ผลิตภัณฑ์สุขภาพ แบ่ง เป็น 3 กลุ่ม

Page 19 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน

P. 19

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ แบ่ง เป็น 3 กลุ่ม

1.4 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

                         ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดขอบ 9 ประเภท ได้แก  ่

                             o อาหาร

                             o ยา
                             o ยาเสพติดให้โทษ

                             o วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
                             o เครื่องส าอาง

                             o เครื่องมือแพทย์

                             o วัตถุอันตราย
                             o สารระเหย

                             o ผลิตภัณฑ์สมุนไพร

                                                                      ุ้
                         หน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่ในการดูแลโดยตรงเกี่ยวกับการคมครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยดูแล
                  ภาพรวมในระดับประเทศ ตัวอย่างเช่น

                         ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ท าหน้าที่ปกป้องและคุ้มครองสุขภาพ

                  ประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยผลิตภัณฑ์สุขภาพ

                              ิ
                         กรมวทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (รวมถึงศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเป็น
                                                                                  ื่
                  หน่วยงานระดับภูมิภาค) ดูแลในด้านการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพอคุ้มครองผู้บริโภคตามกฏหมาย
                  รวมทั้งเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงการตรวจชันสูตร


                         กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ท าหน้าที่ดูแลกรณีมีปัญหาราคาสินค้า การกักตุนสินค้า การไม่
                  ติดป้ายราคา ปัญหาจากมาตราชั่ง ตวง วัด




                  1.5 กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านเภสัชสาธารณสุข


                         นอกเหนือจากการรู้จักค าจ ากัดความพนฐาน ประเภทผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้ง 9 อย่างที่เกี่ยวข้องกับการ
                                                         ื้
                                                                  ี
                  คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแล้ว สิ่งส าคัญอกประการหนึ่ง คือ ต้องเข้าใจหลักของกฎหมายที่
                                                ี
                  เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคอกด้วย กฎหมายดังกล่าวอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กฎหมายคุ้มครอง
                                                     ์
                  ผู้บริโภคทั่วไป กฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพ และกฎหมายเกี่ยวกับบริการสุขภาพ
                         กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคทั่วไป

                             o พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
                             o พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง

                             o พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค


                                                                                                              6

   เป็นที่คุ้นเคยกันดีที่เราจะได้ยินสื่อโฆษณาของภาครัฐ และเอกชนต่างๆ ที่ประชาสัมพันธ์ว่าเวลาจะซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพใดๆ ให้ดู“เครื่องหมาย อย.” เป็นหลัก ทำให้มีผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ขยันออกมากล่าวคำโฆษณาโอ้อวดเกินจริง จนผู้บริโภคจำนวนไม่น้อยเข้าใจผิดว่า “เครื่องหมาย อย.” บนฉลากเป็นตัวการันตีว่าผลิตภัณฑ์นั้นจะมีสรรพคุณดังคำโฆษณาที่กล่าวอ้าง ผู้บริโภคหลายรายพลอยตกเป็นเหยื่อผลิตภัณฑ์ที่ผิดกฎหมายจนได้รับอัตรายถึงแก่ชีวิตก็มี นี่คือที่มาของประเด็นที่เราจะมาพูดคุยกันเพื่อทำความเข้าใจอย่างถูกต้องกันเสียทีว่าแท้จริงแล้ว “เครื่องหมาย อย.” นั้นคืออะไร และผลิตภัณฑ์ประเภทไหนที่ต้องมีเครื่องหมาย อย. บ้าง

เครื่องหมาย อย. คืออะไร?

         เครื่องหมาย อย. คือ สัญลักษณ์ที่แสดงให้ผู้บริโภคได้ทราบว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพนั้นๆ ได้ผ่านการพิจารณาด้านประสิทธิภาพ คุณภาพและความปลอดภัย ตามหลักเกณฑ์การผลิต และการนำเข้า จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) โดยได้ปฏิบัติตามกฎหมายเบื้องต้นของอย. แล้ว แต่ไม่ได้หมายความรวมถึงการได้รับอนุญาตโฆษณาสรรพคุณต่างๆดังนั้นเมื่อจำเป็นต้องเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ จึงควรพิจารณาข้อความสรรพคุณที่แสดงไว้บนฉลากเท่านั้น ไม่ควรหลงเชื่อข้อมูลโฆษณาที่มีลักษณะจูงใจกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง

ผลิตภัณฑ์ประเภทไหนถึงจะต้องมี “เครื่องหมาย อย.”?

      กฎหมายระบุให้ผู้ผลิต หรือ ผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภายใต้ความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูง ต้องมาขอขึ้นทะเบียน หรือ ขอจดแจ้งผลิตภัณฑ์ก่อนผลิต/นำเข้า/จำหน่าย เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในเบื้องต้น และเมื่อได้รับการอนุมัติจาก อย. แล้ว จึงจะนำออกวางจำหน่ายในท้องตลาดได้ อย่างไรก็ตามการขอนุญาตในแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ก็มีความแตกต่างกันออกไป ดังนี้คือ

ยา : 

       ผลิตภัณฑ์ยาทุกชนิดบนฉลากจะไม่มีเครื่องหมาย อย. แต่จะต้องแสดงเลขทะเบียนตำรับยา โดยลักษณะของกลุ่มตัวเลขแรกคือ ประเภทของทะเบียนตำรับยาจะเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ แล้วตามด้วยเลขทะเบียนตำรับยา (ของแต่ละตำรับยา) /ปี พ.ศ. เช่น ทะเบียนยาเลขที่ 1A 324/50เป็นต้น โดยประเภทของทะเบียนตำรับยาเช่น 1A: ยามนุษย์ผลิตภายในประเทศ (แผนปัจจุบัน) (ยาเดี่ยว) 2B: ยามนุษย์แบ่งบรรจุ (แผนปัจจุบัน)(ยาผสม) เป็นต้น

อาหาร : 

        ผลิตภัณฑ์อาหาร จะเรียกเครื่องหมายอย.ที่แสดงบนฉลากว่าเลขสารบบอาหาร ซึ่ง “เลขสารบบอาหาร” คือ เลขประจำตัวผลิตภัณฑ์อาหาร จะเป็นตัวเลข 13 หลัก แสดงอยู่ภายในกรอบเครื่องหมาย อย.ถูกนำมาใช้แทนตัวอักษรและตัวเลข โดยอยู่ในกรอบเครื่องหมาย อย. แบบเดิม เลขสารบบอาหารนี้จะระบุข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานที่ และข้อมูลผลิตภัณฑ์อาหารครบถ้วนมากกว่าในอดีต ช่วยให้เจ้าหน้าที่ติดตามตรวจสอบง่ายขึ้น

ตัวอย่าง เครื่องหมาย อย. : เลขสารบบอาหาร

        โดยกำหนดให้ต้องแสดงเครื่องหมาย อย. : เลขสารบบอาหาร บนฉลากอาหาร 3 กลุ่ม (ตามการแบ่งกลุ่มประเภทอาหาร) ดังต่อไปนี้

         1. อาหารควบคุมเฉพาะ เช่น เครื่องดื่ม อาหารบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท และนมพร้อมดื่ม (ที่ผลิตจากนมโค) ไอศกรีมดัดแปลงสำหรับทารกเป็นต้น

        2. อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน เช่น น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร น้ำแข็ง น้ำมันพืช อาหารกึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น

        3. อาหารที่ต้องมีฉลาก เช่น ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ หมากฝรั่งลูกอม อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคทันที อาหารพร้อมปรุง เป็นต้น

        สำหรับอาหารประเภททั่วไป เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว ข้าวสาร เครื่องเทศ เครื่องปรุงต่างๆ เช่น น้ำตาล พริกไทย เป็นต้น รวมถึงอาหารที่ได้รับการยกเว้น เช่น เกลือบริโภค น้ำนมถั่วเหลือง เป็นต้น ไม่ต้องมีเครื่องหมายอย. บนฉลาก

เครื่องมือแพทย์ :

         การแสดงเครื่องหมาย อย. ในฉลากผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์จะมีลักษณะเป็นตัวอักษร ผ.(ผลิต) หรือ น.(นำเข้า) ตามด้วยเลขที่ใบอนุญาต/ปี พ.ศ. อยู่ในกรอบเครื่องหมาย อย. โดยกำหนดให้แสดงในผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ เช่น ถุงมือสำหรับการตรวจโรค ถุงยางอนามัย และเลนส์สัมผัส เป็นต้น

  ส่วนผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ในกลุ่มเครื่องใช้หรือเพื่อกายภาพบำบัด อุปกรณ์ที่นำมาใช้ด้านเสริมความงามต่างๆ เครื่องตรวจวัดระดับแอลกฮอล์ในร่างกาย เต้านมซิลลิโคนที่ใส่ฝังในร่างกาย และเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ใช้ภายนอกเพื่อเสริมหรือกระชับเต้านม กำหนดให้ไม่ต้องมีเครื่องหมาย อย. แต่ต้องมีเลขที่แจ้งรายละเอียดเครื่องมือแพทย์บนฉลาก

เครื่องสำอาง :

         ปัจจุบันกฎหมายใหม่กำหนดให้เครื่องสำอางทุกชนิดเป็นเครื่องสำอางควบคุม โดยฉลากไม่ต้องแสดงเครื่องหมาย อย. แต่ต้องแสดง“เลขที่ใบรับแจ้ง” โดยกำหนดให้เป็นเลข 10 หลัก เช่น 10-1-61xxxxxเป็นต้น และห้ามนำเลขที่ใบรับแจ้งมาใช้ในกรอบเครื่องหมาย อย.

        คราวนี้ก็ไม่ต้องหลงเชื่อคำโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริงของผลิตภัณฑ์ที่อ้างเครื่องหมาย อย. ที่ไม่ถูกต้องกันแล้ว เพราะเราสามารถดูและพิจารณาได้เองว่าเครื่องหมาย อย. แบบไหนควรอยู่ในผลิตภัณฑ์ใด และเลขในเครื่องหมายนั้นมีความหมายบ่งบอกถึงอะไรบ้าง แบบนี้สิถึงเรียกได้เต็มปากว่าเป็นผู้บริโภคสมัยใหม่…และการเป็นคนสุขภาพดีมีคุณภาพนั้นจะต้องรู้จักคิดและเลือกให้เป็นด้วยนะคะ

ขอขอบคุณ นิตยาสารเพื่อนแพนฉบับที่ Vol.30 No.189 ISSUE 2/2556 

BEAUTY Tips : 48-43

 

ผลิตภัณฑ์สุขภาพจัดแบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 6 ประเภท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหาร ยา วัตถุเสพติด เครื่องสำอาง วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข และเครื่องมือแพทย์ ที่เก็บจากสถานที่ผลิต นำเข้าหรือจำหน่าย เฉพาะผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ได้รับอนุญาตและที่ไม่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหาร ...

ผลิตภัณฑ์สุขภาพแบ่งออกเป็น 4 ประเภทอะไรบ้าง

แบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้แก่ ๑. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับผู้ป่วย (ยาจากสมุนไพร) ๒. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับดูแลสุขภาพบุคคลทั่วไป (ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ) ๓. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับสัตว์ (ยาแผนโบราณที่ใช้กับสัตว์) ๔. วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ มีอะไรบ้าง

10 ซูเปอร์ฟู้ด นวัตกรรมอาหารสุขภาพที่ควรบริโภคแห่งยุค.
1.น้ำนมจากพืช นวัตกรรมทางเลือกใหม่ของการดื่มนม ... .
2. โปรตีนฟิวชัน ทดแทนโปรตีนจากสัตว์ใหญ่ ... .
3. สารอาหารจากท้องทะเล คุณค่ามากกว่าที่คิด ... .
4. พืชผักออร์แกนิก คุณประโยชน์ที่สร้างเองได้ ... .
5. ธัญพืชเม็ดเล็ก แต่คุณค่าคับเมล็ด ... .
6.ซูเปอร์พาวเดอร์ เทรนด์ใหม่นวัตกรรมการปรุง.

ผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อสุขภาพมีอะไรบ้าง

6 ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ที่ (อาจ) ต้องคิดสักนิดก่อนซื้อ !.
น้ำยาบ้วนปาก ... .
อาหารเสริมวิตามินซี ... .
ครีมกันแดดราคาแพง ... .
คอตตอนบัด ... .
ยาหยอดตา ... .
โทนเนอร์.