แนวทาง การปฏิบัติตน ตามกฎหมายการศึกษา

               

กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาในปัจจุบัน ได้แก่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีสาระสำคัญที่ควรรู้และทำความเข้าใจ ดังนี้

1. จุดมุ่งหมายและหลักการ
              เนื่องจากมนุษย์เป็นทรัพยากรที่สำคัญที่จะส่วนพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้น การศึกษาจึงมีส่วนสำคัญยิ่งที่จะช่วยให้คนในชาติมีความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาประเทศต่อไป รัฐจึงต้องลงทุนด้านการศึกษา เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติขึ้นมาทดแทนผู้ใหญ่ที่จะอ่อนกำลังลงในอนาคต ประเทศชาติจึงต้องทุ่มเทงบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อพัฒนาการศึกษา สำหรับการจัดการศึกษาของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยมุ่งเน้นให้คนในสังคมมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้คู่คุณธรรม และดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีของชาติ

2. หน้าที่ของรัฐในการจัดการศึกษา
             รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐจะต้องดำเนินการทางด้านการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน ดังนี้
     1) รัฐต้องจัดการศึกษาขึ้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยให้เด็กและเยาวชนในชาติมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
     2) รัฐต้องจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ สำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคมต้องจัดให้มีการสื่อสารและการเรียนรู้ สำหรับผู้ที่มีร่างกายพิการ ทุพพลภาพ บุคคลที่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ บุคคลที่ไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาส

3. สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
            บิดามารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี โดยให้เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานจนอายุสิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนให้ได้รับการศึกษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนให้ได้รับการศึกษาภาคบังคับตามความพร้อมของครอบครัว

4. รูปแบบการจัดการศึกษา
          1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาืที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการศึกษา การวัด และการประเมินผลอันเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน ได้แก่ การเรียนการสอนในโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยต่าง ๆทั้งของรัฐและเอกชน
          2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิีธีการจัดการศึกาา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและปรเมินผลซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมกับสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม เช่น การศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นต้น
          3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่เปิดโอกาศให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยอาศัยจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งเรียนรู้ เช่น การฝึกอบรมวิชาชีพของสถาบันแรงงานต่าง ๆ การอบรมวิชาชีพในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน การอบรมภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ตามสถาบันต่าง ๆ เป็นต้น

5. แนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            การจัดการศึกษาทุกรูปแบบจะเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ แบะพัฒนาตนเองได้ โดยยึดหลักผู้เรียนสำคัญที่สุด ด้วยเหตุนี้ กระบวนการจัดการเรียนรู้จึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก : ไพศาล ภู่ไพบูลย์ อังคณา ตติรัตน์ และปนัดดา มีสมบัติงาม. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 รายละเอียดคลิก

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 รายละเอียดคลิก

พรบ.การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 รายละเอียดคลิก

พรบ.ระเบียบบริหารราชการ พ.ศ.2546 รายละเอียดคลิก

พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 รายละเอียดคลิก

พรบ.ระเบียบข้าราชการ-บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 รายละเอียดคลิก

พรบ.เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 รายละเอียดคลิก

พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 รายละเอียดคลิก

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ณ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2560

2.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ.2553 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562

3.พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545

4.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

5.พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546

6.พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547

7.พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547

กลุ่มกฎหมายและคดี

1.พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551

2.พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553

3.พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562

4.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2550

5.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ.2549

6.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยอำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน พ.ศ.2549

7.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยอำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน พ.ศ.2561

8.กฎ ก.ค. ฉบับที่ 22 (พ.ศ.2542)ว่าด้วยการสั่งพักราชการ การให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามผลการสอบสวนพิจารณา

9.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจาณาอุทธรณ์ พ.ศ.2550

10.กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการร้องทุกข์และพิจารณาร้องทุกข์ พ.ศ.2551

11.ระเบียบก.ค.ศ.ว่าด้วยการรายงานเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยและออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2551.

12.ระเบียบ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการรายงานเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย และออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2561

13.ระเบียบ ก.ค.ศ.ว่าด้วยวิธีการออกคำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2548

14.ระเบียบ ก.ค.ศ.ว่าด้วยวันออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางศึกษา พ.ศ.2548

กลุ่มบริหารงานบุคคล

1.ระเบียบ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการส่งเสริม สนับสนุนให้ข้าราชการครูฯ ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงานฯ พ.ศ.2552
2.กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการครูฯ พ.ศ. 2550
3.หนังสือ ก.ค.ศ. แนวปฏิบัติในการขออนุมัติและแนวทางการพิจารณาอนุมัติให้ข้าราชการครูฯ ไปศึกษาฝึกอบรมฯ ถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการและมีสิทธิได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนในระหว่างลาฯ
4.หนังสือ ก.ค.ศ. การให้ข้าราชการครูฯ ไปศึกษา ฝึกอบรม ถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการและมีสิทธิได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนในระหว่างการลาไปศึกษา ฝึกอบรมฯ
5.หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัย ภายในประเทศ
6. หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตาม ว.21

7. หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตาม ว.17

  • 1 คู่มือการประเมินข้าราชการครูฯ เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สายงานบริหารการศึกษา
  • 2 คู่มือการประเมินข้าราชการครูฯ เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สายงานนิเทศการศึกษา
  • 3 คู่มือการประเมินข้าราชการครูฯ เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สายงานบริหารสถานศึกษา
  • 4 คู่มือการประเมินข้าราชการครูฯ เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สายงานการสอน
  • 5 คู่มือการประเมินข้าราชการครูฯ เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สายงานบริหารการศึกษา

8.หนังสือ ศธ 1305/ว467 ลว.11 มิ.ย. 2545 เรื่องเกณฑ์อัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา

9.หนังสือ ศธ 0206.3/ว24 ลว.14 ธ.ค. 2548 เรื่องการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

10.หนังสือ ศธ 0206.3/ว7 ลว.13 พ.ค. 2551 เรื่องการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

11.หนังสือ ศธ 04009/ว5733 ลว.27 ก.ย. 2553 เรื่องการกำหนดภาระงานสอนขั้นต่ำของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน

12.หนังสือ ศธ 0206.4/ว19 ลว.14 มิ.ย. 2555 เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการเกลี่ยอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

13.หนังสือ ศธ 04009/ว1916 ลว. 22 พ.ย. 2559 เรื่องการสำรวจข้อมูลครูตามมาตรฐานวิชาเอกที่กำหนดให้มีในสถานศึกษา เพื่อวางแผนอัตรากำลังครูในสถานศึกษา 10 ปี

กลุ่มอำนวยการ

1.พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

2.พระราชบัญญัติการการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558

3.พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546

4.ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

5.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2548

6.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552

7.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ.2523

8.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ.2547

9.หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561

10.มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2560

กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

1.พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551

2.พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551

3.พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546

หน่วยตรวจสอบภายใน

1.มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ

2.หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561

3.หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2562

4.หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561