การวางแผนดูแลสุขภาพ หมายถึง

การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว หมายถึง, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว คือ, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว ความหมาย, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว คืออะไร

การวางแผนดูแลสุขภาพ หมายถึง

        การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่งเพราะนอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ตัว ของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต

1. คุณค่าของการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว
คำว่า

การวางแผนดูแลสุขภาพ หมายถึง

การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว หมายถึง, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว คือ, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว ความหมาย, การวางแผนดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัว คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

การวางแผนดูแลสุขภาพ หมายถึง

วิธีการวางแผนพัฒนาสุขภาพตนเองในด้านต่าง ๆ ทำตามได้ง่ายๆ

19 สิงหาคม 202119 สิงหาคม 2021

การวางแผนดูแลสุขภาพ หมายถึง

การวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเอง เป็นกระบวนการ เพื่อให้สุขภาพของตนเองมีคุณภาพ องค์การอนามัยโลก (WorldHealth Organization : WHO) ได้ให้ความหมายของสุขภาพไว้ว่า สุขภาพ (Health) หมายถึง ภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และปัญญา รวมถึงการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข และไม่ได้หมายความเฉพาะเพียงแต่ความปราศจากโรคหรือความพิการทุพพลภาพเท่านั้น

การวางแผนพัฒนาสุขภาพ หมายถึง การกำหนดแนวทาง วิธีการในการสร้างสุขภาพดูแลส่งเสริมสุขภาพล่วงหน้า โดยมีการประเมินภาวะสุขภาพและวิเคราะห์ผลการประเมินภาวะสุขภาพ แล้วนำข้อมูลมาวางแผนพัฒนาสุขภาพและกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาพ และการประเมินผลเพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงในทั้ง 4 มิติ

1. การวางแผนพัฒนาสุขภาพกาย

กินอาหารให้ครบ 5 หมู่

กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแป้ง

ดื่มนมวันละ 2-3 แก้วต่อวัน

หลีกเลี่ยงอาหารรสหวานจัด เค็มจัด ของทอด บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นํ้าอัดลม

งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ กาแฟหรือ เครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน

เลือกกินผักและผลไม้ในปริมาณที่มากขึ้น

กินอาหารอย่างหลากหลาย แต่ลดปริมาณให้น้อยลง

ดื่มนํ้า 8-10 แก้ว/วัน

กินอาหารสะอาด ปราศจากการปนเปื้อน

2. การประเมินภาวะสุขภาพทางจิตใจ

รู้จักและทำความเข้าใจตนเองให้ดีที่สุด

ฝึกจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส

ฝึกรับฟังความเห็นของผู้อื่น

มีกิจกรรมผ่อนคลาย

มีมนุษยสัมพันธ์ดี

เมื่อมีปัญหาหรือมีความเครียดทางจิตใจ

บริหารจิตใจ

3. การวางแผนพัฒนาสุขภาพด้านสังคม

การสร้างจิตสำนึกในการเคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ของคนทุกคน

เข้าร่วมกิจกรรมตามวัฒนธรรมและประเพณีในท้องถิ่น

เข้าร่วมเป็นสมาชิกของชมรมหรือสมาคมต่าง ๆ

การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม

4. การวางแผนพัฒนาสุขภาพทางปัญญา

รู้จักการคิดถึงผู้อื่นมากกว่าตนเอง

ไม่ควรพักพิงความสุขทางวัตถุเพียงอย่างเดียว

รู้จักการเชื่อมั่นในความเพียรของตน

รู้จักการคิดอย่างมีเหตุผล

การวางแผนพัฒนาสุขภาพ เป็นสิ่งที่ดี อย่าลืมนำไปปฏิบัติกันนะ เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง