ตัวอย่าง วิสัย ทัศน์ นักบริหารงานทั่วไป

Download ต วอย างการจ ดทำว ส ยท ศน น กบร หารงานเทศบาล...

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ

าล

คํานํา

านเ ทศบ

ปลัด เทศบาล เป น ผูบริหารสูงสุด ฝายขาราชการประจํา ในองคก รเทศบาล จึงจําเปนตองมี แนวคิด และหลักปฏิบัติราชการที่ถูกตองเหมาะสม สามารถเปน ตัวกลางเชื่อมตอนโยบายของรัฐและนโยบาย ผูแทนทองถิ่น หรือฝายการเมืองไปสูการปฏิบัตทิ ชี่ อบดวยวิธีปฏิบัติราชการปกครองและเกิดประโยชนสูงสุดใน การบริหารราชการและการบริการสาธารณะใหกับประชาชน

์ นัก

บริห

ารง

ข า พเจ า ขอนํ า เสนอวิ สั ย ทั ศ น แ ละผลงานเพื่ อ คั ด เลื อ ก ให ดํ า รงตํ า แหน ง ปลั ด เทศบาล ( นักบริหารงานเทศบาล ๘ ) เทศบาลตําบลดอนเขือง อําเภอสวางแดนดิน จังหวัดสกลนคร ขาพเจาขอขอบคุณ คําแนะนําและตัวอยางผลงานทั้งหลาย ทีข่ าพเจาไดใชเปนแนวทางในการจัดทําเอกสารนี้ และขอขอบคุณนองๆ เทศบาลตําบลพันดอน จังหวัดอุดรธานี ที่สนับสนุนและใหความชวยเหลือ ในการจัดนําเอกสารนี้ ใหสําเร็จ ลุลวงไปดวยดี

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๗ ( ปลัดเทศบาล ) สิงหาคม ๒๕๕๓

หนา

านเ ทศบ

เรื่อง

าล

สารบัญ

บทนํา ขอมูลสวนบุคคล

๑. แนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนงปลัดเทศบาล

บริห

๒. แนวทางในการพัฒนางานในหนาที่

ารง

ขอเสนอเกี่ยวกับวิสัยทัศน

๗ ๙

๔. บทสรุปและขอเสนอแนะ

๑๑

หนังสืออางอิง

ผลงานที่ประสบผลสําเร็จในอดีต

วิสัย

 ผลงานชิ้นที่ ๑

ทัศน

ผลงานดานสมรรถนะหลักทางการบริหาร

์ นัก

๓. แนวทางพัฒนาเทศบาลหากไดรับการคัดเลือก

๑๒ ๑๓

๑๕ ๑๖

 ผลงานชิ้นที่ ๓

๑๗

ัดทำ

 ผลงานชิ้นที่ ๒

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ภาคผนวก

ตอนที่ ๑

าล

ขอมูลสวนบุคล

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

านเ ทศบ

๑. ชื่อ-สกุล ผูรับการประเมิน นายชัยสัทธิ์ นาชัยเพชร ๒. เพศ ชาย หญิง ๓. วัน/เดือน/ป เกิด ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๙ อายุ ๔๔ ป ๔. ภูมิลําเนาเดิม อําเภอ กมลาไสย จังหวัด กาฬสินธุ ๕. ปจจุบันดํารงตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๗ (ปลัดเทศบาล) เงินเดือน ๒๘,๗๘๐ บาท เงินประจําตําแหนง ๓,๕๐๐ บาท สังกัด สํานักปลัดเทศบาล เทศบาล ตําบลพันดอน อน อําเภอ กุมภวาป จังหวัด อุดรธานี อุด ๖. ประวัติการรับราชการ วันบรรจุเขารับราชการ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๑ ตําแหนง ปลัดอําเภอ ระดับ ๓ ๑ อายุราชการรวม ๑๘ ป วันเกษียณอายุราชการ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๙ ๗. ประวัติการศึกษา สถาบัน

๒๕๒๘

โรงเรียนกมลาไสย

นิติศาสตร

๒๕๓๓

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

นิติศาสตร

๒๕๕๑

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วิทย - คณิต

่างก

ารจ

ัดทำ

มัธยมศึกษา ปที่ ๖

ปริญญาตรี

ปที่ สําเร็จ

วุฒิการศึกษา

วิสัย

ระดับการศึกษา

ตัวอ ย

ปริญญาโท

ถนน สกลนคร

รหัสไปรษณีย

-

อื่น ๆ

อาชีพ รับราชการ ๒ คน (ชาย ๒ คน หญิง

หนวยงานที่จัด กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

๒.อบรมเชิงปฏิบัติการดาน การสืบสวนสอบสวน คดีอาญาแกพนักงานฝาย ปกครอง รุนที่ ๕

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

๑.การสืบสวนสอบสวน คดีอาญา รุนที่ ๑

สถานที่อบรม/ดู งาน วิทยาลัยการ ปกครอง

์ นัก

ชื่อหลักสูตร

บริห

ารง

ตําบล ธาตุเชิงชุม อําเภอ เมืองสกลนคร จังหวัด ๔๗๐๐๐ โทรศัพท ๐-๔๒๙๗-๑๕๖๒ โทรสาร e-mail ๙. สถานภาพครอบครัว โสด สมรส ชื่อคูสมรส นางสุพิชญาณ สกุล นาชัยเพชร ขอมูลเกี่ยวกับบุตร/ธิดา ไมมีบุตร/ธิดา มีบุตร/ธิดา จํานวน คน) ๑๐.เครื่องราชอิสริยาภรณ ทวีติยาภรณมงกุฎไทย (ท.ม.) ๑๑. การฝกอบรม/ศึกษาดูงาน ที่สําคัญ

สุขาวดี

าล

-

านเ ทศบ

๘. สถานที่ติดตอ ที่อยูปจจุบันที่สามารถติดตอไดสะดวก บานเลขที่ ๒๒/๙ ซอย

ชวงเวลา

ป ๒๕๓๗

วิทยาลัยการ ปกครอง

ป ๒๕๔๐

กรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น

วิทยาลัยการ ปกครอง

ป ๒๕๔๖

๔.กฎหมายปกครอง

กรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น สํานักงานทองถิ่นจังหวัด สกลนคร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

โรงแรมรอยัลริเวอร กรุงเทพฯ กรุงปกกิ่ง ประเทศจีน มณฑลยูนนาน ประเทศจีน สถาบันพัฒนา บุคลากรทองถิ่น

ป ๒๕๔๘

่างก

ารจ

๓.หัวหนากลุมงานกฎหมาย รุนที่ ๒

ตัวอ ย

๕.เมืองนาอยู

๖.ศึกษาดูงานดานกฎหมาย ๗.นักบริหารงานองคกร ปกครองสวนทองถิ่น รุนที่ ๓๒

กรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น

ป ๒๕๔๘ ป ๒๕๕๑ ป ๒๕๕๒

หมายเหตุ

๑๒.ผลงานดีเดนในการรับราชการ ผลงานดีเดน บุคลากรดีเดนทางการทะเบียนระดับจังหวัด กรมการปกครอง ( รางวัลสิงหทองคํา )

ป พ.ศ.๒๕๓๙

บุคลากรดีเดนทางการทะเบียนระดับจังหวัด กรมการปกครอง ( รางวัลสิงหทองคํา )

ป พ.ศ.๒๕๔๕

ปลัดอําเภอผูประสานงานประจําตําบลดีเดน ระดับจังหวัด

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

านเ ทศบ

าล

ชวงเวลา ป พ.ศ.๒๕๓๘

ตอนที่ ๒

าล

วิสัยทัศน

านเ ทศบ

๑. แนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนงปลัดเทศบาล

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๘ (ปลัดเทศบาล) มีหนาที่ความรับผิดชอบงานที่มีความยากและ คุณ ภาพของงานสูงมาก ซึ่งเปน ตําแหนงที่มีหนาที่ ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเทียบเทาไดระดับ เดียวกัน รับผิดชอบการบริหารงานเทศบาล โดยควบคุมหนวยงานหลายหนวยงานและปกครองผูอยูใตบังคับ บัญชาจํานวนมากพอสมควร และปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่ไดรับมอบหมาย ปลัดเทศบาลทําหนาที่ที่ตองใชความรู ความสามารถในดานการบริหารและดานกฎหมาย พิจารณา ศึกษา วิเคราะห ทําความเห็นเสนอแนะและบังคับ บัญชาสั่งการ โดยความเห็นชอบของผูบริหารเทศบาล ควบคุมการปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ซึ่งเปนอํานาจหนาที่ของเทศบาล เชน งานบริหารงานบุคคล งานธุรการ งานการเงินและบัญชี งานนิติการ งาน ประชาสัมพันธ งานทะเบียน งานนโยบายและแผน งานรักษาความสงบเรียบรอย งานพัสดุ งานระเบียบ และ สัญญา งานรักษาความสะอาดและจัดระเบียบชุมชน งานจัดประชุมทํารายงานและบันทึกเรื่องเสนอที่ประชุม งานติดตอกับบุคคลและหนวยงานตาง ๆ งานขอมูลสถิติ เปนตน รวมทั้งปฏิบัติหนาที่อื่นที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หนังสือสั่งการกําหนด เชน เปนพนักงานเจาหนาที่ ตาม พ.ร.บ.บัตรประจําตัวประชาชน เปน นายทะเบียนทองถิ่นตาม พ.ร.บ.การทะเบียน ราษฎร เปนพนักงานเจาหนาที่ประเมินภาษีโรงเรือน ตาม พ.ร.บ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เปนตน ตลอดจนใหคําแนะนําปรึกษาในการปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมา ตอบ ปญหาชี้แจงตาง ๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ เขารวมประชุมคณะกรรมการตาง ๆ ตามที่ไดรับแตงตั้งเขารวมประชุม ในการกําหนดนโยบาย และหนวยงานของสวนราชการที่สังกัดและปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ

ารจ

ัดทำ

ในฐานะหัวหนาหนวยงาน นอกจากปฏิบัติงานดังกลาวขางตนแลว ยังทําหนาที่กําหนดนโยบาย การปฏิบั ติงาน พิจ ารณาวางแผนอัต รากํ าลั งเจ าหน าที่แ ละงบประมาณของหนว ยงานที่รั บผิด ชอบ ติ ด ต อ ประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนําปรับปรุงแกไข ติดตามประเมินผล และแกไขปญหาขอเท็จจริงในการปฏิบัติงานในหนวยงานที่รับผิดชอบดวย

ตัวอ ย

่างก

ดว ยบทบาทหนาที่ ที่มีค วามสําคัญยิ่ งตอองค ก รเทศบาลดังกลาวขางตน ปลัด เทศบาล (นั ก บริหารงานเทศบาล ระดับ ๘ ) จึงตองมีความรูความสามารถ วิสัยทัศนและแนวคิดในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม กับตําแหนง ขาพเจาขอนําเสนอแนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหนงปลัดเทศบาล ภายใตวิสัยทัศน ( VISION ) “เทศบาลนาอยู ฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่น” ซึ่งตองอาศัยหลักปฏิบัติที่ดี มาใชเปนแนวทาง เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ดังจะนําเสนอโดยสรุปดังนี้

านเ ทศบ

าล

๑. หลักธรรมตามแนวพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท ๔ ๑.๑ ฉันทะ เพราะเหตุวารักสิ่งที่ทํา จึงไดทําสิ่งที่ทําอยูในขณะนี้ ๑.๒ วิริยะ คือความพากเพียร ความพยายามไมยอทอ ๑.๓ จิตตะ คือความเอาใจจดจอในสิ่งที่ทํา เพราะฉะนั้นเราจึงทําได ๑.๔ วิมังสา ทํ า งานแล ว ไม ทิ้ ง คอยตรวจสอบ ทบทวน ไตร ต รอง พิ จ ารณา ถาผิดพลาด ก็เตรียมตัว แกไขในคราวตอไป

ารง

๒. ประพฤติตนตามแนวพระราชดําริ ในฐานะ ขา ฯ ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ความพอเพียง ความพอดี การรูจักประมาณตน

ทัศน

์ นัก

บริห

๓. หลักธรรมาภิบาล ( GOOD GOVERNANCE ) ซึ่งเปนหลักการพื้นฐานรวมสมัย อันจะละเลยขอหนึ่ง ขอใดไปมิได คือ ๓.๑ หลักนิติธรรม ๓.๒ หลักคุณธรรม ๓.๓ หลักความโปรงใสตรวจสอบได ๓.๔ หลักความมีสวนรวม ๓.๕ หลักความรับผิดชอบ ๓.๖ หลักความคุมคา

ัดทำ

วิสัย

นอกจากจะตองอาศัยแนวความคิดพื้นฐาน ในการปฏิบัติราชการขางตนแลว ขาพเจามีแนวคิด และหลักในการปฏิบัติงาน ในตําแหนงปลัดเทศบาล เพื่อใหสามารถใชชีวิตและทํางานรวมกัน ในเทศบาลได โดยปกติสุขเรียบรอยเกิดประโยชนสูงสุดกับราชการและประชาชน ดังนี้

ตัวอ ย

่างก

ารจ

๑. หลักนิติรัฐ ( ETAT DE DROIT ) เปนหลักการพื้นฐานสําคัญของการปฏิบัติราชการ ซึ่งการดําเนินงานใดๆ ของเทศบาลจะตองมี กฎหมายกําหนดหรือใหอํานาจไววาใหกระทําได ( ULTRA VIRES ) และหากกฎหมายได กําหนดรูปแบบ ขั้นตอน และวิธีการอันเปนสาระสําคัญเอาไว ก็ตองดําเนินการใหครบถวนตามรูปแบบขั้นตอนหรือกระบวนการ เหลานั้น รวมทั้งการปฏิบัติร าชการทั้งหลาย ตองพรอมที่จ ะใหมีก ารตรวจสอบการใช “ ดุลพินิจ ” และ “ ความชอบดวยกฎหมาย ” ทั้งจากหนวยงาน หรือองคกร หรือบุคคลตาง ๆ และจะตองอยูภายใตการตรวจสอบ โดยศาลปกครอง ( The principle of judicial review of legality of administrative action )

านเ ทศบ

าล

๒. หลักสุจริต ( GOOD FAITH ) เปนหลัก การพื้นฐานสําคัญอีกประการหนึ่งในการปฏิบัติงาน ซึ่งนอกจากจะตองมีกฎหมาย กําหนดใหอํานาจในการปฏิบัติหนาที่ไวโดยแจงชัดแลว การใชอํานาจนั้น จะตองเปนไปโดยสุจริต เสมอภาค และเหมาะสม หรือที่เรียกวา “ ดุลยพินิจโดยชอบ ” และที่สําคัญที่สุด ระบบราชการไทยเปน “ ระบบ เอกสาร ” ดังนั้น การปฏิบัติร าชการใด ๆ ของเทศบาลจึงตองปรากฏบนเอกสาร ซึ่งตรวจสอบ และใชเปน หลักฐานอางอิง หรือยืนยันการปฏิบัติไดดวย ทั้งนี้จะตองถูกตองตามรูปแบบและเนื้อหาของการปฏิบัติราชการ ในเรื่องนั้น ๆ เสมอ

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

๓. หลักเอกภาพการบังคับบัญชา ( UNITY OF COMMAND ) เปนหลักการสําคัญ เพื่อนําไปสูเปาหมายการปฏิบัติราชการอยางมั่นคง คือ ขาราชการทุกคน ตองรูบทบาทหนาที่ หรือฐานานุรูปในตําแหนง เชนตองเขาใจวาปลัดเทศบาลไมใชผูบังคับบัญชาสูงสุดในองคกร แตเปนนายกเทศมนตรี ดังนั้น จึงตองยึดมั่นในแนวนโยบายขอผูบริหาร คือ นายกเทศมนตรีเปนหลัก และนํามา ปรับใชในทุกบริบทของการทํางาน ใหการปฏิบัติงานนั้นบรรลุเปาหมายโดยไมละเลยนโยบายของผูบริหาร ทังนี้ การมีเอกภาพบังคับบัญชายังหมายรวมถึง การมอบหมายอํานาจการตัดสินใจใหกับผูใตบังคับบัญชาในระดับรอง ลงไป ใหสามารถมีเอกภาพในการตัดสินใจในระดับที่เหมาะสมดวย ซึ่งจะเปนการมอบความไววางใจอันเปน กําลังใจที่ดีใหกับผูใตบังคับบัญชา รวมทั้งเปนการลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานดวย

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

๔. หลักความเปนกลางทางการเมือง ( POLITICAL NEUTRALITY ) การปฏิบัตริ าชการทองถิ่น ตองทํางานรวมกับนักการเมืองทองถิ่น ซึ่งสวนใหญในแตละทองถิ่น ลว นมีปญหาขอขัด แยง และการแขงขัน ทางการเมืองสูง ดังนั้น สิ่งที่ตองยึด มั่นอยูเสมอก็คือ ความเปน กลาง ทางการเมือง ทั้งนี้ความเปนกลางทางการเมือง ควรมีขอบเขตเพียงใด อยางไร ก็ขึ้นอยูกับบริบท หรือสถานภาพ และความเหมาะสม ในแตละทองถิ่นแตกตางกันไป

าล

๒. แนวทางการพัฒนางานในหนาที่

านเ ทศบ

การบริหารราชการของเทศบาลตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ ภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงานการลดภารกิจและ ยุบเลิกหนว ยงานที่ไมจําเปน การกระจายอํานาจการตัดสิน ใจ การอํานวยความสะดวกและตอบสนองความ ตองการของประชาชน โดยมีแนวทางดังนี้

บริห

ารง

๑) การบริหารราชการที่มุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนโดยยึดประชาชนเปนศูนยกลางเพื่อ ตอบสนองความตองการของประชาชน และกอใหเกิดผลกระทบในทางที่ดีตอการพัฒนาชีวิตของประชาชน การ ปฏิบัติราชการที่มุงเนนถึงความตองการและความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการเปนหลัก จึงตองมีการสํารวจ ความตองการของประชาชน และความพึงพอใจของผูรับบริการในหลากหลายวิธีและเปนไปอยางสม่ําเสมอ เพื่อ นํามาปรับปรุงการปฏิบัติราชการ

ทัศน

์ นัก

๒) ใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารราชการทุกขั้นตอน เปนการสรางความโปรงใสในการ บริหารราชการ รวมทั้งลดขอขัดแยงของฝายการเมืองหรือฝายขาราชการประจําหรือระหวางฝายการเมือง กับฝาย ขาราชการประจํา อีกทั้งสามารถตอบสนองความตองการและความพึงพอใจใหกับประชาชนดวย

วิสัย

๓) ตองเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ โดยยึดการบริการแบบบูรณาการซึ่งมุงเนนผลลัพธที่ เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานที่สอดคลองเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการไว ลวงหนา ที่สามารถแสดงผลและวัดผลงานไดอยางชัดเจน

ารจ

ัดทำ

๔) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ โดยการดําเนินภารกิจของรัฐจะตอง มีการเปรียบเทียบตนทุนคาใชจาย ที่ใชในการดําเนินงานทั้งภายในเทศบาลและระหวางหนวยงาน โดยเฉพาะ อยางยิ่งในกรณีที่เปนการดําเนินภารกิจในลักษณะเดียวกัน เพื่อดูผลลัพธที่เกิดวามีความคุมคากับเงินลงทุนที่เกิด จากการนําภาษีของประชาชนไปใชหรือไมอยางไร

ตัวอ ย

่างก

๕) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน โดยลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ลงจากที่เปนอยูเดิม มอบอํานาจการตัดสินใจใหกับผูที่อยูใกลชิดกับประชาชนจัดบริการใหประชาชนสามารถรับ บริการใหแลวเสร็จในที่เดียวกัน ( ONE STOP SERVICE ) เพื่อใหประชาชนไดรับการบริการที่สะดวกและ รวดเร็วยิ่งขึ้น

านเ ทศบ

าล

การมอบหมายงานและการมอบอํานาจตัดสินใจ เปนการลดความซ้ําซอนในการปฏิบัติหนาที่ ทําใหสามารถติดตามงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูปฏิบัติหรือผูรับมอบอํานาจก็จะมีความชัดเจนในงานที่ปฏิบัติ รวมทั้งสามารถพัฒ นาทัก ษะและประสิทธิภ าพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และสามารถวัด ประเมิน ผลการ ปฏิบัติงาน แตละคนไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น ๖) การกําหนดระยะเวลาในการบริการประชาชนและประกาศใหประชาชนทราบ จะชวยให ประชาชนผูมาขอรับบริการสาธารณะสามารถวางแผนหรือบริหารเวลาของตนเองได

บริห

ารง

๗) ปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอเหตุการณ โดยจะตองมีการทบทวนและปรับปรุง กระบวนการขั้น ตอนการทํางานอยูเสมอ จัด ลําดับความสําคัญและจําเปน ของงานหรือโครงสรางที่จ ะทําให สอดคลองกับแผนงาน งบประมาณและการปรับปรุงกฎหมาย หรือเทศบัญญัติหรือระเบียบของเทศบาลให เหมาะสม

์ นัก

๘) มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหหนวยงานภายใน สํานัก กอง ไดมีการสอบทาน การปฏิบัติงานอยูเสมอ เปนการลดความเสี่ยงและขอผิดพลาดในการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

๙) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ โดยจะตองสรางระบบการควบคุมภายใน ดังที่นําเสนอมาและมีการตรวจสอบ ติดตาม วัดผลการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอในหลากหลายมิติ ซึ่งจะทําให สามารถผลักดันการปฏิบัติงานของหนวยงานใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งยังชวยใหการพิจารณา บําเหน็จ ความชอบและรางวัลเปนไปตามผลการปฏิบัติงานอยางจริงจัง

๓. แนวทางการพัฒนาเทศบาลหากไดรับการคัดเลือก

ารง

านเ ทศบ

าล

เพื่อใหการพัฒนาองคการเทศบาลเปน องคกรแหงการเรียนรู นําพาชุมชนสูความเขมแข็ง อยางยั่งยืน และการดําเนินการบริหารงานเทศบาลเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล เปนเทศบาลนาอยู ตาม วิสัยทัศน “ เทศบาลนาอยู ฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่น ” จึงควรกําหนดเปนยุทธศาสตร (STRATEGY ) สําคัญดังนี้ ๑. ยุทธศาสตร สงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนและสังคม ๒. ยุทธศาสตร เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ๓. ยุทธศาสตร ดานสืบสานฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่น ๔. ยุทธศาสตร ดานการจัดองคกรและการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

แนวทางการดําเนินงาน ๑. ยุทธศาสตรสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนและสังคม คุณ ภาพชีวิต ที่ดีของคนในชุมชนเทศบาล เปน สิ่ง สําคั ญ สูง สุด ที่ เทศบาลจะตองยึดถื อ เพื่อใหคนในชุมชนมีส ภาพรางกายและจิต ใจที่สมบูร ณ และอยูใ นสภาพแวดลอมที่ดี สวยงาม ซึ่ง เปน ปจจัยพื้นฐานในการรวมมือกันพัฒนาเทศบาลใหนาอยู จึงเห็นควรดําเนินการดังนี้ ๑.๑ สงเสริมการออกกําลังกายและจัดกิจกรรมการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง หลากหลาย ทุกเพศทุกวัย และมีมาตรการจูงใจผานการจัดกิจกรรมการประกวดหรือรางวัลตาง ๆ ๑.๒ จัดบุคลากรและเครื่องมือตรวจสุขภาพเบื้องตน เพื่อตรวจสุขภาพและหากลุมเสี่ยง โดยดําเนินการในเชิงรุก เขาสูชุมชนและครอบครัว เพื่อการปองกันและสงเสริมสุขภาพที่ดี ๑.๓ ใหชุมชนเขาถึงขาวสารและการศึกษาที่ดีมีคุณภาพและทั่วถึง ๑.๔ สนับสนุนใหครอบครัว ชุมชน สถาบันการศึกษา สถานบันศาสนา รวมกันพัฒนาเด็ก และเยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม

ตัวอ ย

่างก

ารจ

๒. ยุทธศาสตรเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ชุมชนเปนองคประกอบสําคัญของเทศบาล เปนกลไกพื้นฐานที่มีผลโดยตรงตอการพัฒนา เทศบาลและพัฒนาชาติ ชุมชนที่เขมแขงคือชุมชนที่พึ่งพาตนเอง อยูรวมกันอยางสมานฉันทและมีภูมิคุมกั น ตนเองจากสภาพเลวรายทั้งจากภายในและภายนอก ปจจัยสําคัญในการสรางสรางความเขมแข็งของชุมชนคือ “ สํานึกสาธารณะ ” จึงควรมีแนวทางการดําเนินการดังนี้ ๒.๑ สงเสริมอาชีพ และรายไดใหกับชุมชนอยางตอเนื่อง จริงจัง โดยอาจเริ่มตนจากกลุม สนใจตางๆ ในการจัดกิจกรรมสงเสริมอาชีพ ศึกษาดูงาน ฝกอบรมอาชีพและสนับสนุนงบประมาณหรือวัสดุ ตามความจําเปนและเหมาะสม ๒.๒ จั ดทํ าระบบข อมู ลชุ มชน ใหเ ปน ปจ จุบั น ใหค รอบคลุม มากที่ สุด เพื่ อประโยชน ใ น การศึกษา สงเสริมสนับสนุน ๒.๓ เฝาระวังและปองปรามปญหายาเสพติดและจัดกิจกรรมกับกลุมเสี่ยงอยางตอเนื่อง ๒๔ สงเสริมการสรางครอบครัวอบอุน และเสริมสราง “สํานึกสาธารณะ” โดยมาตรการจูง ใจและรางวัล

ารง

านเ ทศบ

าล

๓. ยุทธศาสตรดานสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น ชุมชนทองถิ่น มีวิถีชีวิตความเปนอยูสืบทอดกันมาอยางยาวนาน รวมทั้งปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปไดอยางกลมกลืน สวนหนึ่งของวิถีชีวิตเหลานั้นคือ “ภูมิปญญา” ที่ สอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน ที่มีคุณคาแกการเรียนรู จึงควรดําเนินการ ดังนี้ ๓.๑ สืบคนรวบรวมสิ่งที่เปน “ภูมิปญญา” ทองถิ่น รวบรวมไวอยางเปนระบบ และอาจจัด แสดงไวเปนศูนยเรียนรูชุมชน ๓.๒ สงเสริมใหนํา “ภูมิปญญา” มาตอยอดสรางอาชีพและรายไดในชุมชน ๓.๓ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อพัฒนาตอยอดใหเปนมรดกทางภูมิปญญา เปน อาชีพและรายไดที่ยั่งยืน ๓.๔ ประชาสัมพันธและสืบสานภูมิปญญาใหแพรหลาย

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

๔. ยุทธศาสตรดานการจัดองคกรและการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล เทศบาลมีหนาที่บริการสาธารณะใหกับประชาชนในเขตเทศบาล การบริการดังกลาวจะมี คุณภาพเพียงใด เกี่ยวพันโดยตรงกับประสิทธิภาพในการบริการประชาชนของเทศบาลนั้น ซึ่งการบริการจะ มีประสิทธิภาพและคุณภาพ องคกรเทศบาลจะตองมีการจัดองคกรที่ดีที่เหมาะสม ดังนั้นจึงควรดํา เนินการ ดังนี้ ๔.๑ นําหลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารจัดการองคกรเทศบาล ๔.๒ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมองคกรใหเหมาะสมกับอํานาจหนาที่และยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกระบวนการมีสวนรวมอยางคอยเปน คอยไป รวมทั้งจัดฝกอบรมศึกษาดูง าน รวมทั้ง มาตรการจูง ใจ ชมเชย และรางวัล ๔.๓ สรางระบบการจัดเก็บรายได และหาประโยชนในทรัพยสินที่ดีและเปนธรรม เพื่อเปน การพัฒนารายไดใหกับเทศบาลอยางตอเนื่อง และสรางระบบควบคุมตรวจสอบทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ เปนตน ขอเสนอวิสัยทัศนที่นําเสนอขางตน ไมอาจสัมฤทธิ์ผลได หากไมไดรับการสนับสนุนจาก ผูบริห ารและบุคลากรในองคกร คนในชุมชน ภาคีทุกภาคสวน และขอแนะนําที่ดีเพิ่มเติม รวมทั้ง ตอง อนุวัติใหเปนไปตามแผนพัฒนาเทศบาลและแนวนโยบายแหงรัฐ ในโอกาสตอไป

๔. บทสรุปและขอเสนอแนะ

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

านเ ทศบ

าล

ปจจุบัน กระแสการกระจายอํานาจหนาที่และภารกิจภาครัฐมาใหทองถิ่นดําเนินการ นับวันจะมี การถายโอนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปลัดเทศบาลซึ่งเปนกลไกสําคัญในองคกรเทศบาล ที่มีหนาที่บริหารกิจการเทศบาลซึ่ง มีลักษณะงานที่มีความยุงยากมาก ซึ่งไดนําเสนอมาโดยสังเขปในตอนตนแลวนั้น จึงตองเปนผู ที่ตองมีความรู ความสามารถเหมาะสมกับตําแหนงและตองพัฒนาความรูใหทันสมัยอยูตลอดเวลา และจําเปนตองศึกษาการใช ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ และความเปลี่ยนแปลงตางๆ เหลานั้น อันเปน พลวัตแลวนําองคความรูเหลานั้น มากําหนดบทบาทหนาที่และนําไปใชในการปฏิบัตงิ านที่เหมาะสม และรอบคอบในลําดับตอไป สําหรับกระบวนการพัฒนาตนเอง และพัฒนางานในหนาที่ปลัดเทศบาลนั้น ปลัดเทศบาลอาจใช กระบวนการการวางแผนอาชีพ หรือจัดทํา CAREER PLANNING การวางแผนอาชีพเปนการทํางานในปจจุบัน เพื่อสนองตอบตอเปาหมายในอนาคตทั้งระยะสั้น และระยะยาว โดยการกําหนดวิสัยทัศน ( VISION/GOAL) ในการทํางานของตน การกําหนดภารกิจ ( MISSION ) ที่จําเปนตองปฏิบัติ การวิเคราะหความสามารถ ( COMPETENCY ) ทั้งปจจัยภายใน ( INTERNAL FACTORS) และปจจัยภายนอก ( EXTERNAL FACTORS ) การวิเคราะหตัวชี้วัดผลงานหลัก ( KEY PERFORMANCE INDICATORS ) เพื่อใหผลงานที่เกิดขึ้นเปนสิ่งที่จับ ตองและประเมินผลได เปนตน ที่สําคัญที่สุด นอกจากการปฏิบัติหนาที่ ในตําแหนงปลัด เทศบาล จําเปนตองอาศัยความรู ความสามารถที่เหมาะสมกับตําแหนงแลว ปลัดเทศบาลยังตองมีภาวะผูนํา ( LEADERSHIP )และลักษณะทาง พฤติกรรมที่ถูกตองเหมาะสมดวย กลาวคือ ปลัดเทศบาลตองประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี สุภาพเรียบรอย มี มนุษยสัมพันธที่ดี และเปนนักประชาสัมพันธที่ดี อันจะเปนการสงเสริมใหเกิดบรรยากาศ การทํางานรวมกัน ในทุกภาคสวนเพื่อประโยชนสูงสุดของราชการและประชาชนในลําดับตอไป

าล

เอกสารอางอิง

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

านเ ทศบ

๑. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๒. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และแกไขเพิ่มเติม ๓. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่ น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๔. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๖. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗. พิมลจรรย นามวัฒน , เอกสารการสอนชุดวิชาองคการและการจัดการ , หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๔๔ ๘. อาภรณ ภูวิทยพันธุ , เทคนิคการทํางานเชิงรุก , บริษัท เอช อาร เซ็นเตอร จํากัด : ๒๕๔๗

ตอนที่ ๓

ผลงาน

๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ถึง ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒

๒. โครงการอบรม พัฒนาบุคลากรเทศบาล

๑๘ กันยายน ๒๕๕๒

บริห

์ นัก

ทัศน

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การสงเสริมใหพนักงานเทศบาล มีความรูความสามารถ และมี สมรรถนะในการทํางานสูงยิ่งขึ้น เสริมสรางและเปลี่ยนแปลง ผูปฏิบัติงานในดานความรู ความสามารถทักษะ อุปนิสัย ทัศนคติ และวิธีการทํางานที่จะ นําไปสู ประสิทธิภาพในการ ทํางาน

วิสัย ัดทำ

ารจ ่างก ตัวอ ย

ประโยชนของผลงานการ ไดรับการยอมรับ

๑. เปนกรอบแนวทางใน การเบิกจายงบประมาณ ประจําป ๒๕๕๓ ๒.เพื่อใหทราบถึงแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม ที่จะ ดําเนินจริงในป ๒๕๕๓ ๓. เปนเครื่องมือของ ผูบริหารในการดําเนินการ ตามนโยบายที่แสดงไวตอ สภาเทศบาล

ารง

๑. การจัดทําเทศ บัญญัติ งบประมาณรายจาย ประจําป ๒๕๕๓

ความรูความสามารถที่แสดง ถึงศักยภาพในการบริหาร จัดการ การวางแผนกลยุทธ ( Strategy planning ) - กาสรางแผนการปฏิบัติงานที่มี การระบุเปาหมาย วัตถุประสงค กลยุทธ และแนวทางการปฏิบัติ ที่ชัดเจน เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ - เปนการวางแผนในเชิงกลยุทธ และในระดับปฏิบัติการ โดย พัฒนาเงื่อนไขของเวลา ทรัพยากร ความสําคัญเรงดวน และการคาดการณ ถึงปญหา และโอกาสที่อาจเปนไปไดดวย

านเ ทศบ

เมื่อดํารงตําแหนง (ชวงเวลาทีด่ ําเนินการ)

าล

แบบแสดงผลงานดานสมรรถนะหลักทางการบริหาร

๑. เพิ่มทักษะในการทํางาน ใหแกผูปฏิบัติงาน ๒. เพิ่มผลผลิตขององคกร เทศบาล ๓. เพื่อความคลองตัวและ การปรับตัวของผูปฏิบัติงาน ๔. พนักงานเทศบาลทราบ ถึงความสําคัญของการ พัฒนาตนเอง ซึ่งเปนวิธีหนึ่ง ที่จะทําใหเขามีโอกาสที่จะ ไดรับการพิจารณาจาก ผูบังคับบัญชาใหเลื่อนขึ้น หรือเปลี่ยนตําแหนงงานที่มี ความสําคัญมากขึ้น

ประโยชนของผลงานการ ไดรับการยอมรับ ๑. องคกรมีโครงสรางการ แบงงาน และระบบการนํา งานที่เหมาะสมไมซ้ําซอน ๒. มีการกําหนดตําแหนง การจัดอัตรากําลังเหมาะสม กับอํานาจหนาที่ ๓. เกิดการทํางาน รวมกับ ทุกภาคสวน โดย กระบวนการมีสวนรวม ๔. เทศบาลไดรับรางวัล บริหารจัดการที่ดี ระดับภาค ประจําป ๒๕๕๒

บริห

์ นัก

ทัศน วิสัย

ลงชื่อ

ผูรับการคัดเลือก

ารจ

ัดทำ

(นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร) ตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๗ (ปลัดเทศบาล) วันที่

่างก

ความเห็นผูบังคับบัญชา

ตัวอ ย

าล

ความรูความสามารถที่แสดงถึง ศักยภาพในการบริหารจัดการ การบริหารทรัพยากร ( Resource Planning ) - การบริหารจัดการทรัพยากร ทั้ง ภายในและภายนอกองคกร (บุคลากร ขอมูล เทคโนโลยี เวลา และ ทรัพยากรตนทุนอื่นๆ) - การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูได อยางเหมาะสม เพื่อใหสามารถ บรรลุ เปาหมายขององคกร โดย สามารถสอดรับกับความจําเปน ของการดําเนินการตามนโยบาย การประสานสัมพันธ ( Integration related ) - การทํางานรวมกับบุคคลอื่น องคกรอื่น ที่เอื้อตอการทํางานใน องคกร โดยสรางความเคารพ ความเขาใจซึ่งกันและกันและสราง ความสัมพันธที่ดีในการทํางาน

ารง

๓. การบริหารจัดการ บานเมืองที่ดี

เมื่อดํารงตําแหนง (ชวงเวลาที่ดําเนินการ) ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

านเ ทศบ

ผลงาน

ลงชื่อ (นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี) ตําแหนง นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน วันที่

ผลงานชิ้นที่ ๑ โครงการปรับปรุงตลาดสด “ ตลาดรวมใจกาวไกลหาดาว ”

๒. ชวงเวลาที่ปฏิบัติงาน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึงปจจุบัน

านเ ทศบ

๑. ชื่อผลงาน

าล

ผลงานที่ประสบผลสําเร็จในอดีต (ยอนหลังไมเกิน ๒ ป นับแตดํารงตําแหนงบริหาร)

์ นัก

บริห

ารง

๓. วิธีการดําเนินการ/รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ๓.๑ ประชุมชี้แจงทําความเขาใจผูปฏิบัติงาน และกลุมผูคาขายในตลาดสด ๓.๒ กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค และขอบขายอํานาจหนาที่ของโครงการ ๓.๓ กําหนดรายละเอียด ขั้นตอนการดําเนินงาน ๓.๔ นําเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติตอนายกเทศมนตรี ๓.๕ ประชุมชี้แจงหนาที่ที่เกี่ยวของ เพื่อซักซอมความเขาใจและมอบหมายหนาที่ ๓.๖ ดูแลใหการดําเนินการตามโครงการบรรลุวัตถุประสงค ๓.๗ ประเมินผลโครงการโดยใชแบบสอบถาม และแบบแสดงความคิดเห็น

วิสัย

ทัศน

๔. รายละเอียดของผลงานสวนที่ตนปฏิบัติ ๔.๑ ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ๔.๒ รวมวางแผนแนวทางการดําเนินงาน การแกไขปญหา โดยกระบวนการมีสวนรวม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

๕. การนําเสนอผลงานไปใชประโยชน ๕.๑ เพื่อใหชุมชนเทศบาลมีตลาดดีมีมาตรฐาน ๕.๒ เพื่อเสริมสรางองคกรชุมชน คือกลุมพอคาแมคา ใหรูจักการทํางานรวมกัน และ พึ่งพาตนเอง ๕.๓ เพื่อพัฒนาตลาดสดเทศบาลในเชิงคุณภาพ จนเทศบาลไดรับรางวัลชนะเลิศตลาดดีมี มาตรฐาน ระดับจัง หวัด ประเภทตลาดสดขนาดกลาง ในป ๒๕๕๑ และตลาด ระดับหาดาวในป ๒๕๕๒

ผลงานที่ประสบผลสําเร็จในอดีต (ยอนหลังไมเกิน ๒ ป นับแตดํารงตําแหนงบริหาร)

าล

ผลงานชิ้นที่ ๒ ๑. ชื่อผลงาน

๒. ชวงเวลาที่ปฏิบัติงาน

๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ ถึงปจจุบัน

านเ ทศบ

โครงการลดขั้นตอน และระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน

์ นัก

บริห

ารง

๓. วิธีการดําเนินการ/รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน มีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้ ๓.๑ กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค ขั้นตอนการดําเนินการ ขอบขายอํานาจหนาที่ ๓.๒ นําเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติตอนายกเทศมนตรี ๓.๓ ประชุมเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ เพื่อซักซอมความเขาใจ และมอบหมายหนาที่ ๓.๔ ดูแลใหดําเนินการตามโครงการ ตามวัตถุประสงคที่กําหนด ๓.๕ ประเมินผลโครงการโดยใชแบบสอบถาม และแบบแสดงความคิดเห็น

วิสัย

ทัศน

๔. รายละเอียดของผลงานสวนที่ตนปฏิบัติ นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๗ (ปลัดเทศบาล ) มีหนาที่ควบคุม กํากับดูแล การดําเนินการ ตามโครงการลดขั้นตอน และระยะเวลา การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน ใหเปนไปดวยความเรียบรอย และ บรรลุวัตถุประสงคของทางราชการ

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

๕. การนําผลงานไปใชประโยชนอางอิง ๕.๑ เพือ่ เปนการติดตามผลการดําเนินงาน ๕.๒ เพื่อใหการปรับปรุงกระบวนงานในการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนในทองถิ่น เกิดผลสัมฤทธิ์ ๕.๓ เพื่อเปนการอํานวยความสะดวก และตอบสนองความตองการของประชาชน ๕.๔ เพื่อใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว และเกิดความประทับใจแกประชาชนผูมารับบริการ ๕.๕ เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ของเทศบาลปฏิบัติหนาที่ดวยความรวดเร็วถูกตองตาม ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของ

การบริหารจัดการที่ดี

๒. ชวงเวลาที่ปฏิบัติงาน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึงปจจุบัน

านเ ทศบ

ผลงานชิ้นที่ ๓ ๑. ชื่อผลงาน

าล

ผลงานที่ประสบผลสําเร็จในอดีต (ยอนหลังไมเกิน ๒ ป นับแตดํารงตําแหนงบริหาร)

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

๓. วิธีการดําเนินการ/รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ๓.๑ ประชุมบุคลากรเทศบาล เพื่อซักซอมความเขาใจ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน โดยใช หลักเกณฑการประเมินของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนแนวทางการ ดําเนินงาน ๓.๒ วิเคราะหความสามารถขององคกรในปจจุบัน ๓.๓ กําหนดเปาหมายการดําเนินการทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ๓.๔ มอบหมายภารกิจ และกําหนดอํานาจหนาที่ ใหสวนราชการและบุคคล รับผิดชอบ หรือเปนเจาภาพในแตละกิจกรรม ๓.๕ ดูแลใหการดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค ๓.๖ ประเมินผลการดําเนินงาน โดยการประชุมประเมินผลตนเองรวมกัน ของ คณะทํางาน

ัดทำ

วิสัย

๔. รายละเอียดของผลงานสวนที่ตนปฏิบัติ ๔.๑ กําหนดใหเปนนโยบายสําคัญและงานที่ตองลงมือปฏิบัติรวมกันอยางจริงจัง ๔.๒ ประสานความรวมมือในองคกร และองคกรประสานงานหรือองคกรสนับสนุน ทั้งความรวมมือในการบูรณาการการดําเนินงาน และการสนับสนุนทางวิชาการ ๔.๓ ควบคุมกํากับดูแลการดําเนินงาน ใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย

ตัวอ ย

่างก

ารจ

๕. การนําเสนอผลงานไปใชประโยชน การบริห ารกิจ การองคกรที่ดีนําไปสูองคกรที่มีมาตรฐานการปฏิบัติร าชการ มีการบริการ สาธารณะที่ดีมีประสิท ธิภาพใหกับประชาชน บรรลุวัต ถุประสงค และเปาหมายที่วางไวและยัง สามารถ นําไปใชใหเกิดประโยชนตอการปรับปรุงแนวทางการดําเนินงานใหมีนวัตกรรมใหม ๆ รวมทั้งความกาวหนาใน การปฏิบัติร าชการอยางหลากหลาย ผลการดําเนินงานเทศบาลไดรับรางวัลบริหารจัดการที่ดี ระดับภาค ประจําป ๒๕๕๒

านเ ทศบ

าล

การรับรองผลงาน ๑. คํารับรองของผูเขารับการคัดเลือก ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ ลงชื่อ

ผูเขารับการคัดเลือก

ารง

( นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร ) ตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล ระดับ ๗ ( ปลัดเทศบาล ) วันที่

บริห

๒. คํารับรองของนายกเทศมนตรี ไดตรวจสอบผลงานที่เสนอเพื่อประกอบการคัดเลือกแลว เห็นวาถูกตรงตามความเปนจริงทุกประการ ความเห็นอื่น ๆ ( ถามี ) ผูรับรอง

์ นัก

ลงชื่อ

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

( นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี ) ตําแหนง นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน วันที่

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ

ลําดับที่สมัคร…………………..

1. ชื่อ นายชัยสิทธิ์

ารง

**************************

านเ ทศบ

าล

ใบสมัครเขารับการคัดเลือกเพื่อแตงตั้งพนักงานเทศบาล ใหดํารงตําแหนงที่สูงขึ้น สําหรับตําแหนงของผูบริหารของเทศบาล ในตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 8 เทศบาลตําบลดอนเขือง อําเภอสวางแดนดิน จังหวัด สกลนคร

สกุล นาชัยเพชร

รูปถายขนาด 1 นิ้ว (ใหติดรูปเทา กรอบ)

ประเภทตําแหนง

บริหารระดับสูง

์ นัก

บริห

2. เพศ ชาย หญิง 3. วัน เดือน ปเกิด 15 ธันวาคม 2509 อายุปจจุบัน 44 ป วันเกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2569 4. ปจจุบันดํารงตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 7 บริหารระดับกลาง

ทัศน

วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ทั่วไป เงินเดือน 28,780 บาท เงินประจําตําแหนง 3,500 บาท งาน ฝาย เทศบาลตําบลพันดอน อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี

ารจ

ัดทำ

วิสัย

โทรศัพท 0-4220-0742 โทรสาร 0-4233-1621 e-mail…………. 5. สถานที่ติดตอ ที่อยูปจจุบันสามารถติดตอไดสะดวก บานเลขที่ 22/9 ซอย/ตรอก - ถนน สุขาวดี แขวง/ตําบล ธาตุเชิงชุม เขต/อําเภอ เมืองสกลนคร จังหวัด สกลนคร รหัสไปรษณีย 47000 โทรศัพท 0-4297-1562 โทรสาร 0-4297-1562 6. สถานภาพครอบครัว

่างก

โสด สมรส ขอมูลเกี่ยวกับบุตร/ธิดา

ตัวอ ย

ไมมีบุตร/ธิดา

อื่นๆ มีบุตร/ธิดา จํานวน 2 คน (ชาย 2 คน หญิง - คน)

-2-

ความดัน โลหิตสูง

หัวใจ

เบาหวาน

ไต

เปน ไมเปน

/

/

/

/

8. ประวัติการศึกษา

อื่นๆ

/

ารง

วุฒิการศึกษา

ไมเกรน

านเ ทศบ

เปนโรคเหลานี้ หรือไม

าล

7. ประวัติสุขภาพ (พรอมใบรับรองแพทยที่ออกไวไมเกิน 1 เดือน นับถึงวันรับสมัคร)

-

สาขา

สถาบัน

ประเทศ

ปที่สําเร็จการศึกษา

การไดรับทุน

ปริญญาตรี

นิติศาสตรบัณฑิต

ไทย

นิติศาสตรมหา บัณฑิต -

ไทย

3 พฤศจิกายน 2533 24 ตุลาคม 2551

-

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัย รามคําแหง มหาวิทยาลัย รามคําแหง -

-

-

-

์ นัก

-

ทัศน

ปริญญาเอก การศึกษาระดับ อื่นๆ ที่สําคัญ

บริห

ระดับการศึกษา

ารจ

ัดทำ

วิสัย

9. ประวัติการรับราชการ วันบรรจุเขารับราชการ 14 สิงหาคม 2535 ตําแหนง ปลัดอําเภอ (เจาพนักงานปกครอง) ระดับ 3 ระยะเวลาปฏิบัติราชการรวม 18 ป การดํารงตําแหนงในสายงานบริหาร ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง ชวงเวลาที่ดํารง รวมเวลาดํารงตําแหนง ตําแหนง 1. ปลัดเทศบาล นักบริหารงานเทศบาล 7 4 ป 1 ส.ค. 49 – 30 ก.ค. 53 10. การฝกอบรม (หลักสูตรสําคัญฯ)

ตัวอ ย

่างก

หลักสูตรที่อบรม ชื่อหลักสูตร/การอบรมอื่น หนวยงานที่จัด สถานที่อบรม การสืบสวนสอบสวน กรมการปกครอง วิทยาลัยการปกครอง คดีอาญา รุนที่ 1 กระทรวงมหาดไทย อบรมเชิงปฏิบัติการดานการ กรมการปกครอง วิทยาลัยการปกครอง สืบสวนสอบสวน คดีอาญา กระทรวงมหาดไทย แกพนักงานฝายปกครอง รุนที่ 5

ชวงเวลา ต.ค. 2537

ทุนการอบรม -

ก.พ. 2540

-

ศึกษาดูงานดานกฎหมาย

์ นัก

11. ดูงาน (ที่สําคัญๆ)

ทัศน

การดูงาน สถานที่ ระหวางวันที่ กรุงปกกิ่ง ประเทศจีน ป 2548 มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ป 2551

12. การปฏิบัติงานพิเศษ

ารจ

จังหวัดสกลนคร

่างก

13. ความสามารถพิเศษ ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร อื่นๆ (โปรดระบุ)

ตัวอ ย

-

2548

-

2551

-

พ.ย. 2552

-

ทุนการดูงาน สํานักงานทองถิ่นจังหวัดสกลนคร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

การปฏิบัติงานพิเศษ สถานที่ปฏิบัติงาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน จังหวัดสกลนคร 2551-2552

ัดทำ

เรื่อง ประธานคณะกรรมการ สอบสวนวินัย คณะกรรมการพนักงาน เทศบาล

วิสัย

เรื่อง เมืองนาอยู กฎหมาย

2548

บริห

นักบริหารงานองคกร ปกครองสวนทองถิ่น รุนที่ 32

ทุนการอบรม -

านเ ทศบ

เมืองนาอยู

ชวงเวลา 2546

ารง

ชื่อหลักสูตร/การอบรมอื่น หัวหนากลุมงานกฎหมาย รุนที่ 2 กฎหมายปกครอง

หลักสูตรที่อบรม (ตอ) หนวยงานที่จัด สถานที่อบรม กรมสงเสริมการ วิทยาลัยการปกครอง ปกครองทองถิ่น กรมสงเสริมการ โรงแรมรอยัลริเวอร ปกครองทองถิ่น กรุงเทพฯ สํานักงานทองถิ่น กรุงปกกิ่ง ประเทศ จังหวัดสกลนคร จีน มหาวิทยาลัย มณฑลยูนนาน รามคําแหง ประเทศจีน กรมสงเสริมการ สถาบันพัฒนา ปกครองทองถิ่น บุคลากรทองถิ่น

พอใช พอใช -

2551-2553

าล

-3-

ผลสําเร็จ เกิดเครือขายวินัย ทองถิ่น การบริหารงานเทศบาล เปนไปโดยเรียบรอย

วันที่ 5 ธันวาคม 2546 วันที่ 5 ธันวาคม 2548

15. ประวัติผลงานดานการบริหาร วิชาการหรืออื่น ๆ ที่ไดรับยกยอง วันที่ รางวัล/เกียรติคุณที่ไดรับการยกยอง ผลงาน

านเ ทศบ

14. เหรียญ/เครื่องราชอิสริยาภรณที่ไดรับ 1. เครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ต.ช. 2. เครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น ท.ม.

าล

-4-

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

สถานที่/ผูมอบเกียรติ คุณ ป 2538 ใบประกาศ/สิงหทองคํา บุคลากรดีเดนทางการ กรมการปกครอง/อธิบดี ทะเบียนระดับจังหวัด ป 2539 ใบประกาศ/สิงหทองคํา บุคลากรดีเดนทางการ กรมการปกครอง/อธิบดี ทะเบียนระดับจังหวัด ป 2545 โลรางวัล ปลัดอําเภอ จังหวัดสกลนคร/ผูวา ผูประสานงานประจํา ราชการจังหวัดสกลนคร ตําบลดีเดน ระดับ จังหวัด 16. คุณลักษณะสวนบุคคลอื่นๆ ของผูสมัครที่เห็นวาเดน และเกี่ยวของกับงาน มีความรู เชี่ยวชาญดานกฎหมายทองถิ่น

ัดทำ

วิสัย

17. วิสัยทัศน และผลงานหรืองานสําคัญที่ประสบความสําเร็จ จํานวน 8 ชุด (ที่แนบทาย) ขาพเจาขอรับรองวาขอมูลที่ไดแจงไวในใบสมัครนี้ถูกตองครบถวนทุกประการ หากตรวจสอบ พบวาขาพเจาปดบังขอความหรือใหขอความที่ไมถูกตองตามความเปนจริง หรือไมมีคุณสมบัติที่จะสมัครเขา รับการคัดเลือก ใหถือวาขาพเจาไมมีสิทธิไดรับการคัดเลือกในครั้งนี้

ตัวอ ย

่างก

ารจ

การตรวจสอบของเจาหนาที่ ( ) คุณสมบัติครบถวน ( ) คุณสมบัติไมครบถวนเนื่องจาก ................................................................................. ลงลายมือชื่อผูสมัคร ................................................................................. ............................................................... (ลงชื่อ).................................................ผูตรวจสอบ (...............................................) เลขานุการคณะกรรมการคัดเลือกฯ

(..............................................................) วันที่ เดือน ป ...................................................................

าล านเ ทศบ

071 /2553

สํานักงานเทศบาลตําบลพันดอน ถนนพิศาลสารกิจ อด 41370 หนังสืออนุญาตใหสมัครคัดเลือกเพื่อแตงตั้งพนักงานเทศบาล ใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น สําหรับตําแหนงผูบริหารของเทศบาล

บริห

ารง

ที่

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

์ นัก

ขาพเจา นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี ตําแหนง นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน เทศบาลตําบลพัน ดอน อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี เปนผูบังคับบัญชาของ นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร ตําแหนง นัก บริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 7 สังกัดเทศบาลตําบลพันดอน มาสมัครคัดเลือกเพื่อแตงตั้ง พนักงานเทศบาลใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น สําหรับตําแหนงผูบริหารของเทศบาล ตําแหนง นัก บริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 8 สังกัดเทศบาลตําบลดอนเขือง อําเภอสวางแดนดิน จังหวัด สกลนคร ตามประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อแตงตั้งพนักงานเทศบาลใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น สําหรับ ตําแหนงผูบริหารของเทศบาล มาแตงตั้งใหดํารงตําแหนงที่วางในสายงานผูบริหารของเทศบาลตําบลดอนเขือง ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2553 พิจารณาแลวเห็นวา นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร ตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 7 เปนผูมีความประพฤติดี มีความรูความสามารถในการปฎิบัติงาน เพื่อเปนการสงเสริมใหพนักงานเทศบาลมีความ กาวหนา จึงอนุญาตให นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร ตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) ระดับ 7 มาสมัครคัดเลือกเพื่อ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงสูงขึ้นตามประกาศรับสมัครฯ ขางตน ไดตามประสงค

ารจ

จึงออกหนังสือรับรองไวเปนหลักฐาน

ตัวอ ย

่างก

ใหไว ณ วันที่

เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2553

(นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี) นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน

านเ ทศบ

าล

แบบประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตําแหนง เพื่อแตงตั้งพนักงานเทศบาลใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้นสําหรับตําแหนงผูบริหารของเทศบาล ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของผูรับการประเมิน (สําหรับผูรับการประเมินกรอก)

ทัศน

์ นัก

บริห

ารง

1. ชื่อ และนามสกุลของผูรับการประเมิน นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร พ 2. วุฒิการศึกษา นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ระดับการศึกษา ปริญญาโท สถานศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง จบการศึกษาเมื่อป พ.ศ. 2551 3. เริ่มรับราชการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2535 ตําแหนง ปลัดอําเภอ (เจาพนักงานปกครอง) ระดับ 3 4. ไดปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานที่จะไดรับการพิจารณาแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในตางสายงานหรืองาน อื่นที่เกี่ยวของมาแลวไมนอยกวา 1 ป ดังนี้ (เฉพาะสายผูบริหาร) 4.1 ปลัดเทศบาลตําบลดอนเขือง จังหวัดสกลนคร รวม 3 ป 10 เดือน 4.2. ปลัดเทศบาลตําบลพันดอน จังหวัดอุดรธานี รวม - ป 2 เดือน 4.3. รวม ป เดือน

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

5. ปจจุบันดํารงตําแหนง ปลัดเทศบาล ระดับ 7 ขั้น 28,780 บาท กอง เมื่อวันที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2549 6. ประวัติการถูกดําเนินการทางวินัย (ถามี) ไมมี มี 7. ผูรับการประเมินรับรองวาขอมูลขางตนถูกตองเปนจริง

ลงชื่อ

ผูรับการประเมิน

(นายชัยสิทธิ์ นาชัยเพชร) ตําแหนง นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล 7) วันที่.............เดือน..........................พ.ศ. ............

ตอนที่ 2 การประเมินบุคคล องคประกอบที่ใชพิจารณาในการประเมิน

20

ารง

20

20

20

20

20

8

7

วิสัย

ทัศน

์ นัก

บริห

หมวด 1 องคประกอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน( 40 คะแนน) 1.1 ความรูความสามารถในการปฏิบัติงาน (ก) พิจารณาจากการศึกษา ความรู ประสบการณ ความชํานาญ ความรอบรูในงานที่ปฏิบัติและงาน อื่นที่เกี่ยวของกับตําแหนง รวมทั้งการรักษาความ ปลอดภัยแหงชาติ ฯลฯ (ข) พิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานให สําเร็จตามที่ไดรับมอบหมาย โดยคํานึงถึงความ ถูกตอง ความครบถวนสมบูรณและงานเสร็จ ทันเวลาทั้งนี้ใหรวมถึงความสามารถในการ แกปญหาเชาวปญญา และความถนัดเฉพาะงาน ฯลฯ 1.2 ความรับผิดชอบตอหนาที่ พิจารณาจากความตั้งใจ ความเต็มใจ และความ มุงมั่นที่จะทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จและ เปนผลดีแกทางราชการ การไมละเลยตองานและ พรอมที่จะรับผิดชอบตอผลของงานที่เกิดขึ้น ฯลฯ

คะแนนที่ไดรับ หมายเหตุ

านเ ทศบ

คะแนนเต็ม

าล

-2-

ารจ

ัดทำ

หมวด 2 ความประพฤติ ( 20 คะแนน) พิจารณาจากอุปนิสัย การรักษาวินัย พฤติกรรมและ ประวัติการทํางาน รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติตาม นโยบายและแบบแผนของทางราชการ ฯลฯ

ตัวอ ย

่างก

หมวด 3 คุณลักษณะและอื่นๆที่จําเปนสําหรับตําแหนง (40 คะแนน) 3.1 ความคิดริเริ่มสรางสรรค พิจารณาความสามารถในการคิดริเริ่มหาหลักการ แนวทางเทคนิควิธีการหรือสิ่งใหม ๆ มาใชประโยชน ในการทํางาน การปรับปรุงความสามารถในการ แกปญหาตาง ๆ และมีความคิดสรางสรรคในการ ทํางานยากหรืองานใหมใหสําเร็จเปนผลดี ฯลฯ

ตอนที่ 2 การประเมินบุคคล (ตอ) องคประกอบที่ใชพิจารณาในการประเมิน

8

์ นัก

ทัศน

8

8

8

8

8

100

98

ตัวอ ย

่างก

ารจ

ัดทำ

วิสัย

7

ารง

8

บริห

3.2 ทัศนคติและแรงจูงใจ พิจารณาจากทัศนคติที่ดีตอประชาชน ระบบ ราชการ ผลงานในหนาที่ แรงจูงใจและความกระตือรือรนใน การทํางาน ความจงรักภักดีตอหนวยงาน แนวคิดและความ เชื่อและอุดมการณใหสอดคลองกับนโยบายโครงการหรือ แผนงาน ที่รับผิดชอบ ฯลฯ 3.3 ความเปนผูนํา พิจารณาจากความสามารถในการมองการณไกล การตัดสินใจ การวางแผน การมอบหมายงาน การใหคําแนะนํา การพัฒนา การควบคุมงาน ความใจกวาง และยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอื่น ตลอดจนมีความลึกซึ้ง กวางขวาง รอบคอบ ยุติธรรม ฯลฯ 3.4 บุคลิกภาพและทวงทีวาจา พิจารณาจากการวางตนไดเหมาะสมกับ กาลเทศะ ความหนักแนนมั่นคงในอารมณ ความเชื่อมั่นใน ตนเอง ตลอดจนกิริยา ทาทางและทวงทีวาจาเหมาะสม ฯลฯ 3.5 การปรับตัวและมนุษยสัมพันธ พิจารณาความสามารถสวนบุคคลที่จะเขาไดกับ สถานการณสังคมและสิ่งแวดลอมใหมๆ ความยืดหยุน และ ความสามารถทํางานรวมกับผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงานและ ผูใตบังคับบัญชา ความสามารถในการติดตอประสานงานกับ ผูอื่น ฯลฯ

คะแนนที่ไดรับ หมายเหตุ

านเ ทศบ

คะแนนเต็ม

าล

-3-

รวม

-4-

าล

ตอนที่ 3 สรุปความเห็นในการประเมิน (สําหรับผูบังคับบัญชากรอก)

ารง

านเ ทศบ

ความเห็นของผูประเมิน ………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………

บริห

ลงชื่อ................................................ผูประเมิน (นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี) นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน วันที่ ...........เดือน............................. พ.ศ.

์ นัก

.................

ตัวอ ย

่างก

.................

ารจ

ัดทำ

วิสัย

ทัศน

ความเห็นของผูบังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปตามลําดับ ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน (นายพีรวัฒน เพ็งมีศรี) นายกเทศมนตรีตําบลพันดอน วันที่ ...........เดือน............................. พ.ศ.

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ

ารง

บริห

์ นัก

ทัศน

วิสัย

ัดทำ

ารจ

่างก

ตัวอ ย

าล

านเ ทศบ