหา กระบวนการผลิต ขอบกพรองและ ปฏบิ ตั ิการแกไข 32 เร่อื งที่ 2 การวดั และประเมนิ ผลความมนั่ คงในอาชีพ การประเมินความม่ันคงในอาชีพ ผูรับผิดชอบในการวัดและประเมินผลที่ดีที่สุด คือ ตัวผปู ระกอบอาชพี เอง เพราะการวัดและประเมินผลความมน่ั คงในอาชีพ เปนเรื่องที่บูรณาการ สิ่งตา ง ๆ ในตัวของประกอบการอาชพี เอง ต้ังแตการเรียนรูวาตนเองจะทําอยางไร การคิดเห็น คุณคาของกิจกรรมความมั่นคง ความจดจําในกิจกรรมและความรูสึกพอใจตอกิจกรรม เปน เรอื่ งภายในท้งั สิน้ บุคคลอ่ืนไมสามารถรูเทาตัวของผูประกอบอาชีพ ดังนั้น ความม่ันคงใน อาชีพตัวแปรตน เหตุทีส่ าํ คัญ คอื ใจของผูประกอบอาชพี ซงึ่ มหี ลกั การประเมนิ สภาวะของธุรกิจ ประกอบดวย ตวั แปร 4 ตัว ดงั นี้ 1. การรบั รู (วญิ ญาณ) วิธกี ารรับรูท ใ่ี ชศึกษาภารกจิ สรา งความม่นั คง 2. ความคิด (สังขาร) ประเมนิ คณุ คาวา ดหี รือไมด ีของภารกจิ ความม่นั คงที่จะ ดําเนนิ การ 3. จําได หมายรู (สญั ญา) ประเมนิ ความจําวา ตนเองเอาใจใสต อภารกจิ ความมั่นคง มากนอ ยเพยี งใด 4. ความรสู กึ (เวทนา) ประเมินความรสู ึกทต่ี นเองพึงพอใจหรือชอบตอ ภารกิจความ มน่ั คงแบบใด กรอบการประเมินความเปนไปไดใ นการนํากรอบแนวคิดการขยายอาชีพไปใชจริง กรอบแนวคิดในการประเมนิ ความเปน ไปไดดังนี้ 33 A B F รปู แบบการ ความยากงายของการ ความเปนไปไดในการนาํ ขยายอาชีพ ดําเนินการขยายอาชีพ กรอบแนวคดิ การขยาย C อาชพี ไปใชจริง การรบั ไดข องลกู คา D การรบั ไดข องสงั คม ชมุ ชน E ความเหมาะสมกบั เทคนคิ วทิ ยาการท่ใี ชในการขยาย อาชีพ จากแผนภูมิดังกลาว แสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมิน ความเปนไปได มอี งคป ระกอบรวมกัน 6 องคป ระกอบ ในแตละองคประกอบมตี วั แปรบง ชี้วดั ดังน้ี 1. รูปแบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรวม ดงั นี้ 1.1 ผลผลติ 1.2 กระบวนการผลติ 1.3 ปจ จัยนําเขาการผลติ 2. ความยากงา ยของการดาํ เนินการจดั การ มีตวั แปรรว ม ดงั น้ี 2.1 การบริหารจดั การ แรงงาน เงินทนุ 2.2 แผนธุรกจิ 3. การรบั ไดของลกู คา มตี ัวแปรรว ม ดังนี้ 34 3.1 ผลผลติ อยูในความนิยม 3.2 เปน สงิ่ จําเปนตอชวี ติ 3.3 ราคา 4. การรบั ไดข องสังคมชุมชน มตี วั แปรรวม ดงั นี้ 4.1 สภาพแวดลอม 4.2 วฒั นธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนิควทิ ยาการทีใ่ ชในการขยายอาชีพ 5.1 เทคนคิ วิทยาการเพ่อื การลดตนทุน 5.2 เทคนคิ วทิ ยาการเพอ่ื การลดของเสีย เปา หมายการประเมนิ ผล การประเมินความเปนไปไดในการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชจริง มีเปาหมายท่ีจะ วเิ คราะห ดงั นี้ 1. วเิ คราะหบ ทความสมั พนั ธส อดคลองรับกนั ได ระหวา งองคประกอบ 1.1 ความสมั พนั ธ ระหวา ง AB AC AD AE 1.2 ความสัมพันธ ระหวาง BC BD BE 1.3 ความสัมพันธ ระหวาง CD CE 1.4 ความสัมพันธ ระหวาง DE 35 2. ประเมนิ ตดั สินใจรบั ความเปน ไปได 2.1 ตารางวิเคราะหความสมั พนั ธส อดคลองรับกนั ไดระหวา งองคป ระกอบ AB CD E รปู แบบการ ความยาก การรบั ไดข อง การรับไดของ ความ ขยายอาชีพ งายของการ ลกู คา สังคมชุมชน เหมาะสม -ผลผลติ ดาํ เนินการ -ผลผลติ อยูใน -สภาพแวดลอ ม ของ A -กระบวนการ -การจดั การ ความนยิ ม -วฒั นธรรม เทคโนโลยี รูปแบบการขยาย ผลิต -แผนธรุ กิจ -จําเปน ตอ ชวี ิต ประเพณี -เทคนคิ อาชีพ -ปจจยั นําเขา -ราคา วิทยาการ B AB √ เพ่ือลดตน ทุน ความยากงาย -เทคนคิ ของการดาํ เนนิ การ วิทยาการ C AC √ BC √ เพ่ือลดของ การรับไดข อง เสีย ลกู คา D AD √ BD √ CD √ การรับไดข อง สังคมชมุ ชน E AE √ BE √ CE √ DE ความเหมาะสม ของ เทคโนโลยี 36 2.2 เกณฑการประเมิน 2.2.1 คะแนนระหวาง 1 - 3 คะแนน ถือวา นาํ รปู แบบไปใชไมได 2.2.2 คะแนนระหวาง 4 - 7 คะแนน ถอื วา มีความเปน ไปไดต า่ํ ตอง ทบทวน พฒั นา 2.2.3 คะแนนระหวาง 8 -10 คะแนน ถือวา มีความเปนไปไดในการนําไปใช วิธีการวิเคราะห การวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจ มีความจําเปนที่เจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจ ดวยตนเองสําหรับกรณีที่ธุรกิจมีหุนสวนหรือผูเก่ียวของควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธี ความสมั พันธร วมกนั โดยมีวิธกี ารดงั น้ี 1. การวเิ คราะหตัดสินใจตัวบง ช้คี วามสัมพันธระหวางองคประกอบทีละคู ดวยการใช วิจารณญาณของตนเอง นึกคิดในรายละเอียดความสัมพันธความไปกันได และความเปนพวก เดยี วกันวาหนักไปทางมคี วามสมั พันธ 2. การใหคะแนนโดยใหคูองคประกอบท่ีมีความสัมพันธไดคะแนน 1 คะแนน คูที่ไม สัมพันธใ ห 0 คะแนน วิธีการประเมนิ การรวมคะแนนจากองคประกอบการประเมินแตละขอ แลวประเมินสรุปตามเกณฑ การประเมิน เชน 1. แนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสาน มีคูความสัมพันธขององคประกอบการ ประเมินรวมคะแนนได 9 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสาน มคี วามเปน ไปไดใ นการนาํ ไปใชจรงิ 2. แนวทางขยายอาชีพของกลุมเล้ียงปลา มีคูความสัมพันธขององคประกอบการ ประเมนิ รวมคะแนนได 3 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมเลี้ยงปลา เปน รปู แบบท่มี ีความเปนไปไดตา่ํ มากรปู แบบไมส ามารถนําไปใชได สรุป แนวทางประเมนิ ความเปนไปไดข องการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชเปนรูปแบบที่เนน การใชเหตุผลเปนหลัก ไมใชการหาความสัมพันธเชิงคณิตศาสตร เปนการมองหาเหตุผลดวย วิจารณญาณของตนเอง เพอื่ รบั ผดิ ชอบตนเองและนําตนเองได 37 ตวั อยาง : การวเิ คราะหก ําหนดตัวบงช้ีภายในองคป ระกอบของการประเมนิ A รปู แบบของการขยาย B ความยากงาย C การรบั ได D การรบั ได E ความ เหมาะสมของ อาชีพ ของการบรหิ าร ของลกู คา ของสงั คม เทคนคิ วิทยาการ E1วทิ ยาการลด จัดการ ชมุ ชน ตน ทุน - ไมมมี ลพษิ A1ผลผลติ ผกั สด ผลไมไ ร B1การบริหาร C1 อยูใน D1 - มีเสียงรบกวน E2วทิ ยาการลด สารพิษ จัดการ ความนยิ ม สภาพแวดลอ ม ของเสีย - ไมทาํ ใหแ หลง A2กระบวนการผลิต - ใชแ รงงานทองถน่ิ -เปนอาหาร -ตอ งไมม ีกลน่ิ น้ําเนา เสีย - สง่ิ ปฏิกลู ตองมี - สรา งความสมดลุ ใน - เพิม่ ทนุ จากสว น สขุ ภาพ รบกวน การบาํ บัด แปลงเกษตร แบง รายไดร อ ยละ -เปน อาหารไร -อากาศตอง - ไมใชป ุย เคมี แตใชปยุ 10 สารพษิ สะอาด พชื สด - ปจ จัยการผลติ ที่ C2เปน ปลอดภยั ไร - ไมใ ชส ารพษิ ฆาแมลง เนน การพงึ่ พา ส่งิ จําเปน ตอ สารพษิ แตใ ชก ารจดั การโดยชวี ปจจยั ภายนอกให ชวี ติ -เกือ้ กูล วิธี นอ ยทสี่ ดุ -ผกั ผลไมตอ ง ธรรมชาติ A3ปจ จัยการผลิต - ระบบจดั การใช รบั ประทาน แวดลอม - เมล็ดพนั ธุออแกนคิ วิธกี ารทํางานตาม ทกุ วนั D2วฒั นธรรม - เมลด็ พนั ธปุ ุย ขน้ั ตอนทีร่ ะบุไวใ น C3ราคา ประเพณี พชื สดออแกนิค เอกสารอยา ง -สามารถซอ้ื -ไมกระทบกบั - จลุ นิ ทรียคุณภาพจาก เครงครดั รับประทาน ศีลธรรม กรมวิชาการเกษตรและ B2แผนธรุ กจิ เองไดอ ยาง -ไมกระทบตอ กรมพัฒนาท่ีดนิ - ตลาดนาํ การผลติ ตอ เน่ือง จารีตประเพณี - กาํ หนดสาขาที่ ลูกคามีพลังซื้อกนิ ไดอยางตอ เนือ่ ง 38 ตวั อยา ง : การวิเคราะหค วามสัมพนั ธท ีเ่ ก่ียวของระหวางตวั แปรภายในของรปู แบบการ ขยายอาชพี กบั การรบั ไดข องสงั คม ชุมชน A รูปแบบการขยาย D การรบั ไดของ เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชพี สังคม ชุมชน 1. กระบวนการผลติ มคี วามสัมพันธ อินทรียเปนระบบท่ี ระหวางAD A1ผลผลติ D1 สภาพแวดลอม เปนมติ รกับ ส่งิ แวดลอม - ผักสด ผลไม ไร ของชุมชนไมตองการ 2. การปลูกผัก ผลไม เปน ธรุ กจิ ไมผ ิด สารพษิ กล่นิ รบกวน อากาศ ศีลธรรมการบาํ รุงพชื ใชปยุ พืชสดเปนสิ่งท่ี A2กระบวนการผลิต ตองสะอาดไมมีฝนุ สะอาด ไมใชอจุ จาระ ของคนซง่ึ ผิดจารีต ดวยการสรา งความ ละอองปลอดภยั จาก ความรสู ึกของคนใน ชมุ ชน สมดลุ ของแปลงเกษตร สารพษิ และเกอ้ื กูล ทีใ่ ชป ุย พืชสดแทน ธรรมชาติแวดลอม ปยุ เคมีและใชการ D2 วัฒนธรรม จัดการกบั แมลงโดยใช ประเพณีของชมุ ชน ชวี วธิ แี ทนการใช ยึดมัน่ ในศีลธรรม สารพิษ จารตี ประเพณที ่มี มี า A3 ปจจัยการผลติ ใช เมลด็ ผักจากระบบออ แกนิค ใชจลุ ินทรีย คุณภาพจากกรม วชิ าการเกษตรและ กรมพัฒนาทด่ี ิน 39 ตัวอยา ง : การวิเคราะหค วามสมั พันธท ี่เกี่ยวของระหวา งตัวแปรภายในของรปู แบบการ ขยายอาชีพกบั การรบั ไดข องลกู คา Aรูปแบบการขยาย D การรับไดข อง เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชีพ ลกู คา A1ผลผลติ C1 อยใู นความนยิ ม 1.ผกั สด ผลไมไ ร มคี วามสมั พนั ธ - ผกั สด ผลไม ไร เปน อาหารสขุ ภาพ สารพิษอยูในความ ระหวา งAC สารพิษ เปนอาหารไรสารพิษ นิยมเปน สิ่งจําเปน ตอ A2กระบวนการผลิต C2 เปนสิ่งจําเปน ตอ ชวี ิตตอ งรับประทาน ดว ยการสรางความ ชวี ิตตอ งรับประทาน ทกุ วนั สมดุลของแปลง ทุกวนั อยางปลอดภยั 2.กระบวนการผลิต เกษตรทใ่ี ชป ุยพชื สด C3 ราคา ยืนยนั ใหเห็นวา เปน แทนปยุ เคมีและใช -สามารถรบั ประทาน ระบบท่ที ําใหผักสด การจัดการกับแมลง ไดอ ยางปลอดภัย ผลไมมีคณุ ภาพ ไร โดยใชช วี วิธีแทนการ สารพษิ ใชสารพษิ Aรปู แบบการขยาย D การรบั ไดของ เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชีพ ชุมชน A3 ปจ จัยการผลิตใช เมลด็ ผกั จากระบบ ออแกนคิ ใช จุลนิ ทรยี ค ุณภาพจาก กรมวชิ าการเกษตร และกรมพัฒนาที่ดิน 40 เรอ่ื งที่ 3 การตดั สินใจขยายอาชพี ดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ การสรา งความม่นั คงยงิ่ ขน้ึ ผูประกอบการควรพจิ ารณาวิเคราะหศกั ยภาพในการขยาย อาชพี 5 ดา น ดังนี้ 1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตล ะพน้ื ท่ี 2. ศักยภาพของพืน้ ที่ตามลักษณะภูมอิ ากาศ 3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทําเลท่ีต้งั ของแตละพื้นที่ 4. ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ีชีวติ ของแตละพื้นที่ 5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยในแตละพืน้ ที่ 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตละพ้นื ที่ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถ นาํ ไปใชใ หเกดิ ประโยชนต อชวี ติ ประจําวนั และการประกอบอาชีพ ทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแก ปา ไม แมนํา้ ลาํ คลอง อากาศ แรธ าตตุ าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดท่ีใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษย สามารถสรางทดแทนขึ้นใหมได การขยายอาชีพตองพิจารณาวาทรัพยากรท่ีจะตองนํามาใชในการขยายอาชีพใน พ้ืนที่มีหรือไมมีเพียงพอหรือไม ถาไมมีผูประกอบการตองพิจารณาใหมวาจะขยายอาชีพที่ ตัดสินใจเลือกไวห รอื ไมหรอื พอจะจัดหาไดในพ้ืนท่ีใกลเคียง ซ่ึงผูประกอบการตองเสียคาขนสง คุมคา กบั การลงทุนหรือไม เชน ตดั สนิ ใจจะขยายอาชีพจากเดิมเล้ยี งสุกร 100 ตัว ตองการเลี้ยง เพ่ิมเปน 200 ตัว ซึ่งเพิ่มอีกเทาตัวจะตองพิจารณาวาอาหารสุกรหาไดในพ้ืนที่หรือไม เชน รํา ขาวในพ้นื ทมี่ ีพอเพยี งทจี่ ะเล้ียงสุกรท่ีเพ่ิมขนึ้ หรอื ไม 2. ศกั ยภาพของพน้ื ท่ตี ามลกั ษณะภูมิอากาศ แตละพื้นท่ีจะมีลักษณะภูมิอากาศแตกตางกัน เชน ภาคกลางอากาศรอน ภาคใต ฝนตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพ ภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน ในพ้ืนท่ีมีการปลูกลิ้นจ่ี ลําไยอยูแลวและมีผลผลิตออกมากใน ฤดูกาล ทําใหราคาตกตํ่าตองการแปรรูปใหเปนลําไยตากแหง เพ่ือใหไดราคาดี ดังนั้น ตอง พิจารณาวา ในชว งน้นั มีแสงแดดพอเพียงที่จะตากลําไยไดหรอื ไม 41 3. ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศและทาํ เลท่ีต้ังของแตล ะพ้นื ที่ สภาพภมู ปิ ระเทศและทําเลที่ต้ังของแตละพ้ืนที่จะแตกตางกนั เชน เปนภูเขา เปนท่ี ราบสูง ท่ีราบลุมแตละพื้นท่ีตองพิจารณาวาแหลงทองเที่ยวแหงใหมในภูมิประเทศนั้น ๆ สามารถดงึ ดูดนักทอ งเท่ียวไดหรือไม หรือตองการขยายสาขารานกาแฟสดไปอีกสถานท่ีหนึ่งก็ ตอ งพจิ ารณาทาํ เลทต่ี ั้งแหงใหมว าจะขายกาแฟไดหรือไม 4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวิถีชีวติ ของแตละพนื้ ที่ ประเทศไทยและตางประเทศมีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่แตกตางกัน ดังนนั้ แตละพ้นื ทีส่ ามารถนาํ เอาส่ิงเหลาน้ีมาใชเปนอาชีพได เชน เปนสถานที่ทองเที่ยวเขาชม ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีพ้ืนบานหรือพาชมวิถีชีวิตอาจจะขยายอาชีพโดยเพิ่มจํานวนรอบท่ี เขา ชมใหพ อเพียงกับตลาดเปาหมาย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตล ะพื้นที่ ทรัพยากรมนุษยใ นแตละพ้ืนท่ี หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยที่เปนภูมิ ปญญาท้ังในอดีตจนถึงปจจุบัน ดานการประกอบอาชีพตาง ๆ ในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ เมื่ออาชีพนั้นมี ความมั่นคงในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ แลว อาจจะขยายไปพ้ืนที่อ่ืน ๆ การกระจายความสามารถของ ทรัพยากรมนษุ ยก ็สามารถทําไดโ ดยการอบรมผูสนใจ ในความรนู นั้ ๆ ใหสามารถนาํ ไปขยายยัง พ้นื ทอ่ี น่ื ๆ ได 42 แบบฝกหัด ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอไปน้ี 1. จากการทผ่ี เู รยี นไดศกึ ษาบทที่ 3 การตดั สนิ ใจขยายอาชีพควรมอี งคประกอบในการตดั สินใจ กอี่ งคป ระกอบ ผูเรยี นสามารถนาํ ไปใชตัดสนิ ใจไดอ ยางไรจงอธิบาย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. เพอ่ื เปนการสรา งความม่ันคงย่งิ ขน้ึ ผปู ระกอบการควรพจิ ารณาการตดั สินใจขยายอาชีพดวย การวิเคราะหศักยภาพในการขยายอาชีพกี่ดาน จงอธิบายยกตัวอยางการตัดสินใจขยาย อาชพี ของทานทีส่ อดคลองมา 1 ตัวอยาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ 43 เฉลยแบบฝกหัด บทท่ี 1 1. ใหผเู รยี นอธิบายความสําคญั และความจาํ เปนในการขยายอาชพี ความสําคัญและความจําเปนในการขยายอาชีพ เนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นและสงผลกระทบตอกัน ในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม สงผลให เกดิ อาชีพใหมท ีส่ รา งรายได และสรางความเขมแขง็ ในอาชพี ได 2. ใหผเู รียนอธิบายลักษณะการขยายอาชีพดานเกษตรกรรม พรอ มยกตัวอยา ง การขยายอาชพี ดานเกษตรกรรม เปนการนําองคความรูใหม ๆ เทคโนโลยี นวัตกรรม พัฒนาใหสอดคลองกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ทําเล ทต่ี ้ัง รวมถงึ ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถี ชวี ติ ในแตล ะพ้นื ที่ เชน อาชีพเกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เปนตน 3. ใหผูเ รยี นอธบิ ายลักษณะการขยายอาชีพดา นพาณิชยกรรม พรอมยกตัวอยา ง การขยายอาชีพดานพาณิชยกรรม เปนการนําวิธีการตาง ๆ เพ่ือตอบสนองความ ตองการของผูบริโภคในยุคปจจุบัน เชน การขายสินคาในระบบออนไลน หนาเว็บไซตตาง ๆ หนาเฟซบคุ หนา อนิ สตารแ กรม อนิ เทอรเนต็ แบงคก ้งิ 4. ใหผูเรยี นบอกขอ ดีของการขยายอาชพี ดานความคิดสรางสรรค การขยายอาชีพดานความคิดสรางสรรคทําใหผูผลิตเกิดการแขงขันในดานความคิด สติปญญา ในการผลิตสินคาในดานรูปลักษณ ทําใหสินคาดูมีราคานาใช และผูบริโภคมี ทางเลือกในการซือ้ สนิ คาไดมากย่ิงขึ้นตรงตามความตองการ ในราคาทีย่ ุตธิ รรม 44 5. ใหผเู รยี นบอกคณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดําริ มาอยางนอย 5 ขอ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี เชน การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดําริ ดังนี้ 1. มคี วามรู ความสามารถ 6. มีความจริงใจและมีสจั จะ 2. รจู กั การประยกุ ตใช 7. มีวินยั 3. คดิ อยา งรอบคอบ 8. สรา งสรรคแ ละพฒั นา 4. ใชปญญา 9. วางแผนในการทาํ งานสํารวม 5. มสี ตแิ ละสงบ 6. การซ้อื สินคาผานระบบออนไลนเปน การอนุรกั ษท รพั ยากรหรือไม อยา งไร การซื้อสินคาผานระบบออนไลนเปนการอนุรักษทรัพยากร เน่ืองจากเปนการ ประหยัดเวลาและคาใชจายในการเดินทางของผูซื้อ ประหยัดทรัพยากรในการดําเนินกิจการ ของผผู ลิต เชน นํา้ มนั ไฟฟา นํา้ กระดาษ เปนตน บทที่ 2 1. ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายความจําเปน และความเปน ไปไดในการขยายอาชพี พรอ มยกตัวอยา ง ในการประกอบอาชีพ การมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพกอนคนอ่ืน จะทําให ประสบความสําเร็จไดกอ น ประกอบดว ยสงิ่ ตา ง ๆ ดังน้ี 1. ความชํานาญในงานทท่ี ํา 2. ความชอบ ความสนใจของตัวเอง 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตา ง ๆ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กับบุคคลผูที่ประสบ ความสาํ เร็จ 4. การศกึ ษาคนควา จากแหลง ตา ง ๆ เชน สือ่ ส่งิ พิมพ สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส ส่ือออนไลน 5. ขอ มูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนว ยราชการและเอกชน 45 ตัวอยา งการขยายอาชพี นางมาลี เปนพนกั งานตดั เยบ็ เสื้อผา ที่โรงงานเอ เปน เวลากวา 10 ป จากประสบการณ การเปนพนักงานตัดเย็บเสื้อผา จึงไดลาออกเพ่ือเปดรานตัดเย็บเสื้อผาของตนเอง ท่ีบานเกิด ของตนเอง 2. ใหผเู รยี นยกตัวอยางอาชีพและความเปนไปไดตามกรอบแนวคดิ การขยายอาชพี อาชพี รานกาแฟเดลิเวอรี่ อธิบายกรอบแนวคิดความเปนไปไดใ นการขยายอาชีพ ดังน้ี 1. รูปแบบการขยายอาชีพ การบริการสงกาแฟเดลิเวอร่ี โดยผูซื้อสามารถโทรศัพท สัง่ ซื้อ หรอื สัง่ ออนไลน ผา นทางแอพพลิเคชน่ั เชน เฟซบุก ไลน เปน ตน 2. ความยากงายของการดําเนนิ การจัดการ เนื่องจากปจจุบันผูบริโภคมีความนิยมด่ืม ชา กาแฟ เปนจาํ นวนมาก และรานกาแฟก็มีจาํ นวนมากเชน กัน วิธีการบริการเดลิเวอร่ี สงถึงที่ จงึ เปน ทางเลอื กทด่ี สี าํ หรับผูบรโิ ภค โดยเฉพาะผทู ี่ทํางานในสํานักงานตางๆ ที่มีปริมาณการซ้ือ จาํ นวนมาก จงึ เปน ชองทางในการจาํ หนายท่ีดี กาแฟเดลิเวอร่ี จัดสงเคร่อื งด่ืม ชา กาแฟ และเบ เกอรี่ ใหกับลูกคาถึงท่ี โดยผูซ้ือสามารถโทรศัพทส่ังซื้อ หรือ ส่ังซื้อออนไลน ผานทาง แอพพลเิ คชน่ั เชน เฟซบุก ไลน เปนตน นอกจากนี้ยังรับจดั อาหารวา ง ในการจดั ประชมุ อกี ดว ย 3. การรับไดของลูกคา ในปจ จุบันผูบริโภคมีความนิยมดื่ม ชา กาแฟ เปนจํานวนมาก เครื่องดื่มบริการสงถึงท่ี กาแฟเดลิเวอร่ี จึงการตอบความตองการของผูบริโภค เพราะไมตอง เสยี เวลามาท่ีรานกาแฟเอง ประหยดั เวลา คาใชจ ายในการเดนิ ทาง ราคาทเี่ หมาะสมกบั สนิ คา 4. การรับไดของสังคมชุมชน กาแฟเดลิเวอร่ี ไมสงผลกระทบตอสังคมชุมชน และยัง สรา งรายไดใ หแ กช มุ ชน เชน คนสงกาแฟ คนทาํ ขนมเบเกอรี่ เปน ตน 5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการที่ใชในการขยายอาชีพ กาแฟเดลิเวอร่ี มีการ ใชส่ือเทคโนโลยี โดยผูซื้อสามารถโทรศัพทสั่งซื้อ หรือ ส่ังซ้ือออนไลน ผานทางแอพพลิเคช่ัน เชน เฟซบกุ ไลน เปน ตน ดังนัน้ อาชพี กาแฟเดลเิ วอรี่ จึงเปนอาชีพทม่ี ีความเปนไปไดในการขยายอาชีพ เพราะ มีการบริการที่อํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภค เพ่ือใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจในสินคา และบรกิ าร