โครงการ เครื่องให้อาหารปลา

แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เร่อื ง

เคร่ืองใหอ้ าหารปลาอตั โนมัติ
Automatic Fish Feeder

นายกติ ติภณ เคลงรัศมี
นายชนะศักดิ์ ทองดี

ประจาปีการศกึ ษา 2564
ปีพุทธศกั ราช 2563 - 2564

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชวี ศึกษาจงั หวดั ระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กระทรวงศกึ ษาธิการ

หวั ข้อวจิ ัย เครือ่ งใหอ้ าหารปลาอัตโนมตั ิ

ผูด้ าเนนิ การวจิ ัย นายกิตตภิ ณ เคลงรศั มี

นายชนะศกั ด์ิ ทองดี

ครูผสู้ อน นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกล้ยี งพรอ้ ม

ครูทีป่ รกึ ษา นายอทุ ยั ศรีษะนอก

หน่วยงาน วิทยาลยั เทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล

ปี พ.ศ. 2564

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อสร้างเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ 2) เพื่อศึกษา
ความพงึ พอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรปีท่ี 3 ห้อง ท่ีมีต่อเคร่ืองให้อาหารปาอตั โนมัติ 3)
เพ่ือเผยแพร่ผ่านโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ประชากร
และกลุ่มตัวอย่างเปน็ กลุ่มนักศึกษาสาขา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ ช้ันปีที่
3 ห้อง 1 ท่ีมีปญั หาในการให้อาหารปลา จานวน 20 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจัย คือ ชุดโครงสร้าง
เคร่ืองให้อาหารปลา Servo Mortor, Nodemcu 1.0, สาย Jump, Board Microcontroller ไดท้ ํา
การส่ังซื้อทางออนไลน์ทั้งหมด และแบบประเมินความพงึ พอใจของนักศึกษาชั้นระดับประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพชั้นปที ี่ 3 ห้อ1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ิทัลวิทยาลัยเทคนิคระยองท่ีมีตอ่ เครื่องให้อาหาร
ปลาผา่ นมอื ถือ ซึ่งได้จากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นระดัประกาศนียบตั รวิชาชีพ ชั้นปี
ท่ี 3 ห้อง 1สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลวิทยาลัยเทคนิคระยอง จานวน 20 คน สถิตทิ ่ีใช้ใน
งานวิจัยคา่ รอ้ ยละ,ค่าเฉลยี่ (Mean), คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการวิจัยมีดังนี้ จํานวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เพศหญิง คิดเปน็ ร้อยละ 55 ของจํานวนผู้ตอบ
แบบสอบถามท้ังหมด มากกว่า คิดเป็นร้อยละ 45 สรุปไดว้ ่าสรุปได้ว่าจํานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม
จําแนกตามอายุส่วนใหญ่ อายุ 17-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 80 ของจํานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
มากกวา่ อายุ 19-20 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 20 ความพงึ พอใจด้านโครงสร้างสรุปไดว้ ่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ด้านโครงสร้างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (̅=3.31, S.D.=1.05) ความพึงพอใจดา้ นการ

ใช้งาน สรุปได้วา่ ผูต้ อบแบบสอบถามดา้ นการใช้งานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (̅=3.53,
S.D.=0.87) ความพงึ พอใจดา้ นความคุ้มค่า สรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามด้านความคุ้มค่าส่วนใหญ่มี
ความคิดเหน็ อยใู่ นระดบั มาก (̅=3.78, S.D.=1.11)

กิตติกรรมประกาศ

โครงการกล่องดบั กลิน่ เท้าอเนกประสงค์ คณะผ้จู ดั ทาโครงการ ขอขอบพระคุณทา่ น
นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม ท่ีให้คาเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่างๆ มาโดย
ตลอด จนโครงงานเลม่ นี้เสร็จสมบรู ณ์ และขอขอบพระคณุ ทา่ นนายอุทยั ศรษี ะนอก ทีก่ รุณาให้ความ
เมตตารบั เป็นท่ปี รึกษาโครงการ ดแู ลให้คาแนะนา เสนอแนะแนวทาง ตรวจแกไ้ ขข้อบกพร่อง และให้
กาํ ลังใจแก่คณะผจู้ ดั ทาโครงการโดยตลอด อีกท้ังตอ้ งขอขอบพระคุณคุณพอ่ คุณแม่ ที่ให้คําปรกึ ษาท่ดี ี
ตลอดมา ทั้งนผี้ ู้จําทําขอขอบใจนักศกึ ษาสาขาเทคโนโลยีฑรุ กิจดิจทิ ัล ระดับประกาศนียบตั รวิชิชพี ชั้น
ปีที่ 3 ห้อง 1 จํานวน 20 คน ทหี่ ึความรว่ มมอื ในการทําแบบสอบถามนวตั กรรมเครอื่ งให้อาหารปลา
อตั โนมตั ิ จนทําให้สาํ เรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี

ผ้จู ดั ทาํ หวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่าโครงการเครอ่ื งให้อาหารปลาอัตโนมตั ิที่จัดทาขนึ้ นี้ จะเป็น
ประโยชน์แกผ่ ทู้ ี่สนใจที่จะนาํ ไปศกึ ษาตอ่ หรือเป็นแนวทางในการดาํ เนนิ ธุรกิจท่ีเกย่ี วขอ้ งให้บรรลผุ ล
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ต่อไป

คณะผู้วจิ ยั
2564

สารบัญ ค

บทคดั ย่อภาษาไทย หน้า
กติ ตกิ รรมประกาศ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ค
สารบญั ภาพ ง

บทที่ 1 บทนา
ความเปน็ มาและความสําคัญ 1
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1
ขอบเขตการวจิ ัย 1
ขอ้ จํากดั (ถ้าม)ี 1
สมมติฐานการวิจัย(ถา้ ม)ี 2
คําจํากดั ความทใี่ ช้ในงานวจิ ัย 2
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ 3

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 5
แนวคิดเกี่ยวกบั เคร่อื งให้อาหารปลา 6
แนวคดิ เก่ียวกับโปรแกรม Arduino 12
แนวคิดเกี่ยวกบั โปรแกรม Blynk 18
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั
19
บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวิจยั 19
บทที่ 4 การสร้างเครอ่ื งมือในการวจิ ัย 19
ประชากรและการสุ่มกลมุ่ ตวั อย่าง 21
การดาํ เนินการทดลอง 24
แผนผังงาน 25
วงจรการทํางาน 26
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวเิ คราะห์ข้อมูล 27
ผลการวิจัย 28
จํานวนผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามเพศ 29
จํานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจําแนกตามอาย(ุ ป)ี
ความพงึ พอใจด้านโครงสรา้ ง

สารบญั (ตอ่ ) ค

บทที่ 4 ผลการวิจยั หน้า
ความพึงพอใจด้านการใชง้ าน
ความพึงพอใจดา้ นความคมุ้ คา่ 30
31
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผลการวิจยั 32
อภิปรายผล 33
ขอ้ เสนอแนะทวั่ ไป 33
ขอ้ เสนอแนะในการทาํ วจิ ัยครง้ั ตอ่ ไป 33
34
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 36
53
ก ว-สอศ-2 57
ข แบบสอบถามความพึงพอใจ 58
ค QR Code Video ช้นิ งาน

ประวตั ผิ ู้วิจัย

สารบญั ตาราง ง

ตารางที่ หน้า

3.1 แสดงสัญลกั ษณ์ 24
4.1 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 27
4.2 แสดงจํานวนของผู้ตอบแบบสอบถามจาํ แนกตามอายุ(ป)ี 28
4.3 แสดงความพงึ ใจดา้ นโครงสรา้ ง 29
4.4 แสดงความพึงใจดา้ นการใช้งาน 30
4.5 แสดงความพงึ ใจด้านความคุม้ ค่า 31

สารบญั ภาพ

รูปที่ แสดง Arduino Uno R3 หน้า
2.1 แสดงส่วนประกอบของ Arduino Uno R3 6
2.2 แสดงส่วนประกอบของ Arduino MEGA 7
2.3 แสดง Arduino Fio 8
2.4 แสดงส่วนประกอบของ LilyPad Arduino 04 8
2.5 แสดงสว่ นประกอบของ Aruduino Nano 9
2.6 แสดงแอพพลิเคชั่น Blynk 9
2.9 แสดงแอพพลเิ คช่นั Blynk 12
2.10 แสดง Blynk server 13
2.11 แสดง Blynk library 13
2.12 แสดงกรอบแนวคดิ การวจิ ยั 14
2.13 แสดงผงั โครงงาน 18
3.1 แสดงวงจรการทาํ งาน 22
3.2 แสดงวงจรการทางาน 23
3.5 แผนภมู แิ สดงจาํ นวนของผตู้ อบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 24
4.1 แสดงแผนภมู ิแสดงจาํ นวนของผู้ตอบแบบสอบถามจาํ แนกตามอายุ (ปี) 27
4.2 แสดงแผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจด้านโครงสรา้ ง 28
4.3 แสดงแผนภูมแิ สดงความพึงพอใจด้านการใช้งาน 29
4.4 แสดงแผนภูมแิ สดงความพึงพอใจด้านความคุ้มค่า 30
4.5 แสดง QR Code Video ชน้ิ งาน 31
ค-1 57

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั

ปญั หาที่พบในปจั จุบนั สาํ หรับคนทไ่ี ม่มเี วลาให้อาหารปลาผูจ้ ัดทาํ เลยทําเครื่องให้อาหารปลา
นขี้ ้ึนมาเพราะเล็งเห็นว่าในปจั จบุ ันนั้นมีการใชช้ ีวติ ทเี่ ปล่ยี นไปจากเดิมมากและการเลย้ี งสัตวเ์ ป็น
ความชอบของใครหลายๆคนแต่จะมปี ัญหาเล็กนอ้ ยทมี่ าขดั ขวางการเลย้ี งเชน่ ไมม่ ีเวลาดแู ลให้
อาหารสตั วเ์ ลี้ยง กเ็ ลยจะเกดิ ปัญหาได้ สัตวไ์ มไ่ ดร้ บั อาหารอาจตายหรือเติบโตไม่เพยี งพอ อันน้ี
เปน็ ปญั หาอยา่ งหนักของคนเล้ียงปลา

จึงคิดค้นนวัตกรรม เครื่องให้อาหารปลาผ่านมือถือ เพ่ือมาตอบโจทย์ปัญหาท่ีเราได้ประสบ
พบเจอมาโดยนวัตกรรมน้ียังสอดคล้องหรือเข้ากับเทคโนโลยียุปัจจุบันซึ่งนวัตกรรมเคร่ืองให้
อาหารปลาผ่านมือถือน้ีสร้างมาสําหรับบุคคลที่ชอบในการเล้ียงสัตว์แต่เวลาดูแลเอาใจใส่น้อย
และปัญหาน้ีอาจทําให้ปลาตายและไม่เจริญเติบโต สภาพน้ําก็จะเน่าเสียหากปลาเน่าตาย

โดยหลักการของเครื่องให้อาหารปลาผ่านมือถือนั้นเราจะติดต้ังเครื่องให้อาหารปลานั้นไว้ติ
กับข้างบ่อเพ่ือการให้จะได้รวดเร็วเพียงแค่นําอาหารใส่ลงไปใน เคร่ืองแล้วกดปุมทํางานสามารถ
ให้อาหารเจ้าสัตว์เล้ียงหรือปลาของเราได้ ทําให้สัตว์เลี้ยงปลาของเราได้รับอาหารโดยไม่ต้อง
ทนหิวนานๆอีกต่อไป เรื่องของปุมการทํางานจะมีสองระบบ 1 จะเป็นแบบกดทีละคร้ัง 2 เป็น
แบบกดค้างไว้เพ่ือให้อาหารลงอย่างต่อเน่ือง เมื่อกดปุมจะรอเคร่ืองทํางานประมาณ 0.50 วินาที
แต่อย่าลืมนําอาหารปลาที่เตรียมไว้ใส่เข้าไปในเครื่องก่อนให้อาหารปลา และน่ีเป็นตัวช่วยใน
การแก้ไขปัญหาของผู้คนท่ีอยากเล้ียงสัตว์แล้วไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่สัตว์ถือว่าเป็นตัวช่วยได้
เยอะเลยทีเดยี ว

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั

1.2.1 เพอื่ สร้างเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ
1.2.2 เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รปที ี่ 3 ห้อง

ที่ได้ใช้เครือ่ งให้อาหารปลา
1.2.3 เพอื่ เผยแพร่ผ่านโครงการวิชาชีพชมรมวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทลั

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง

2

1.3 ขอบเขตการวจิ ยั

1.3.1 ขอบเขตด้านเนอ้ื หา
1.3.1.1 ศึกษาการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ เพอื่ นํามาประยกุ ค์ใช้กบั
เครื่องให้อาหารปลาผ่านมอื ถอื การทาํ งานแบบ กดปุมผ่านมือถอื เพอื่ ให้
เครอ่ื งทาํ งาน
1.3.1.2 ศึกษาเกย่ี วกับการทาํ งานขง NodeMUC 8266 เพื่อเชือ่ มกับการทาํ งาน
ของไมโครคอนโทรลเลอร์
1.3.1.3 ศึกษาเกย่ี วกบั แอป blynk เพ่ือมาประกอบใช้ใน NodeMUC 8266
ทาํ งานเขียนโคด้ ใส่ Arduino แลว้ ลงใน NudeMUC 8266

1.4 ขอ้ จากดั (ถา้ ม)ี
1.4.1 สามารถให้อาหารได้เพียง 1 สัปดาห์
1.4.2 ไม่ทนทานตอ่ ฝนฟาู

1.5 สมมตฐิ านการวิจยั (ถ้ามี)

1.5.1 ตัวแปรต้น คอื ปลา
1.5.2 ตวั แปรตาม คือ เครื่องให้อาหารปลาผ่านมือถอื
1.5.3 ตวั แปรควบคุม คือ วงจรควบคมุ โดย Application Blynk

1.6 คาจากัดความที่ใช้ในงานวิจยั

1.6.1 เครอ่ื ง หมายถึง สิ่งสําหรับประกอบกันหรอื เปน็ พวกเดียวกัน เชน่ เครื่องนอน
เครอื่ งปูลาดอาสนะ สิง่ ของสําหรบั ใช้การตา่ งๆเครอื่ งรถ เครอ่ื งเรอื น เครอื่ งไฟฟูา

1.6.2 ปลา หมายถึง ช่อื สัตวน์ ้ําเลอื ดเย็นมกี ระดูกสนั หลงั ร่างกายแบง่ เปน็ ส่วนหวั
ลาํ ตวั และหาง สว่ นใหญห่ ายใจทางเหงอื กยกเวน้ ปลาปอด มีครีบใช้ช่วยในการ
เคลื่อนไหว

1.6.3 มือถอื หมายถงึ มือถอื หรอื โทรศพั ท์เคล่อื นท่ี เป็นอปุ กรณส์ ื่อสาร
อเิ ลคทรอนิคส์ลักษณะเดียวกับโทรศพั ทบ์ ้านแตไ่ ม่ใชส้ ายโทรศพั ท์จึงทาํ ให้
สามารถพกพาไปที่ต่างๆได้

3

1.7 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ

1.7.1 ได้พฒั นาเครือ่ งให้อาหารปลาผา่ นมือถือ
1.7.2 ได้ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาสาขาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัลระดับประกาศนยี บตั ร

วิชาชีพ ชนั้ ปีที่ 3 หอ้ ง 1 ท่ีมปี ัญหาในการใหอ้ าหารปลา จํานวน 20 คน ทีมตี ่อโครงงาน
เครอื่ งใหอ้ าหารปลาผา่ นมอื ถอื อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด
1.7.3 ได้เผยแพร่ผา่ นโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรม วชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

ในการวจิ ัยเรอ่ื งสง่ิ ประดษิ ฐ์ดา้ น Mini Smart Farms เร่อื งเครอื่ งให้อาหารปลา
โดยใชว้ ิธที ดสอบกบั กลมุ่ นกั ศกึ ษาสาขาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ิทลั ระดับประกาศนียบตั ร
วชิ าชพี ชั้นสงู ชน้ั ปที ี่ 3 หอ้ ง 1วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยองผู้วจิ ัยได้ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานที่เกย่ี วขอ้ ง
เพ่อื เป็นพืน้ ฐานในการดาํ เนนิ การวจิ ัย ตามหวั ขอ้ ดังน้ี

2.1 แนวคิดเกย่ี วกับสิง่ ประดษิ ฐ์
2.1.1 ความหมายของส่ิงประดิษฐ์
2.1.2 ประเภทของส่งิ ประดษิ ฐ์

2.2 แนวคดิ เกีย่ วกับปลา
2.2.1 ความหมายของเครอ่ื งให้อาหารปลา
2.2.2 ประโยชนข์ องเครอ่ื งใหอ้ าหารปลา

2.3 แนวคดิ เกย่ี วกับโปรแกรม Arduino
2.3.1 ความหมายของโปรแกรม Arduino
2.3.2 สว่ นประกอบของโปรแกรม Arduino
2.3.3 ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino

2.4 แนวคิดเกยี่ วกับ Application Blynk
2.4.1 ความหมายของApplication Blynk
2.4.2 การใช้งานของ Application Blynk
2.4.3 ประโยชน์ของ Application Blynk

2.5 งานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง
2.6 กรอบแนวคิดในการวิจยั
รายละเอียดแตล่ ะหวั ข้อ ดังน้ี

2.1 แนวคิดเกีย่ วกับส่ิงประดษิ ฐ์
แนวคดิ เกย่ี วกับส่ิงประดิษฐน์ ี้ แบง่ ออกเปน็ 2 หวั ขอ้ ย่อย คอื ความหมายของสิ่งประดิษฐ์ และ

ประเภทของสิง่ ประดิษฐโ์ ดยแนวคดิ นี้จะทําใหไ้ ด้ความเข้าใจและรู้จกั กับเภทมากยงิ่ ข้ึนรายละเอียดมี
ดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1.1 งานท่ีเกดิ จากการใช้ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์สรา้ งหรอื ประดิษฐข์ น้ึ ตามวัตถุประสงคท์ ่ี
หลากหลาย หรอื เพ่ือความสวยงาม หรือประดับตกแตง่ หรือเพ่อื ประโยชน์ใช้สอย

5

2.1.2 ประเภทของส่ิงประดษิ ฐ์
โดยแบง่ ประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์ทง้ั หมด 9 ประเภท ดังน้ี
ประเภทที่ 1 สง่ิ ประดิษฐ์ดา้ นพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ประเภทที่ 2 สิ่งประดิษฐเ์ พื่อการประกอบอาชีพ
ประเภทท่ี 3 สิ่งประดิษฐ์เพอ่ื การอนรุ กั ษ์พลงั งาน
ประเภทที่ 4 สิ่งประดษิ ฐ์ดา้ นผลติ ภณั ฑอ์ าหาร
ประเภทท่ี 5 ส่ิงประดษิ ฐด์ า้ นหัตถศิลป์
ประเภทที่ 6 สงิ่ ประดษิ ฐด์ า้ นนวตั กรรมซอฟต์แวร์ และระบบสมองกลฝงั ตัว
ประเภทท่ี 7 สิ่งประดษิ ฐ์ด้านการแพทย์ (ดา้ นการปูองกันโรคติดต่อ)
ประเภทที่ 8 สง่ิ ประดษิ ฐ์ดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพ
ประเภทที่ 9 ส่งิ ประดิษฐด์ า้ นประเภทกาํ หนดโจทย์ (Mini Smart Farms)

2.2 แนวคิดเก่ียวกับเคร่อื งให้อาหารปลา
แนวคิดเกี่ยวกับเคร่ืองให้อาหารปลาน้ี สามารถแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ ความหมาย

ของเคร่ืองให้อาหารปลาและ ที่มาของเครื่องให้อาหารปลาซ่ึงทําให้เป็นแนวคิดที่จะพัฒนาเคร่ืองให้
อาหารปลาท่ีสามารถทาํ ให้ดขี นึ้ รายละเอยี ดมีดังต่อไปน้ี

2.2.1 ความหมายของเครื่องให้อาหารปลา
เครือ่ งใหอ้ าหารปลาท่จี ะอํานวยความสะดวกให้กับผู้เลี้ยงปลาทุกๆท่าน ให้มีเวลาดําเนิน

กิจกรรมในชีวติ ประจําวันตา่ งๆ โดยไม่ต้องคอยกังวลเก่ียวกับอาหารสัตว์เล้ียงของท่าน ผ่านการกดสั่ง
การให้อาหารบนแอพพลิเคชั่น Blynk ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพียงแต่กดปุมก้จะมีอาหารปล่อยลงไป
แล้วจะแสดงปรมิ าณอาหารที่เหลืออยู่ในแทงคอ์ ีกดว้ ย

2.2.2 ทม่ี าของเครือ่ งใหอ้ าหารปลา
การสร้างเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติมีประโยชน์ หลายๆ ด้านดังนี้ เป็นเคร่ืองมือช่วย

ประหยัดแรงงานคนในการให้อาหารปลา ลดปัญหาเรื่องแรงงาน เพราะควบคุมการจ่ายอาหารให้
พรอ้ ม ๆ กนั ทุกบอ่ เลีย้ งด้วย ทชี่ ว่ ยประหยัดเวลาในการให้อาหารปลา

6

2.3 แนวคิดเก่ียวกับโปรแกรม Arduino
แนวคดิ เก่ียวกบั โปรแกรม Arduino น้จี ะแบง่ ออกเปน็ 3 หวั ขอ้ ยอ่ ย คอื ความหมายของ

โปรแกรม Arduino ประเภทของโปรแกรม Arduino และ ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino ที่
จะเขา้ มาชว่ ยในการควบคุมของ Nodemcu esp8266 และเชอ่ื มไปยังตัวเซ็นเซอรจ์ ับวัตถุอีกด้วย
รายละเอยี ดมีดงั ตอ่ ไปน้ี

รูปที่ 2.1 แสดง Arduino Uno R3
2.3.1 ความหมายของโปรแกรม Arduino

Arduinoเป็นชุดอิเล็กทรอนิกส์หรือแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์โอเพ่นซอร์ส ซึ่งมี
สว่ นประกอบหลกั คอื ชปิ ไมโครคอนโทรลเลอรท์ ีม่ ีประเภทAVRจากบริษัท Atmelไมโครคอนโทรลเลอร์
เองน้ันเป็นชิปหรือ IC(วงจรรวม) ซึ่งสามารถตั้งโปรแกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์วัตถุประสงค์ของการฝัง
โปรแกรมในไมโครคอนโทรลเลอร์คือเพ่ือให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สามารถอ่านอินพุตประมวลผลอินพุต
และสร้างเอาต์พุตท่ีต้องการ ดังน้ันไมโครคอนโทรลเลอร์จึงทําหน้าท่ีเป็น 'สมอง' ซ่ึงควบคุมอินพุต
กระบวนการและเอาท์พทุ ของวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ไมโครคอนโทรลเลอร์อยู่บนอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่
รอบตัวเราตัวอย่างเช่นโทรศัพท์มือถือ เคร่ืองเล่น MP3, ดวี ีดี, โทรทัศน์, เครื่องปรับอากาศและอ่ืน ๆ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ยังใช้สําหรับควบคุมหุ่นยนต์ ท้ังหุ่นยนต์ของเล่นและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
เนื่องจากส่วนประกอบหลักของ Arduino เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino สามารถตัง้ โปรแกรม
โดยใชค้ อมพวิ เตอรต์ ามความต้องการของเรา

7

2.3.2 สว่ นประกอบของโปรแกรม Arduino
ขณะนี้มีบอรด์ Arduino หลากหลายรปู แบบทปี่ รับใหเ้ ข้ากบั การกาํ หนดเชน่ ตอ่ ไปนี้

2.3.2.1 ARDUINO UNO R3 เป็นบอร์ด Arduino ท่ไี ดร้ บั ความนยิ มสูงสดุ เนอื่ งจาก ราคาไม่
ถูก และมี Library ต่างๆ ท่ีพฒั นาขึ้นมา Support จะอา้ งอิงกบั บอรด์ นเ้ี ป็นหลกั และถา้ หาก MCU
เสยี ผใู้ ช้งานสามารถซื้อมาเปลีย่ นเองได้

รูปที่ 2.2 แสดงสว่ นประกอบของ Arduino Uno R3
หมายเลข 1 พอร์ต USB ใชส้ าหรบั ตอ่ กับ Computer เพอ่ื อับโหลดโปรแกรมเข้า MCU และ

จา่ ยไฟใหก้ บั บอร์ด 10. MCU ของ Atmega16U2 เป็น MCU ที่ทาหนา้ ท่เี ป็น USB
to Serial โดย Atmega328 ตดิ ตอ่ กับ Computer ผา่ น Atmega16U2
หมายเลข 2 ปุม Reset เป็นปุม Reset ใชก้ ดเมอ่ื ต้องการให้ MCU เรมิ่ การทางานใหม่
หมายเลข 3 พอร์ต ICSP ของ Atmega16U2 เป็นพอรต์ ท่ใี ชโ้ ปรแกรม Visual Com port บน
Atmega16U2
หมายเลข 4 พอรต์ I/O ต้ังแต่ขา D0 ถึง D13 นอกจากน้ี บาง Pin จะทาหนา้ ทอ่ี น่ื ๆ เพม่ิ เตมิ
ดว้ ย เชน่ Pin0,1 เปน็ ขา Tx,Rx Serial, Pin3,5,6,9,10 และ 11 เป็นขา PWM
หมายเลข 5 พอร์ต ICSP : Atmega328 เป็นพอรต์ ที่ใช้โปรแกรม Bootloader
หมายเลข 6 MCU Atmega328 เป็น MCU ที่ใช้บนบอร์ด Arduino
หมายเลข 7 พอร์ต I/O นอกจากจะเป็น Digital I/O แล้ว ยงั เปลี่ยนเป็น ช่องรับสัญญาณ
อนาล็อก ต้ังแตข่ า A0-A5
หมายเลข 8 พอรต์ Power ไฟเลี้ยงของบอร์ดเม่ือตอ้ งการจา่ ยไฟให้กบั วงจรภายนอก
ประกอบดว้ ยขา ไฟเล้ยี ง +3.3 V, +5V, GND, Vin
หมายเลข 9 ช่อง Power Jack 7-12 V รับไฟจาก Adapter โดยทแ่ี รงดันอยรู่ ะหว่าง 7-12 V
2.3.2.2 ARDUINO MEGA บอร์ด Arduino คลา้ ยกบั Arduino Uno ท่ีมสี เปคท่ีสงู กว่าพรอ้ ม
กับพนิ ดิจิตอลเพม่ิ เตมิ ขาอะนาลอ็ ก, พอรต์ อนกุ รมและอื่น ๆ

8

รูปที่ 2.3 แสดงสว่ นประกอบของ Arduino MEGA
2.3.2.3 ARDUINO FIO Fio เปน็ Arduino ทอ่ี อกแบบมาให้สามารถตอ่ แบตเตอรที่ เ่ี ปน็ แบบ
Litium-Polymer ไดท้ ันที่ อีกทัง้ บนบอรด์ ยงั มีวงจรสาํ หรับชารจ์ แบตเตอร่ีด้วยสาย USB บนตวั บอร์ด
อีกด้วย ทาํ ใหง้ ่ายต่อการใชง้ านนอกสถานที่

รูปที่ 2.4 แสดง Arduino Fio

9
2.3.2.4 ARDUINO LILYPAD คอื ชอ่ื เรยี กของบอร์ด Arduino ท่อี อกแบบมาสาํ หรับทาํ เป็น
เครื่องประกบั สรา้ งความสวยงาม มชี ่องให้เย็บตดิ กบั เสอ้ื ผ้า หรอื อปุ กรณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งสะดวก
ตัวอย่างการต่อ Arduino LilyPad กับเส้ือผา้

รูปที่ 2.5 แสดงส่วนประกอบของ LilyPad Arduino 04
2.3.2.5 ARDUINO PRO MINI 328 3.3V เปน็ บอรด์ Arduino ขนาดเลก็ ท่ใี ช้ MCU เบอร์
ATmega328 ซึง่ จะคล้ายกบั บอรด์ Arduino Mini 05 แต่บนบอรด์ จะมี Regulator 3.3 V ชดุ เดียว
เทา่ นั้น ระดบั แรงดันไฟที่ขา I/O คือ 3.3V

รูปที่ 2.6 แสดงส่วนประกอบของ Aruduino Nano

10

หมายเลข 1 microcontroller คือ อปุ กรณค์ วบคุมขนาดเลก็ ซง่ึ บรรจุความสามารถท่ี
คล้ายคลึงกบั ระบบคอมพวิ เตอร์

หมายเลข 2 Pin หมายถงึ หมายเลขรหสั pin ของขาสญั ญาณทที่ ําหน้าที่เปน็
Digital I/O Pin ซึ่งจะมที ัง้ หมดจาํ นวน 14 Pin คือ 0 ถึง 13 โดยต้องกําหนด
รปู แบบของตวั เลขใหเ้ ปน็ แบบจํานวนเต็ม ( int )

หมายเลข 3 GND เป็นจดุ ทไี่ ฟเปน็ 0V ไม่มแี รงดนั ไฟฟาู ไฟบวก VCC คอื แหลง่ จา่ ยไฟท่ีมี
แรงดันอ้างองิ กับกราวน์มากกว่า ไฟลบ คอื แหลง่ จ่ายไฟที่มีแรงดนั อา้ งอิงกบั กราวน์
น้อยกวา่ เวลาใช้งานมหี ลายครั้งทีจ่ ะเขียนว่า ข้วั ลบถา้ ไมไ่ ด้เขยี นวา่ ลบก่โี วลต์
อาจจะหมายถึง ไฟ 0V หรอื GND

หมายเลข 4 RST เปน็ คําย่อหรือตัวย่อทีก่ าํ หนดไวใ้ นภาษาที่เรียบง่าย หนา้ นแี้ สดงใหเ้ ห็นถงึ
วิธีการที่ RST ถกู ใช้ในฟอร่มั การส่งขอ้ ความและแชท, นอกเหนือไปจากซอฟต์แวร์
เครอื ข่ายสงั คมเช่น VK, Instagram, Whatsapp, และ Snapchat

หมายเลข 5 RTS แสดงสภาวะพอร์ตวา่ ต้องการส่งข้อมลู ,CTS ตรวจสอบว่าพอรต์ ที่ตดิ ตอ่ อยู่
ต้องการสง่ ข้อมูลหรือไม่ - เมอ่ื ต้องการสง่ ขอ้ มูลขา RTS จะ ON และจะส่งข้อมูล
ออกท่ีขา TXD เมอ่ื ส่งเสร็จก็จะ OFF

หมายเลข 6 Transmit Data (TxD)เป็นสัญญาณทสี่ ง่ ออกจาก DTE (หรอื โมโครคอมพิวเตอร)์
ไปยงั โมเด็มหรือตอ่ เขา้ โดยตรงกับไมโครคอมพวิ เตอร์ ขอ้ มลู แบบอนุกรมจะถูก
สง่ ออกจากคอมพวิ เตอร์ด้วยขาน้ี สถานะของขานี้จะมคี า่ เท่ากบั “1” หรอื
เทยี บเท่ากบั บติ หยดุ

หมายเลข 7 SMD ยอ่ มาจาก Surface Mount Device แปลตรงๆก็คอื อุปกรณ์ทย่ี ึดอย่บู นผวิ
ของ PCB พูดงา่ ยๆกค็ อื อุปกรณ์ทไี่ มต่ ้องเสยี บขาลงไปในรูแลว้ ค่อยบัดกรี (DIP)
บางคนอาจเคยเห็นตัวยอ่ SMT ย่อมาจาก Surface Mount Technology ซ่ึง
หมายถึงเทคนิคการยดึ อุปกรณ์บนผวิ

หมายเลข 8 Tx คือ ค่าที่ Transmit คือ Router ส่งขอ้ มลู ออกไป เชน่ กันถา้ หากมองในแง่ของ
Router คยุ กบั Client. กจ็ ะเปน็ ค่าที่ Router สง่ ข้อมูลใหเ้ คร่ือง Client. หมายถึง
คา่ Download ของ Client

หมายเลข 9 power หมายความว่า ใหก้ าํ ลงั หรือ ใหพ้ ลงั หรือ ขับเคล่ือนดว้ ยกาํ ลังหรอื พลงั
หมายเลข 10 pin 13 ถกู ใชโ้ ดยตัวโหลดoptiboot (อนั ที่ใช้กบั UNO ): ทเ่ี วลาบูต Arduino

(ไฟ LED กระพรบิ สองสามครงั้ ) เมอ่ื อพั โหลดภาพร่างไปยัง Arduino
หมายเลข 11 reset button ความหมายคือ เป็นปุมๆ หน่งึ ของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ใชส้ ําหรับเปิด

เครือ่ งคอมพิวเตอรใ์ หม่หลังจากทปี่ ิดไปแลว้
หมายเลข 12 VIN ยอ่ มาจาก Vehicle identification number หรือบา้ นเราเรียกกันงา่ ยๆ วา่

“วนิ นมั เบอร”์ คือชุดของตวั อักษรตัวเลข
หมายเลข 13 5V 2A หมายความว่า อแดปเตอรน์ ีจ้ ่ายไฟด้วยแรงดันไฟฟูา 5 โวลต์ (V) และ

กระแสไฟฟูา 2 แอมป์ (A)

11

หมายเลข 14 Analog input คือ การอ่านค่าของระดับแรงดนั ไฟฟูา (Volt) สว่ นมาก Analog
input จะนาํ ไปใชอ้ ่านคา่ แรงดันไฟฟูาจากอุปกรณ์ท่ีเปน็ ประเภท Analog sensor

หมายเลข 15 3.3V เปน็ แรงดนั คงท่ี จ่ายกระแสต่อเนื่องท่ี 2A กระแสสูงสดุ 3A
มวี งจรปอ้ งกนั ในกรณี INPUT สงู มากกวา่ ท่ีรับได้ ในนี้คือ 30V วงจรจะตดั ไฟ
อตั โนมัติ

หมายเลข 16 analog reference น่ีคอื ตวั แปลงสัญญาณอนาลอ็ กเป็นดจิ ิตอล (ADC) สามารถใช้
แทนการอ้างองิ 5V analogReference(EXTERNAL); analogRead

หมายเลข 17 Mini USB. เป็น USB ทยี่ อ่ ขนาดให้เล็กลง ซึ่งมักจะไดร้ ับความนยิ มมากในอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์สมัยกอ่ น ในปจั จบุ ันมักจะไม่ค่อยพบการใช้งานแลว้ โดยเลก็
กวา่ USB Type A เกือบครึ่งหน่งึ

2.3.3 ประโยชน์ของโปรแกรม Arduino
2.3.3.1 ไมจ่ ําเป็นตอ้ งมอี ปุ กรณ์ชิปโปรแกรมเมอรเ์ พราะมนั มี bootloader ทจ่ี ะจดั การกบั
การอปั โหลดโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์
2.3.3.2 มีอปุ กรณส์ ือ่ สาร USB อยู่แล้วดังนั้นผ้ใู ช้แล็ปท็อปท่ีไม่มพี อรต์ อนกุ รม / RS323
สามารถใช้งานได้
2.3.3.3 ภาษาการเขยี นโปรแกรมนนั้ ค่อนข้างง่ายเนอ่ื งจากซอฟตแ์ วร์ Arduino นน้ั
ประกอบไปดว้ ยห้องสมดุ ทีค่ ่อนข้างสมบูรณ์
2.3.3.4 มนั มีโมดลู พร้อมใช้ (โล)่ ทสี่ ามารถเสยี บเขา้ กับบอรด์ Arduino เช่นชลิ ด์ GPS,
อินเทอร์เน็ต , การด์ SD, เป็นต้น

12

2.4 แนวคดิ เก่ยี วกับโปรแกรม Blynk
แนวคิดเกยี่ วกบั Blynk สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 หวั ขอ้ ยอ่ ย คือ ความหมายของ Blynk การ

ใช้งาน Line Notify และ ประโยชนข์ อง Blynk โดยทีโ่ ปรแกรมน้ีจะใชเ้ ป็นสาํ หรบั การแจง้ เตือนไปยัง
โปรแกรม Blynk ท่ใี ชอ้ ยูใ่ นปจั จบุ นั ซง่ึ ทาํ ใหส้ ะดวกแกผ่ ูใ้ ช้งาน โดยมรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี

รูปที่ 2.9 แสดง

แอพพลเิ คช่ัน Blynk

2.4.1 ความหมายของ Application Blynk

Application สําเร็จรูปสําหรับงาน IOT มีความน่าสนใจคือการเขียนโปรแกรมที่ง่าย ไม่ตอ้ ง

เขียน App เองสามารถใช้งานได้อย่าง Real time สามารถเชื่อมต่อ Device ตา่ งๆเข้ากับ Internet

ได้อย่างง่ายดาย ไม่วา่ จะเป็น Arduino, Esp8266, Esp32, Nodemcu, Rasberry pi นํามาแสดงบน

Application ได้อยา่ งงา่ ยดาย

2.4.2 การใชง้ าน Application Blynk

2.4.2.1 ดาวนโ์ หลด App Blynk

2.4.2.2 เปิดแอพ Blynk และ สมัครใช้งาน

2.4.2.3 สรา้ งแอพพลเิ คชันระบกุ ารใช้งานแอพ (หลงั จากสรา้ งเสร็จ Application จะส่ง

Token ให้ผูใ้ ชง้ านทางอเี มลท่ไี ด้ลงทะเบียนไว้ จากนน้ั ต้องใช้ Token ดังกล่าว

รว่ มกับโปรเเกรมอุปกรณ์ IoT ถึงจะสามารถใช้งานได)้

2.4.2.4 เลือกใช้ Widget ตามต้องการ

2.4.2.5 ใช้งาน

13

2.4.3 ประโยชน์ของ Application Blynk
ถกู ออกแบบมาเพ่ือใช้ในการควบคุมอปุ กรณ์ Internet of Things ซ่งึ มคี ุณสมบัติในการ

ควบคมุ จากระยะไกลผ่านเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ และยงั สามารถแสดงผลค่าจากเซนเซอร์ตา่ งๆได้อีก
ด้วย

2.4.4 ส่วนประกอบของ Application Blynk
Blynk มี 3 สว่ นประกอบหลกั คอื
2.4.4.1 Blynk app เป็น application บนมอื ถอื มที ง้ั ระบบ Android และ ระบบ iOS ท่ี

ใช้ควบคมุ อุปกรณต์ า่ งๆ

รูปที่ 2.10 แสดงแอพพลิเคชั่น Blynk
2.4.4.2 Blynk server เปน็ แมข่ ่ายหรอื ตัวกลางในรปู cloud service สาํ หรบั ทาํ ให้
อุปกรณ์ IoT สื่อสารกันได้กบั smart phone

รูปที่ 2.11 แสดง Blynk server

14

2.4.4.3 Blynk library เปน็ ส่วนที่ช่วยเกอื้ หนนุ งานดา้ นเขียน code เพื่อรองรบั การ
สื่อสารหรอื ตดิ ตอ่ กันระหว่างอุปกรณ์ IoT กับ Blynk server และ App ดว้ ย

รูปที่ 2.12 แสดง Blynk libarry

15

2.5 งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง
งานวิจัยที่เก่ียวข้องนําเสนอเกี่ยวกับงานท่ีมีในส่วนต่างๆตามหัวข้อย่อยคือ งานวิจัยที่

เก่ยี วข้องเคร่ืองให้อาหารปลาอํานวยความสะดวก เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัตดิ ้วย KidBright เคร่ือง
ให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติเครื่องให้อาหารปลา
อัตโนมัติ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ รายละเอียดมีดงั ตอ่ ไปน้ี

ณชั ชา โพธบ์ิ รสิ ุทธ์ิ และคณะ (2562) เครื่องใหอ้ าหารปลาที่จะอาํ นวยความสะดวกให้กับผู้เลี้ยง
ปลาทกุ ๆท่าน ใหม้ ีเวลาดาํ เนินกิจกรรมในชีวิตประจําวนั ต่างๆ โดยไม่ตอ้ งคอยกงั วลเกยี่ วกับอาหารสัตว์
เล้ียงของท่าน ผ่านการกดส่ังการให้อาหารบนแอพพลิเคชั่น Blynk ได้ทุกเม่ือท่ีต้องการ เพียงแต่กด
ปุมก้จะมีอาหารปล่อยลงไป แล้วจะแสดงปริมาณอาหารที่เหลืออยู่ในแทงค์อีกด้วยอุปกรณ์ในการ
ทํางานในระบบน้ีไดแ้ ก่ Micro Servo Motor, Ultrasonic Sensor Module และเชื่อมต่อกับสายไฟ
เพ่ือรับข้อมูลโปรแกรมผ่านทาง Makerplayground Baseboard ท่ีทําการอปั โหลดโปรแกรม เขียน
ชุดคําส่ังควบคุมการทํางานด้วยโปรแกรม Makerplayground และ Blynk หลักการทํางานเคร่ืองให้
อาหารปลาอัตโนมัติ เร่ิมจากการใช้กระบอกพลาสติกมาเป็นวัสดุในการใส่อาหารปลา หลังจากนั้นนํา
กระบอกพลาสติกมาติดตั้งกับเซ็นเซอร์ Servo Motor เพอ่ื ใช้ในการหมุนเปิดปิดกระบอกพลาสติก
เคร่ืองให้อาหารปลา และติดต้ังเซนเซอร์ Ultrasonic เพื่อใช้วัดระยะทางของอาหารปลาท่ีหมดไป
โดยเม่ือ อาหารปลาลดต่ําลงมากกว่า 10 เซนติเมตรจะทําการแจ้งเตือนผ่านทางสมาร์ทโฟน และผู้ใช้
สามารถกดปุม Off เพ่ือส่ังงานให้ Servo Motor เปิดปิด และสามารถทราบระยะอาหารที่หมดไปบน
แอพพลิเคชั่น Blynk ผลการดาํ เนินงานพบว่า เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติสามารถลดขั้นตอนในการ
ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยให้ผู้เลี้ยงปลาสามารถรู้ปริมาณอาหารท่ีเหลืออยู่ในแทงค์ได้ซึ่ ง
สง่ ผลดีตอ่ ผเู้ ลย้ี งปลาทาํ ให้ลดกาํ ลังคนในการดูแลปลาอุปกรณ์

สหรัฐ โสภี และคณะ(2563) เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วย KidBright มีส่วนประกอบ
ทั้งหมด 2 ส่วนคอื ส่วนของ Softwareและส่วนของ Hardware ซ่ึงแบง่ การทํางานออกเป็น2ส่วนหลัก
คือ 1. ระบบการทํางานในส่วนของมอเตอร์ให้อาหารปลา 2.ระบบการตรวจสอบและแจ้งเตอื นระดับ
ความจุของอาหารปลา 1. ระบบการทํางานในส่วนของมอเตอร์ให้ ส่วนของ Hardware จะใช้
KidBright และชุดรีเลย์เป็นส่วนควบคุม การทํางานของ เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติโดยรับคําสั่งใน
การควบคุมการทํางานจากส่วน Software จะใช้ชุดคําส่ังจากโปรแกรมบอร์ด KidBright ในการเขียน
โปรแกรมควบคุมการทํางาน ของเครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติ หลักการทํางานโดยรวมของเครื่องให้
อาหารปลา อัตโนมัตคิ ือ เม่ือเปิดใชง้ านเคร่ืองช่วยให้อาหารปลาซึ่งการควบคุมการทํางานจะรับข้อมูล
จาก KidBrightเม่ือรบั ขอ้ มูลแลว้ ระบบจะสง่ คาํ ส่งขอ้ มลู ต่อไปยงั ชดุ รีเลยเ์ พือ่ ทาํ การส่งคําสั่งเปิดหรือ
ปดิ การทํางานของมอเตอร์เพ่ือทําการจ่ายอาหาร 2. ระบบการตรวจสอบและแจ้งเตอื นระดับความจุ
ของอาหารปลา โดยส่วนของ Hardwareจะประยกุ ตใ์ ชช้ ดุ เซนเซอร์การวดั ค่าแสงจากบอรด์

16

KidBrightเป็นส่วนในการวัดค่าแสงเพ่ือทําการแจ้งเตือนในกรณีที่ อาการในถังบรรจุหมด ให้
Softwareทําการออกคาํ สัง่ ไปท่ีบอร์ด ให้ทาํ การแจ้งเตอื นไปยังอปกรณ์สอ่ื สารพกพา

ซอง แซ่ฟูาและคณะ(2562) เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ มี
ส่วนประกอบทั้งหมด 2 ส่วนคือ ส่วนของSoftware และส่วนของ Hardware โดยส่วนของ
Hardwareจะใช้ KidBrightและชุดรีเลย์เป็นส่วนควบคุมการทํางานของ เครื่องให้อาหารปลาอตั โนมัติ
ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยรับคําส่ังในการควบคุมการทํางานจากส่วน Software จะใชช้ ุดคําส่ังจาก
โปรแกรมบอร์ด KidBrightในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานของ เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติ
ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ หลักการทํางานโดยรวมของเครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงาน
แสงอาทิตย์คือ เมื่อเปิดใช้งานตู้เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ซ่ึงการควบคุม
การทํางานจะรับข้อมลู จาก KidBright เมือ่ รบั ข้อมูลแลว้ ระบบจะส่งคําสงั่ ขอ้ มลู ต่อไปยังชดุ รีเลย์เพื่อทํา
การส่งคําสัง่ เปดิ หรือปิดการทํางานของมอเตอร์เพ่อื ทําการจา่ ยอาหาร

ธรี ะวฒุ ิ สตั นาโค ปยิ ะ โยวะ ยทุ ธนา สักวารี และ สุระชัย เทพคู่ (2546) ไดศ้ กึ ษา เคร่อื งให้
อาหารปลาอตั โนมัติ ซงึ่ เปน็ ผลงานการวิจยั เพอื่ เกษตรกรผูเ้ พาะเล้ียงปลาท่ีเลี้ยงไว้เพื่อบริโภค หรือ
เพอื่ คา้ ขาย ซึง่ เปน็ ส่งิ สําคญั ทจี่ ะผลิตปลาทม่ี ีคณุ ภาพใหพ้ อเหมาะสมกับความตอ้ งการของผู้บรโิ ภค
การทําเคร่อื งใหอ้ าหารปลานี้ เพ่ือให้นักศกึ ษาสามารถนําเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ และที่ยงั ไม่มนี าํ มาคิด
ประดษิ ฐ์ เพ่อื เพมิ่ พนู ความรูค้ วามสามารถ ในการทําเครอ่ื งให้อาหารปลา หรือทาํ เครอื่ งชนิดอื่นๆ ซ่งึ
การทาํ เครื่องให้อาหารปลาน้ี จะมคี วามคดิ การสรา้ งรูปแบบทีแ่ ตกตา่ งกนั แล้วแตแ่ นวคดิ สร้างสรรค์
ของแตล่ ะบคุ คล รวมถงึ วงจรการควบคุม สิง่ เหล่านที้ าํ ใหน้ กั ศกึ ษา หรือผู้ทส่ี นใจเก่ยี วกับเคร่ืองให้
อาหารปลา ได้รู้จกั กบั เทคโนโลยีใหมๆ่ รจู้ ักวธิ คี ิด รู้จักวิธแี ก้ปัญหา ซึง่ การทํางานทกุ อยา่ งยอ่ มจะมี
อปุ สรรคเสมอ การสร้างเครอ่ื งใหอ้ าหารปลากเ็ ชน่ เดียวกัน ย่อมจะมปี ญั หา ดังนนั้ การสรา้ งเครื่องให้
อาหารปลา กม็ กี ารแก้ปญั หาในส่วนของการทําเครอ่ื งใหอ้ าหารปลาอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเปน็ โครงสรา้ งท่ี
ตอ้ งสร้างใหไ้ ดข้ นาดพอดี และแขง็ แรงพอกบั การรองรับถงั บรรจอุ าหาร สว่ นของการหมุนของท่อพน่
อาหารจะมสี ว่ นประกอบที่สําคญั คอื ลูกปนื ทที่ าํ ให้ท่อพน่ อาหารสามารถหมนุ ได้ ตอ้ งเลือกขนาดของ
ลูกปนื ใหพ้ อดี กับรูทอ่ พ่นอาหาร มอเตอรซ์ ่ึงใช้ในการขับเคลอ่ื นให้ลกู ปนื หมุน ตอ้ งเป็นมอเตอรท์ ม่ี ี
ความแรง และหมนุ ไดต้ ามต้องการ ลูกหมากที่ติดกบั แขนของมอเตอร์ สามารถโยกได้ เพ่อื ลดปญั หา
ของทอ่ พ่นติดกับราวเหล็กดา้ นหนา้ และสง่ิ ทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ของชดุ หมนุ ท่อพ่นอาหาร คือ วงจรควบคุม
มอเตอร์ ท่ีควบคุมมอเตอรใ์ ห้หมนุ ไปกลบั จากซ้ายไปขวา ให้ไดอ้ งศาท่ตี ้ังไว้ ปญั หาที่พบในชุดหมนุ
ไปกลบั ของทอ่ พน่ น้จี ะเปน็ วงจรที่ยุ่งยาก ท่อพน่ อาหารตดิ กับสวติ ซแ์ ล้วไมห่ มนุ กลับ ทอ่ พน่ จึงติดอยู่
กบั สวิตชด์ ้านใดด้านหน่ึง เนื่องมาจากการตดิ ตัง้ สวติ ชไ์ มต่ รงจดุ รวมถงึ แรงของมอเตอร์ทหี่ มุนมาแตะ
สวิตช์มีความแรงนอ้ ย ทาํ ใหก้ ารควบคมุ น้นั ยาก ดังนน้ั เราจึงติดต้งั สวติ ชใ์ หต้ รงจุดของท่อที่จะแตะกนั
พอดี จากการทดลองกไ็ ดต้ ามตอ้ งการ แต่เม่ือทดสอบกบั เม็ดอาหารปลา ฝุนของหัวอาหารเขา้ ไป

17

ตดิ ในลูกปืน ทําใหท้ อ่ ไม่หมุน เราก็ได้ปิดช่องว่างตรงจดุ น้ีไว้ ส่วนของการเปาุ ลม ในส่วนน้ีเป็นการเปุา
ลมเพ่ือพ่นอาหารออกไป อุปกรณ์ชุดนี้คือ ไดโว ต้องเปุาเม็ดอาหารออกไปให้ได้ระยะตามที่ต้ังไว้ ซึ่ง
ระยะทางของเมด็ อาหารทพ่ี น่ ออกไปนัน้ จะขนึ้ อย่กู ับความแรงของไดโว ส่วนต่อไปเปน็ หวั ใจสําคญั ของ
โครงงานชิ้นนี้ คือ วงจรควบคุมและต้ังเวลา การให้อาหารปลาอัตโนมัติ สามารถต้ังเวลา เปิด-ปิดได้
สูงสุด 5 คร้ัง มี 7- Segment แสดงเวลาสากล โดยที่เวลาท่ีตงั้ ไว้สามารถต้งั เวลาในแต่ละครั้งกี่นาที
หรือกีช่ ่วั โมงกไ็ ดต้ ามตอ้ งการ ชุดสุดท้ายจะเป็นชุดสํารองไฟ AC 220 V ใช้ตอนไฟฟูาดับหรือไฟตก จะ
จา่ ยไฟให้กบั อุปกรณ์ทุกตวั ไมว่ ่าจะเป็นชุดควบคุมและต้งั เวลาไดไว หรอื มอเตอร์ก็ยังสามารถทํางานได้
ต่อไปและไฟสํารองต้องคํานึงถึงเวลาการจ่ายไฟว่าสํารองไฟได้นานเท่าใด เพียงพอกับอุปกรณ์อื่นๆ
ด้วย ทุกส่วนของการทําเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติต้ังแต่เริ่มต้น การทําโครงสร้างการทําส่วนการ
หมนุ ของทอ่ พ่นอาหารส่วนการตงั้ เวลาและสว่ นเปาุ ลมพน่ อาหาร

เมทาดาทา (2555)ได้ศึกษา เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติ โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนชลบุรีสุขบท อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พบว่า เคร่ืองให้อาหารปลา
อัตโนมัติ เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ประดิษฐ์เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติให้สามารถส่ังการทํางาน
ของเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติโดยโทรศัพท์มือถือได้ เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ สามารถทํางาน
ให้อาหารตามวันเวลา ที่ต้องการให้อาหารโดยการสั่งการด้วยโทรศัพท์มือถือ มีมอร์เตอร์เป็นตัว
ขับเคลื่อนและใช้เฟืองในการทดรอบ เพ่ือลดรอบความเร็วในการหมุนทําให้รอบการหมุนช้าลงและ
ในทางกลับกันการทดรอบเฟืองทําให้แรงขับเคลื่อนมากข้ึน จากน้ันจึงนําเคร่ืองให้อาหารปลาท่ี
ประดิษฐ์ข้ึนไปทดสอบประสิทธิภาพของความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาในการหมุนรอบของเฟืองกับ
ระยะเวลาในการให้อาหารผลการทดสอบ พบว่าปริมาณท่ีส่งออกมาจากเคร่ืองมีปริมาณเหมาะสมกับ
จํานวนปลา และสอดคล้องกับระยะเวลาในการหมุนรอบเฟือง และสามารถกําหนดสั่งการในการ
ทาํ งานตามตอ้ งการได้

18

2.6 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั ตวั แปรตาม
ตวั แปรต้น

การวจิ ัยเก่ียวกับเคร่อื งใหอ้ าหาร 1. ได้สรา้ งเครือ่ งใหอ้ าปลา
ปลาโดยใช้วงจร Arduino เช่อื ม 2. ไดศ้ ึกษาความพึงพอใจของ
ต่อไปยงั App Blynk เพอ่ื ใช้งาน นกั ศึกษาสาขาเทคโนโลยธี ุรกจิ
อยา่ งอตั โิ นมตั ิและช่วยในการให้ ดจิ ิทลั ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี
อาหารปลาของนักศกึ ษาสาขา ชัน้ สงู ชนั้ ปที ี่3 หอ้ ง 1ที่มีตอ่ เครือ่ ง
เทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัลระดับ ให้อาหารปลา จํานวน 20 คน
ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สงู ช้ันปที ี่ 3. ได้เผยแพรส่ ิง่ ประดิษฐ์ผา่ น
3 หอ้ ง 1 โครงการประกวดโครงการวิชาชีพ
ชมรมวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ัล

วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง

รปู ที่ 2.10 แสดงกรอบแนวคดิ การวจิ ัย

บทที่ 3
วธิ ีดาเนินการวจิ ยั

ในการวจิ ยั คร้งั นม้ี วี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ สรา้ งเครือ่ งให้อาหารปลาผา่ นมือถือและเพือ่ ศึกษาความพึง
พอใจของนกั เรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ ปที ่ี 3 หอ้ ง 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจติ อล ทมี่ ี
ต่อเครื่องให้อาหารปลาผ่านมอื ถือและเผยแพรผ่ า่ นการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวิชาเทคโนโลยี
ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั วทิ ยาลัยเทคนิคระยองซึง่ คณะผ้วู จิ ยั ได้ดาํ เนินการศึกษา ตามขน้ั ตอนดังนี้

3.1 การสร้างเครอ่ื งมือในการวิจัย

3.1.1 เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการสร้างเครอ่ื งใหอ้ าหารปลา จะมี ชุดโครงสรา้ งเคร่ืองใหอ้ าหารปลา
Servo Mortor, Nodemcu 1.0, สาย Jump, Board Microcontroller ไดท้ ําการ สั่งซอ้ื
ทางออนไลน์ทง้ั หมด

3.1.2 แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาช้นั ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 หอ้ 1
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัลวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยองท่ีมีต่อเครื่องใหอ้ าหารปลาผา่ นมือ
ถือ ซงึ่ ไดจ้ ากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชัน้ ระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
ช้ันปีที่ 3 ห้อง 1สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง จํานวน 20 คน

3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

นักศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันปีที่ 3 ห้อง 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ัล
วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง จาํ นวน 20 คน

3.3 การดาเนินการทดลอง

การดาํ เนนิ การทดลอง มีข้ันตอนดังนี้
3.3.1 ขั้นเตรียม

3.3.1.1 สบื ค้นขอ้ มลู เกี่ยวกับการทําโครงสร้างและวัสดุอุปกรณ์ทจ่ี ะใชใ้ นการทําโครงงาน
3.3.1.2 เตรยี มอปุ กรณ์ทีจ่ ะประกอบ ได้แก่ ชุดโครงสร้างเครอื่ งให้อาหารปลา

Servo Mortor, Nodemcu 1.0, สาย Jump, Board Microcontroller
3.3.2 ข้ันดําเนินการ

3.3.2.1 นําเอาสาย Jump มาเสยี บใส่ตวั ของ Board Microcontroller เข้าหา
Servo Mortor

3.3.2.2 ประกอบชุดโครงสรา้ งเขา้ ให้เข้ากัน
3.3.2.3 เขยี นโค้ดการทํางานใส่ Nodemcu 1.0

20

3.3.3 ขนั้ ทดลองและนําไปใช้
3.3.3.1 การทดลอง
1) นาํ เคร่อื งไปติดตงั้ ไว้ขอบบ่อปลาใส่อาหารปลาให้พร้อม
2) เสยี บปลั๊กเพื่อให้เครอ่ื งทาํ งานและเข้าแอพพลิเคช่นั Blynk เพ่ือกดปุมทาํ งาน
3) สังเกตวา่ เครอ่ื งให้อาหารปลาว่าใหน้ อ้ ยมากเท่าใด
3.3.3.2 การนําไปใช้
1) อธิบายข้ันตอนการทํางานของเครอื่ งใหอ่ าหารปลา
2) เมอ่ื นักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั ปีที่ 3 หอ้ ง 1 สาขาวิชา
เทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ลั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง นําไปใชแ้ ล้วพบปญั หาใด หรือไม่

3.3.4 ขน้ั ตอนการทาํ บรรจภุ ณั ฑ์ (กรณีเปน็ สิ่งประดิษฐ์ประเภทผลิตภณั ฑส์ าํ เร็จรูป)
เครอ่ื งใหอ้ าหารปลาผา่ นมือถือ

21

3.4 แผนผงั งาน

3.4.1 แผนผังงานโครงงาน

เรม่ิ ตน้

วิเคราะหป์ ัญหา/ประเมนิ ความตอ้ งการ
ของผู้ใช้

เตรยี มอปุ กรณ์สร้างช้นิ งานและเขยี นโปนแก

รม

วางแผนและออกแบบวิธกี ารแกไ้ ขปัญหา

ประกอบชิน้ งาน ไมผ่ ่าน
ไม่ผ่าน
และเขยี นโปรแกรม 2

ผา่ น

ทดลองการทาํ งาน

ผา่ น
1

1 22
2
ตรวจสอบโดย ไม่ผา่ น
อาจารย์ทปี่ รกึ ษา

ผา่ น
ใช้ช้ินงาน

ประเมนิ ความพงึ พอใจหลังการใชง้ าน
จดั ทาํ เอกสารรปู เล่ม

เข้ารูปเลม่ โครงการ

จบการทาํ งาน
รปู ที่ 3.1 แสดงผังโครงงาน

23

3.4.2 แผนผงั การเขยี นโปรแกรม

เรมิ่ ต้น

ประกาศตัวแปร
char auth,char ssid,char pass,int i,int pos

รบั ค่าINT I = 0 //OFF , เทจ็
POS = 1 //ON INT I OFF

จริง Start1Blynk

INT POS ON

จบการทาํ งาน
รปู ที่ 3.2 แสดงวงจรการทํางาน

24

3.5 วงจรการทางาน

รูปท่ี 3.5 แสดงวงจรการทําง

ตารางที่ 3.1 แสดงสญั ลกั ษณ์ ช่ือสญั ลักษณ์ ความหมาย
สญั ลักษณ์ Servo
ควบคมุ มอเตอรห์ รอื ระบบ
ขับเคลอ่ื นตา่ ง ๆ

Arduino shield iot เป็นตัวเชอ่ื ม nodecmu1.0

สายชารจ์ USB ใช้เพื่อเชอ่ื มโค้ดเข้ากบั บอร์ด
Nodemcu 1.0
เป็นตัวรับโค้ดมาลงในตัว
Jumper บอร์ดแลว้ ส่งไปยัง Servo

ใชเ้ สียบจาก servo เชอ่ื มเข้า
กับบอรด์ Arduino shield
iot

25

3.6 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.6.1 จดั ทาํ แบบสอบถามความพึงพอใจนกั เรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นปีที่ 3 หอ้ ง 1
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมตี ่อเครอ่ื งให้อาหารปลา
ผ่านมอื ถอื
3.6.2 อธบิ ายขั้นตอนการทาํ งานของเคร่อื งให้อาหารปลาอตั โนมัตแิ ละการทาํ แบบประเมนิ
ความพึงพอใจ
3.6.3 นาํ เครือ่ งใหอ้ าหารปลาอัตโนมัตไิ ปใชก้ ับกลุ่มตวั อยา่ งและทาํ การทดสอบเคร่อื งให้อาหาร
ปลาอตั โนมตั ิ
3.6.4 แจกแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ช้ันปที ี่ 3
หอ้ ง 1 สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ลั วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ทม่ี ีต่อเครอ่ื งให้อาหารปลา
อตั โนมตั ิและทําการประเมนิ หลงั การใช้งานเครอื่ งใหอ้ าหารปลาอัตโนมตั ิ ปลาอัตโนมัติ
3.6.5 เกบ็ รวบรวมแบบประเมินความพงึ พอใจมาเตรยี มทําขอ้ มลู เพือ่ วิเคราะหผ์ ล
3.6.6 นาํ ข้อมูลมาวเิ คราะหส์ รปุ อภปิ รายผล

3.7 สถติ ทิ ่ใี ชแ้ ละวธิ ีวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.7.1 สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.7.1.1 คา่ รอ้ ยละ
ร้อยละ = × 100

เมือ่ x แทน จาํ นวนท่ตี ้องการหารรอ้ ยละ
N แทน จํานวนข้อมลู ท้ังหมด

3.7.1.2 ค่าเฉลยี่ (Mean)

เมื่อ คอื ค่าเฉล่ีย
Σ คือ ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
คือ จํานวนทัง้ หมด

26

3.7.1.3 คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

เมอ่ื S.D แทน ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของกลุม่ ตัวอย่าง
Σ แทน ผลรวม
แทน จํานวนคนในกลุ่มตวั อยา่ ง
แทน คา่ เฉลย่ี ของกลมุ่ ตวั อย่าง
i แทน คะแนนแต่ละค่า

3.7.2 วธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวมจะดาํ เนินการแปลความหมายของค่าเฉลีย่ ในแตล่ ะด้าน

โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน แบง่ ออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้
4.50 – 5.00 หมายถึง ดมี าก
3.50 – 4.49 หมายถงึ ดี
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง นอ้ ย
1.00 – 1.49 หมายถึง ปรบั ปรุง

หมายเหตุ : ต้องมคี า่ เฉลยี่ ของขอ้ มลู 4.50 คะแนนขนึ้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์

บทท่ี 4

ผลการวิจัย

ผลจากการพัฒนาเครื่องให้อาหารปลาผา่ นมอื ถือ โดยมผี ้ตู อบแบบสอบถามท้งั หมด 20 คน
สรปุ ไดด้ ังนี้

ตารางท่ี 4.1 แสดงจาํ นวนของผูต้ อบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ

รายการประเมนิ จํานวน (คน) ร้อยละ (%)

1.ชาย 9 45

2.หญิง 11 55

รวม 20 100

จากตารางท่ี 4.1 สรุปได้ว่า จํานวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ พศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ
55 ของจาํ นวนผู้ตอบแบบสอบถามท้งั หมด มากกวา่ คดิ เปน็ ร้อยละ 45 ตามลําดบั

แผนภมู ิแสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ

100 จานวน (คน)
80 ร้อยละ (%)
60
40 หญงิ
20
0

ชาย

รูปที่ 4.1 แผนภูมแิ สดงจาํ นวนของผตู้ อบแบบสอบถามจาํ แนกตามเพศ

28

ตารางท่ี 4.2 แสดงจานวนของผูต้ อบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ (ปี)

รายการประเมิน จาํ นวน (คน) รอ้ ยละ (%)

1. 17-18 16 80

2. 19-20 4 20

รวม 20 100

จากตารางท่ี 2 สรปุ ได้ว่าสรุปไดว้ า่ จานวนของผตู้ อบแบบสอบถามจาํ แนกตามอายสุ ่วนใหญ่
อายุ 17-18 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 ของจานวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมดมากกวา่ อายุ 19-20 ปี คิด
เปน็ รอ้ ยละ 20 ของจาํ นวนผ้ตู อบแบบสอบถามท้ังหมด

แผนภูมแิ สดงจานวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจาแนกตามอายุ

100 จานวน (คน)
80 รอ้ ยละ (%)
60
40 19-20 ปี
20
0

17-18 ปี

รูปที่ 4.2 แผนภมู แิ สดงจาํ นวนของผตู้ อบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ (ปี)

29

ตารางที่ 4.3 แสดงความพึงพอใจดา้ นโครงสรา้ ง

รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
1.31 ปานกลาง
1.วัสดุอปุ กรณท์ ใี่ ช้สรา้ งเครอ่ื งใหอ้ าหารปลา 3.40
1.09 ปานกลาง
อตั โนมตั มิ คี วามแขง็ แรง .83 มาก
.95
2.ความแข็งแรงของเคร่อื งให้อาหารปลาอัตโนมัติ 3.15 1.05 ปานกลาง
ปานกลาง
3.ขนาดของเครื่องให้อาหารปลาอัตโนมตั ิ 3.50

4.ความทนทานของวัสดุที่ใช้ 3.20

รวม 3.31

จากตารางท่ี 4.3 สรุปไดว้ ่า ผู้ตอบแบบสอบถามด้านโครงสร้างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับมาก (̅=3.31, S.D.=1.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปไดว้ ่าขนาดของเคร่ืองให้อาหาร
ปลาอัตโนมตั (ิ ̅=3.5, S.D.=0.83)วัสดุอปุ กรณท์ ี่ใช้สร้างเครื่องใหอ้ าหารปลาอัตโนมัติ
(̅=3.4, S.D.=1.31) ตามลาํ ดบั

แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นโครงสร้าง

5
4.5

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0

̅ S.D.

รูปที่ 4.3 แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจด้านโครงสร้าง

30

ตารางท่ี 4.4 แสดงความพึงพอใจด้านการใชง้ าน ̅ S.D. แปลผล
รายการประเมิน 3.45 0.94 ปานกลาง

1.ความสะดวกในการใชง้ านของเครอ่ื งให้อาหาร 3.70 .66 มาก
ปลาอตั โนมตั ิ 3.45 1.00 ปานกลาง
2.ความปลอดภยั ของเคร่อื งใหอ้ าหารปลาอัตโนมัติ 3.53 .87
3.ง่ายต่อการใชง้ าน มาก

รวม

จากตารางท่ี 4.4 สรุปได้ว่า ผูต้ อบแบบสอบถามด้านการใชง้ านส่วนใหญม่ คี วามคดิ เหน็ อยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=3.53, S.D.=0.87) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ แลว้ สรุปได้ว่าความสะดวกในการใช้งาน
ของเครื่องให้อาหารปลาอตั โนมัติ(̅=3.7, S.D.=0.66) ความปลอดภยั ของเคร่อื งใหอ้ าหารปลา
อัตโนมัติ(̅=3.45, S.D.=0.94) ง่ายตอ่ การใชง้ าน(̅=3.45, S.D.=1.00) ตามลําดบั

แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจดา้ นการใชง้ าน

5
4.5

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0

̅ S.D.
รูปที่ 4.4 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านการใชง้ าน

31

ตารางท่ี 4.5 แสดงความพึงพอใจดา้ นความคุ้มค่า

รายการประเมิน ̅ S.D. แปลผล
1.00 มาก
1.ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการทาเครือ่ งให้อาหารปลา 3.95
1.14 มาก
อัตโนมัติ .99 ปานกลาง
1.11 มาก
2.เครื่องใหอ้ าหารปลาอตั โนมตั สิ ามารถใช้งานไดจ้ รงิ 4.15

3.ความคุ้มต่อราคาตน้ ทุน 1,500 บาท 3.15

รวม 3.78

จากตารางท่ี 4.5 สรุปได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถามด้านความคมุ้ คา่ สว่ นใหญม่ คี วามคดิ เห็นอยู่ใน
ระดับมาก (̅=3.78, S.D.=1.11) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ แลว้ สรปุ ไดว้ า่ เคร่อื งให้อาหารปลาอตั โนมตั ิ
สามารถใชง้ านไดจ้ รงิ ( =4.15, S.D.=1.14) ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการทาเคร่อื งให้อาหารปลาอัตโนมตั ิ
(̅=3.95, S.D.=1.00) ตามลําดับ

แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นความคุ้มคา่

5
4.5

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0

̅ S.D.
รูปที่ 4.5 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านความคุ้มคา่

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

ในการวจิ ัยคร้ังนี้ มีวตั ถุประสงค์ของการวิจัยดงั น้ี เพ่ือสร้างเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ เพ่ือ
ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ชน้ั ปที ่ี 3 ห้อง 1 ที่มีต่อ เคร่ืองให้
อาหารปลาอัตโนมัติ และ เพื่อเผยแพร่สิ่งประดิษฐ์ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชพี ชมรมวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดจิ ิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง โดยมีกลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการวจิ ัยคร้ังนี้ เป็นนักศึกษา
ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 หอ้ ง 1 จํานวน 20 คน เคร่อื งมอื ที่ใช้ ในการวิจยั ไดแ้ ก่ เครอ่ื ง
ใหอ้ าหารปลาอตั โนมัติ และ แบบสอบถามความพงึ พอใจนกั ศกึ ษา ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
ช้ันปีท่ี 3 ห้อง 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อเคร่ืองให้อาหารปลา
อัตโนมตั ิ ผลการวิจยั มีดงั น้ี

5.1 สรปุ ผลการวิจัย
5.1.1 จาํ นวนของผตู้ อบแบบสอบถามจาํ แนกตามเพศ สรุปไดว้ ่า จํานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม

จําแนกตามเพศส่วนใหญ่เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 55 ของจํานวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด
มากกว่าเพศชาย คดิ เป็นรอ้ ยละ 45 ของจาํ นวนผ้ตู อบแบบสอบถามทัง้ หมด

5.1.2 จํานวนของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ (ปี) สรุปได้ว่า จํานวนของผู้ตอบแบบ
สอบถามจําแนกตามอายุส่วนใหญ่อายุ 17-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 80 ของจํานวน ผู้ตอบแบบสอบถาม
ท้งั หมด มากกวา่ อายุ 19-20 ปี คิดเป็นร้อยละ 20 ของจาํ นวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

5.1.3 ความพึงพอใจดา้ นโครงสร้าง สรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นโครงสร้างส่วนใหญ่มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (̅=3.31, S.D.=1.05) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปไดว้ ่าขนาดของ
เคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ(̅=3.5, S.D.=0.83)วัสดุอุปกรณ์ท่ีใชส้ ร้างเคร่ืองให้อาหารปลาอัตโนมัติ
(̅=3.4, S.D.=1.31) ความทนทานของวัสดุที่ใช้(̅=3.2, S.D.=0.95)ความแข็งแรงของเครื่องให้
อาหารปลาอตั โนมตั (ิ ̅=3.15, S.D.=1.09) ตามลําดบั

5.1.4 ความพึงพอใจด้านการใช้งาน สรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามด้านการใช้งานส่วนใหญ่มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (̅=3.53, S.D.=0.87) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่าความ
สะดวกในการใช้งานของเครือ่ งใหอ้ าหารปลาอตั โนมตั ิ (̅=3.7, S.D.=0.66) ความปลอดภยั ของเคร่ือง
ให้อาหารปลาอัตโนมัติ (̅=3.45, S.D.=0.94) งา่ ยตอ่ การใชง้ าน (̅=3.45, S.D.=1.00) ตามลําดับ

5.1.5 ความพงึ พอใจด้านความคุ้มค่า สรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นความคุ้มค่าส่วนใหญ่มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (̅=3.78, S.D.=1.11) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อแล้วสรุปได้ว่าเครื่องให้
อาหารปลาอัตโนมัติสามารถใช้งานได้จริง(̅=4.15, S.D.=1.14) ระยะเวลาที่ใช้ในการทาเคร่ืองให้
อาหารปลาอัตโนมัติ(̅=3.95, S.D.=1.00)ความคุ้มตอ่ ราคาต้นทุน 1,500 บาท(̅=3.15,S.D.=0.99)
ตามลําดบั

33

5.2 อภิปรายผล
การดําเนินงานวิจัยโครงการ กล่องดับกล่ินเท้าอเนกประสงค์ ในคร้ังน้ี มีวตั ถุประสงค์ เพ่ือ

เคร่อื งให้อาหารปลาอัตโนมัติ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ที่มี
ตอ่ เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติ และ เพ่ือเผยแพร่สิ่งประดิษฐ์ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ
ชมรมวิชา เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยองโดยมีกลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการวจิ ัยคร้ังนี้เป็น
นักศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั ปีท่ี 3 ห้อง 1 จํานวน 20 คน สรุปได้วา่ ความพงึ พอใจด้าน
โครงสร้างส่วนใหญ่มีความคิดเห็น อยู่ในระดับ ปานกลาง (̅=3.31, S.D.=1.05) ความพงึ พอใจด้าน
การใชง้ านส่วนใหญ่มีความคิดเห็น อยู่ในระดับ มาก ( ̅=3.53, S.D.=0.87) และ ความพึงพอใจดา้ น
ความคุ้มค่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็น อยู่ในระดับ มาก (̅=3.78, S.D.=1.11) จึงจะเห็นได้ว่าผลรวม
ความพึงพอใจทง้ั หมดของเครอ่ื งใหอ้ าหารปลาอตั โนมตั อิ ยใู่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับมาก
ซง่ึ อย่ใู นเกณฑท์ ผี่ ้จู ดั ทําต้ังเปาู หมายไว้

5.3 ข้อเสนอแนะในการวจิ ัย
5.3.1. ขอ้ เสนอแนะท่วั ไป
การวจิ ยั โครงการ เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติในครั้งน้ี เป็นสิ่งประดิษฐ์ดา้ นMini Smart

Farm สามารถนําไปพัฒนาต่อยอดระบบการทํางานให้ดีย่ิงขึ้นตามวัตถุประสงค์ของผู้ท่ีสนใจ เพื่อ
ประสิทธิภาพการทาํ งานของงานวจิ ยั

5.3.2 ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยคร้ังต่อไป
5.3.2.1 ควรจะทําให้เครือ่ งให้อาหารปลาอตั โนมตั ิ ให้แข็งแรงยิง่ ข้ึน
5.3.2.2 ควรจะทาํ ใหเ้ ครอ่ื งให้อาหารปลาอตั โนมัติ เป็นแบบตั้งเวลาใหอ้ าหาร

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม

สุรีย์พร ฉาํ่ กลิ่น (พ.ศ. 2560) ความหมายของส่ิงประดษิ ฐ์ เขา้ ถงึ เม่ือ 8 สิงหาคม 2564. เข้าได้จาก :
https://sites.google.com/site/sfddfb8989090/khwam-hmay-khxng-singpradisth

วทิ ยาลัยเทคนคิ ยะลา (พ.ศ.2561) ประเภทของสงิ่ ประดิษฐ์ เข้าถึงเมอ่ื 8 สงิ หาคม 2564. เข้าไดจ้ าก :
https://www.ytc.ac.th/ytc2014/index.php?option=com

Natnicha Kosinanon (พ.ศ.2561) ความหมายของเครอื่ งใหอ้ าหารปลา เข้าถึงเม่ือ 8 สงิ หาคม
2564เข้าไดจ้ าก https://medium.com/natnicha-ksn

ภมู ิรพี ชเู กดิ (พ.ศ.2560) ทมี่ าของเครื่องให้อาหารปลา เข้าถึงเมอื่ 8 สงิ หาคม 2564
เขา้ ไดจ้ าก https://poomraz420771023.wordpress.com/2018/02/22/

Glenn Bouchard (พ.ศ. 2562) ความหมายของโปรแกรม Arduino เขา้ ถึงเม่ือ 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://glennbouchard.com/th/60-pengertian-dan-kelebihan-arduino.html

Glenn Bouchard (พ.ศ. 2562) ประเภทของโปรแกรม Arduino เขา้ ถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://glennbouchard.com/th/59-jenis-jenis-arduino.html

Glenn Bouchard (พ.ศ. 2562) ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino เขา้ ถงึ เมอ่ื 8 สิงหาคม 2564.
เข้าได้จาก : https://glennbouchard.com/th/60-pengertian-dan-kelebihan-arduino.html

AB-Maker Sensor Module Shield (พ.ศ.2560) ความหมายของ Application Blynk เขา้ ถึงเมอ่ื
8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก https://www.ab.in.th/article/68/app

SUPPORT THAIEASYELEC (พ.ศ.2561) การใช้งาน Application Blynk เขา้ ถงึ เม่ือ 8 สงิ หาคม
2564.
เข้าไดจ้ าก https://blog.thaieasyelec.com/getting-started-iot-with-blynk/

IOT Man (พ.ศ.2561) ประโยชน์ของ Blynk เข้าถงึ เมอ่ื 8 สงิ หาคม 2564.
เข้าได้จาก https://iot.jpnet.co.th/blynk/

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบเสนอโครงการวจิ ยั

แบบเสนอโครงการวจิ ยั ส่ิงประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่
(ว-สอศ-2)

ประจาปีการศึกษา 2564
ปีพทุ ธศกั ราช 2563 - 2564

ผลงานสง่ิ ประดษิ ฐป์ ระเภทท่ี 9
ส่ิงประดิษฐ์ด้าน Mini Smart Farms

เครื่องใหอ้ าหารปลา

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
อาชวี ศึกษาจังหวัดระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

กระทรวงศกึ ษาธิการ

2

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา แบบ ว-สอศ-2

(สาหรับนกั เรียน นักศึกษา)

แบบเสนอโครงการวิจยั สง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหม่ “สดุ ยอดนวัตกรรมอาชวี ศกึ ษา”
การประกวดส่ิงประดิษฐข์ องคนร่นุ ใหม่ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564

ปีพุทธศกั ราช 2563 - 2564

......................................................................

ชอื่ ผลงานวจิ ยั (ภาษาไทย) เครือ่ งใหอ้ าหารปลาผ่านมอื ถือ
(ภาษาองั กฤษ) Fish Feeder

ช่ือสถานศึกษา วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง อาชีวศกึ ษา จงั หวดั ระยอง
ที่อยู่ 086/13 ถนน ตากสนิ มหาราช ตาบล ทา่ ประดู่ อาเภอ เมืองระยอง จังหวดั ระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ 038-611192 E-mail [email protected]

ส่วน ก : ลกั ษณะงานวิจยั

 งานวิจยั ใหม่  งานวจิ ัยต่อเนอื่ งระยะเวลา..........…..ปี

ความสอดคล้องระดับชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบับท่ี 12
ยุทธศาสตร์ สรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยัง่ ยนื
2. นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวิจัยของชาตฉิ บับท่ี 9
ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมกลไกและกจิ กรรมการนํากระบวนการวิจัยผลงานวจิ ยั
องค์ความรู้ นวตั กรรม และเทคโนโลยีจากงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ
โดยความร่วมมอื ของภาคส่วนตา่ ง ๆ
3. ยุทธศาสตรก์ ารวิจัยของชาตริ ายประเด็น
ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาเทคโนโลยี
4. ยุทธศาสตรป์ ระเทศ
ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
5. นโยบายรฐั บาล/เปา้ หมายของรฐั บาล
นโยบาย/เปูาหมาย การพัฒนาและส่งเสรมิ การใช้ประโยชนจ์ ากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม

3

ความสอดคลอ้ งระดับกระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นโยบาย การศกึ ษาเพอื่ อาชพี และสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของ
ประเทศ
2. ยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ
ยุทธศาสตร์ ผลิตและพัฒนากาํ ลังคน รวมทง้ั งานวจิ ยั ทส่ี อดคล้องกับความ
ต้องการของประเทศ
3. ยุทธศาสตร์สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

ความสอดคลอ้ งระดับสว่ นภมู ภิ าค
1. ยทุ ธศาสตรก์ ลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออก
ยทุ ธศาสตร์ ส่งเสรมิ และพัฒนาอตุ สาหกรรมให้เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
จงั หวัดระยอง
2. ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาความเปน็ เลิศดา้ นการศกึ ษา ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม
ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ และการกฬี า
3. พนั ธก์ ิจหรือนโยบายของสถานศกึ ษา/สถาบนั การอาชีวศึกษา
พนั ธก์ ิจหรอื นโยบาย มีการวิจัยและพฒั นาเพือ่ ส่งผลไปสู่ความเข้มแขง็ ของ
สถาบันและชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกบั ภมู ิปัญญาของทอ้ งถน่ิ

โครงการวจิ ัยนี้ สามารถนาไปเผยแพรแ่ ละขยายผลไปสู่การใช้ประโยชนไ์ ด้
 เชงิ นโยบาย (ระบ)ุ ......................................................................
 เชงิ พาณิชย์ (ระบ)ุ ......................................................................
 เชิงวชิ าการ(ระบ)ุ .........................................................................
 เชงิ พ้ืนท่ี (ระบ)ุ ........................................................................
 เชิงสาธารณะ/สงั คม (ระบ)ุ สามารถให้สมาชกิ ในชุมชนนาํ ไปใช้
งานได้เพอื่ ความสะดวกสบาย
 อื่นๆ (ระบ)ุ ..................................................................................

4

ภาพแบบรา่ ง/หรอื ภาพผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์

สว่ น ข : องค์ประกอบในการจัดทาโครงการวิจยั
1. ผู้รบั ผิดชอบประกอบด้วย
1.1 หวั หน้าทีมโครงการวจิ ยั
นาย ชนะศกั ดิ์ นามสกุล ทองดี
ตําแหนง่ หวั หนา้ ทีมโครงการวจิ ยั
ท่อี ยู่ 17/7 ถนนหนองบวั ตาํ บลเชนิ เนนิ อาํ เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ 083-061-6285 E-mail [email protected]
1.2 นกั วิจยั รุ่นใหม/่ คณะผรู้ ว่ มวจิ ัย
ช่ือ นาย ชอ่ื นาย กิตติภณ นามสกลุ เคลงรัศมี
ตาํ แหน่ง ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ ทมี โครงการ
ระดับช้นั ปวส.2/2 สาขาวชิ า เทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ทิ ลั
1.3 คณะผรู้ ว่ มวจิ ัย/ทป่ี รึกษาโครงการวิจยั
ชอ่ื นายอุทัย นามสกลุ ศรีษะนอก
ตําแหน่ง หวั หน้าสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัล
แผนกวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทลั สาขาวิชาท่ีเช่ียวชาญหนว่ ยงานหลกั
1.4 ชื่อ นางสาว อัจฉราภรณ์ เกล้ยี งพรอ้ ม
ตําแหน่ง ครอู ัตราจา้ ง
แผนกวิชา เทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั

7

2. ประเภทการวจิ ยั
 การวจิ ัยและพัฒนา (research and development)

3. สาขาวชิ าการ/ประเภทสิง่ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่
 สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมที่ทําการวิจยั ประเภทที่ 1
สิ่งประดิษฐ์ด้านพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
 สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมที่ทําการวิจยั ประเภทท่ี 2
สิ่งประดษิ ฐ์ดา้ นการประกอบอาชีพ
 สิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมท่ีทาํ การวจิ ัย ประเภทท่ี 3
สิง่ ประดิษฐ์ดา้ นเพอ่ื การอนุรักษพ์ ลงั งาน
 สิ่งประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทที่ าํ การวจิ ยั ประเภทที่ 6
สง่ิ ประดิษฐ์ดา้ นนวัตกรรมซอฟตแ์ วร์และระบบสมองกลฝงั ตัว
 สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมทท่ี ําการวิจัย ประเภทท่ี 9
สิ่งประดษิ ฐ์ประเภทกาํ หนดโจทย์ : Mini Smart Farms

4.คาํ สําคญั (keywords) ของการวจิ ัย
4.1 เครื่อง หมายถงึ สิง่ สําหรบั ประกอบกันหรอื เป็นพวกเดยี วกนั เชน่ เคร่ืองนอน
เครอื่ งปลู าดอาสนะ ส่ิงของสําหรับใช้การตา่ งๆเครอื่ งรถ เครือ่ งเรือน
เครือ่ งไฟฟาู
4.2 ปลา หมายถงึ ชอื่ สตั ว์นา้ํ เลอื ดเยน็ มีกระดูกสนั หลงั รา่ งกายแบง่ เปน็ ส่วนหวั
ลาํ ตัว และหาง ส่วนใหญ่หายใจทางเหงอื กยกเวน้ ปลาปอด มคี รีบใช้ชว่ ยในการ
เคลื่อนไหว
4.3 มอื ถือ หมายถงึ มอื ถือ หรอื โทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ี เปน็ อปุ กรณส์ ื่อสาร
อเิ ลคทรอนิคสล์ กั ษณะเดยี วกับโทรศพั ท์บ้านแตไ่ มใ่ ชส้ ายโทรศัพท์จงึ ทาํ ให้
สามารถพกพาไปท่ีตา่ งๆได้

5. ความสาํ คญั และท่ีมาของปญั หาท่ที ําการวจิ ัย
ปัญหาที่พบในปัจจุบันสําหรับคนท่ีไม่มีเวลาให้อาหารปลาผู้จัดทําเลยทํา

เครื่องให้อาหารปลาน้ีขึ้นมาเพราะเล็งเห็นว่าในปัจจุบันนั้นมีการใช้ชีวิตที่เปล่ียนไป
จากเดิมมากและการเล้ียงสัตว์ก็เป็นความชอบของใครหลายๆคนแต่จะมีปัญหา
เล็กน้อยท่ีมาขัดขวางการเลี้ยง เช่น ไม่มีเวลาดูแล ให้อาหารสัตว์เลี้ยง ก็เลยจะเกิด
ปัญหาได้ สัตว์ไม่ได้รับอาหารอาจตายหรือเติบโตไม่เพียงพอ อันน้ีเป็นปัญหาอย่าง
หนักของคนเลี้ยงปลา

จงึ คดิ คน้ นวตั กรรม เคร่อื งใหอ้ าหารปลาผ่านมอื ถือ เพอ่ื มาตอบโจทย์ปญั หาท่ี
เราได้ประสบพบเจอมาโดยนวตั กรรมนย้ี ังสอดคล้องหรือเขา้ กบั เทคโนโลยยี ุปัจจบุ ัน
ซ่ึงนวตั กรรมเคร่อื งให้อาหารปลาผ่านมือถือนีส้ ร้างมาสําหรับบุคคลที่ชอบในการเล้ียง
สัตว์ แต่เวลาดูแลเอาใจใส่น้อยและปัญหานี้อาจทําให้ปลาตายและไม่เจริญเติบโต
สภาพนาํ้ ก็จะเน่าเสยี หากปลาเนา่ ตาย

7

โดยหลักการของเคร่ืองให้อาหารปลาผ่านมือถือนั้นเราจะติดตั้งเครื่อ งให้
อาหารปลาน้ันไว้ติดกับข้างบ่อ เพ่ือการให้จะได้รวดเร็วเพียงแค่นําอาหารใส่ลงไปใน
เคร่ืองแล้วกดปุมทํางานก็สามารถให้อาหารเจ้าสัตว์เลี้ยงหรือปลาของเราได้ ทําให้
สัตว์เล้ียงหรือปลาของเราได้รับอาหารโดยไม่ต้องทนหิวนานๆอีกต่อไป เรื่องของปุม
การทํางานจะมีสองระบบ 1 จะเป็นแบบกดทีละคร้ัง 2 เป็นแบบกดค้างไว้เพื่อให้
อาหารลงอย่างต่อเนื่อง เมื่อกดปุมจะรอเครื่องทํางานประมาณ 0.50 วินาที แต่อย่า
ลมื นาํ อาหารปลาท่ีเตรียมไว้ใส่เขา้ ไปในเครอื่ งกอ่ นให้อาหารปลา และน่ีเป็นตวั ชว่ ยใน
การแก้ไขปญั หาของผู้คนท่ีอยากเล้ยี งสัตวแ์ ล้วไม่มีเวลาดแู ลเอาใจใส่สัตว์ถือว่าเป็นตวั
ช่วยไดเ้ ยอะเลยท่เี ดียว

6. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
6.1 เพ่ือสรา้ งเคร่อื งใหอ้ าหารปลาอัตโนมตั ิ
6.2 เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรปีที่ 3 ห้อง 1
ท่ีไดใ้ ชเ้ ครอื่ งให้อาหารปลา
6.3 เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการวชิ าชีพชมรมวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ลั
วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง

7. ขอบเขตของการวิจยั
7.1 ขอบเขตด้านเนอื้ หา
7.1.1 ศึกษาการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อนํามาประยุกค์ใช้กับ
เครื่องให้อาหารปลาผ่านมือถือการทํางานแบบ กดปุมผ่านมือถือเพื่อให้
เครื่องทาํ งาน
7.1.2 ศึกษาเกี่ยวกับการทํางานขง NodeMUC 8266 เพ่ือเชื่อมกับการทํางาน
ของไมโครคอนโทรลเลอร์
7.1.3 ศกึ ษาเกย่ี วกับแอป blynk เพ่ือมาประกอบใช้ใน NodeMUC 8266
ทาํ งานเขียนโค้ดใส่ Arduino แลว้ ลงใน NudeMUC 8266
7.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
นกั เรยี นนกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยองระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ่ี 3
ห้อง 1 ทมี่ บี อ่ ปลา เพอื่ ได้ศกึ ษาความพึงพอใจของผเู้ ลยี้ งปลา ท่มี ตี อ่ เคร่อื งให้
อาหารปลาผ่านมือถือ จํานวน 20 คน
7.3 ขอบเขตดา้ นเวลา
เดือนมถิ ุนายน 2564 – เดอื นกันยายน 2564