แผนการสอนเศรษฐศาสตร์ ม.2 doc

-1-

-2-

บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนโคกโพธิไ์ ชยศึกษา

ท่ี 1/2563 วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

เร่อื ง ขออนญุ าตใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

เรียน ผอู้ านวยการโรงเรยี นโคกโพธิไ์ ชยศึกษา

ส่งิ ท่สี ่งมาด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 14 แผน

ด้วยข้าพเจา้ นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย โรงเรียนโคกโพธิไ์ ชยศกึ ษา อาเภอ

โคกโพธไ์ิ ชยศึกษา จงั หวดั ขอนแก่น สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 25 ได้รับมอบหมาย

ใหท้ าการสอนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา ส 22101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ความดงั แจ้งแลว้ นนั้

ในการน้ขี า้ พเจา้ ไดจ้ ัดเตรียมการสอนโดยการวเิ คราะห์ผเู้ รียนและพบสภาพท่เี ป็นปัญหาในการเรียน

การสอน จึงไดว้ างแผนเพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนในส่วนทรี่ ับผิดชอบโดยได้จัดทาแผนการเรียนรู้ทเ่ี นน้

ผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงขออนุญาตดาเนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ทแ่ี นบมาน้ี

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา

ลงชอ่ื ................................................................
(นางสาวจิดาภรณ์ ถ่นิ ตองโขบ)
ตาแหนง่ ครผู ูช้ ่วย

ความเห็นหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ................................................................
(นางไพรจิตร บ้านเหลา่ )

หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ความเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มงานวชิ าการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ...............................................................
(นางพรพิรุณ แจง้ ใจ)

ตาแหน่ง หัวหน้ากล่มุ งานวชิ าการ
ความเหน็ ผู้บรหิ าร
...................................................................................... .................................................................. ...............

ลงชอื่ ...............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์ )

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธิไ์ ชยศึกษา

- 3 -ก

คานา

พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียน
เป็นสาคัญซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาทักษะภาษาในการส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่าง เต็มศักยภาพ ซ่ึง
สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 มีหลักการพัฒนาคนไทยให้เป็นคนดี มีวินัยใน
ตนเอง ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ ก้าวทันสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
พร้อมท้ังปลูกฝังให้รักท้องถิ่นและมีจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ได้จดั เน้ือหาท่ีทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งเหล่านี้ ได้อย่างสมบูรณ์ในมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันท่ี
3 (ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-3)

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาสังคมศกึ ษา เลม่ น้ี ได้เสนอกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ที่นักเรียนมีโอกาส
ได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความคิดเห็น ปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระ และสร้างสรรค์ มีความสุขในการเรียน ซ่ึง
ประกอบ ด้วยแผนการจดั การเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา สาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ จานวน 16 แผน ใช้เวลา 40
ช่ัวโมง โดยมีการวัดและประเมนิ ผลทถ่ี กู ต้อง เพ่อื ประเมินความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ของนักเรียน

ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ แผนการจดั การเรียนรเู้ ล่มน้ี คงเป็นประโยชน์ตอ่ การจดั กิจกรรม
การเรยี นการสอนวิชาสังคมศึกษา ทาให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกับนักเรียน และเกิดผลดีต่อสถานศึกษา
ตลอดจนเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีสนใจ

นางสาวจดิ าภรณ์ ถ่นิ ตองโขบ
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย

สารบัญ - 4 ข-
เรื่อง
คานา ข
สารบัญ
ตอนท่ี 1 สว่ นนา หนา้

วสิ ัยทัศน์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ข
วสิ ัยทัศนห์ ลกั สูตรโคกโพธ์ิไชยศกึ ษา
วสิ ัยทศั น์หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 5
สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 5
ตอนที่ 2 การวิเคราะหห์ ลักสูตร 6
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร 7
คาอธิบายรายวิชา
โครงสรา้ งรายวชิ า 10
โครงสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ 13
ตอนที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เศรษฐศาสตร์ 14
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง การออมและการลงทุน 15

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความสาคญั และปจั จัยการออม 17
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 การออมอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 31
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 ความสาคัญและแหล่งท่ีมาของการลงทนุ 45
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 การลงทุน 59
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การผลิตสินค้าและบริการ
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 5 ข้นั ตอนการผลิตสินค้า 78
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 ปจั จยั ในการผลิต 90
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 หลักการผลติ สนิ ค้าและบริการ 100
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินคา้ และบริการ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 หลกั การและเปา้ หมายของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 113
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 เศรษฐกจิ พอเพยี งกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถน่ิ 128
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 การผลิตสินคา้ และบริการ ในทอ้ งถ่ิน 137
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การคุ้มครองผูบ้ ริโภค
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 สทิ ธผิ ้บู ริโภค 148
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 กฎหมายคมุ้ ครองผู้บริโภค 160
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 การปกป้องคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 174
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ระบบเศรษฐกจิ การพง่ึ พา การแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชยี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ระบบเศรษฐกิจ 190
ตอนท่ี 4 แบบประเมนิ 211

-5-

วสิ ัยทัศน์หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่
มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดม่ัน
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญบนพื้นฐานความเชือ่ ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มหี ลกั การทสี่ าคัญ ดังน้ี
1.เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพอ่ื ความเปน็ เอกภาพของชาติมีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรูเ้ ปน็

เปา้ หมายสาหรบั พฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคูก่ บั ความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่นิ

4. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหย่นุ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ดังนี้

1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ติ
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนิสัย และรกั การออกกาลงั กาย
4. มีความรักชาติ มจี ติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยดึ ม่นั ในวิถชี วี ิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

5. มีจิตสานกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะที่ม่งุ ทาประโยชน์และสรา้ งสิ่งที่ดงี ามในสงั คม และอย่รู ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

วิสยั ทัศนโ์ รงเรยี นโคกโพธไิ์ ชยศึกษา
โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา มงุ่ พัฒนาผู้เรยี น ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา สคู่ วามเป็นสากล

ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ภายในปี 2565

-6-

พนั ธกิจ (MISSION)

1. สง่ เสรมิ คณุ ภาพผเู้ รียนใหใ้ หไ้ ดม้ าตรฐานการศกึ ษา
2. พัฒนาผ้เู รียนสู่มาตรฐานสากล
3. พฒั นาครูและบคุ ลากรตามมาตรฐานวิชาชีพมงุ่ สูค่ วามเป็นมอื อาชีพ
4. เพิม่ ประวิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การไดม้ าตรฐานโดยมสี ว่ นรว่ ม
5. สง่ เสรมิ ให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผเู้ รยี น ดาเนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เป้าประสงค์ (GOAL)

1. ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม นาความรู้ อยูร่ ่วมสงั คมอยา่ งมคี วามสุข
2. ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพตามเปาหมายของมาตรฐานสากล
3. ครู และบุคลากรมีความเปน็ มืออาชพี
4. มกี ารบรหิ ารจดั การได้มาตรฐานอยา่ งมีคุณภาพ โดยเน้นการมสี ่วนร่วม ผู้รับบรกิ ารพึงพอใจ
5. ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากร และนักเรยี นมีทกั ษะชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กลยทุ ธ์โรงเรียน

1. พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานสากล
3. สง่ เสรมิ ครูและบคุ ลากรส่มู ืออาชพี
4. สง่ เสรมิ การบริหารจัดการใหไ้ ดม้ าตรฐานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยเนน้ การมีส่วนรว่ ม

5. สง่ เสริมผบู้ รหิ าร ครู บุคลากร และนกั เรยี นมที กั ษะชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นกลุ่มสาระที่พัฒนาความคิดของมนุษย์

ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองมีวิสัยทัศน์ พร้อมที่จะแข่งขันและ
ร่วมมอื อย่างสร้างสรรคต์ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในปี 2554

พันธกจิ
1. บรหิ ารการจดั การเรยี นการสอนวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โดยยึดผ้เู รยี นเป็นสาคัญ

มุ่งเน้น ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ / ประสิทธิผล ตามหลักธรรมาภิบาล และหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. จัดบรรยากาศสงิ่ แวดลอ้ มภายในโรงเรยี นที่เออ้ื ต่อการเรียนร้แู ละสง่ เสริมการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้

ภายนอกโรงเรียน
3. สร้างความพร้อมและพัฒนาบุคลากรในด้านการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

เป้าประสงค์
นักเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียน มีศักยภาพในการศึกษาต่อ

ประกอบอาชีพและดารงชวี ิตในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

กลยุทธ์

-7-

1. พัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม เชิงบรู ณาการให้ผเู้ รียนได้พัฒนาบรรลุตามสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และทักษะการดารงชวี ิตไดต้ ามศักยภาพ

2. เสริมสร้างศกั ยภาพบุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ให้เป็น
ครูมืออาชีพมที กั ษะในการปฏิบัตงิ านสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้และพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ

3. พัฒนาสมรรถนะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้และบริหารจัดการเพื่อให้เกิด
ประโยชนส์ งู สุด

4. จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียนใหเ้ อ้อื ต่อการเรยี นรู้
5. ใช้กระบวนการวจิ ยั เพื่อพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นโคกโพธ์ิไชยศกึ ษา มุ่งใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถา่ ยทอดความคดิ ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ
เลือกใช้วิธกี ารส่อื สาร ท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเี่ ผชญิ ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พันธ์และการ
เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความร้มู าใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไข
ปญั หา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆ ไปใช้ใน
การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง การทางาน และการอยูร่ ว่ มกันใน
สังคมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรับตัวใหท้ ันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู ักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ทสี่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 ประการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้

สามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู น่ื ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

-8-

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. ม่งุ มั่นในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์เพ่มิ เติมให้สอดคล้องตามบริบทและ
จดุ เน้นของตนเอง

ทาไมตอ้ งเรยี นสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สังคมโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ วา่ มนุษย์ดารงชีวติ อย่างไร ทง้ั ในฐานะปัจเจกบคุ คล และการ
อยรู่ ่วมกันในสงั คม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อยา่ งจากัด นอกจากนี้ ยังช่วย
ให้ผ้เู รียนเขา้ ใจถึงการพฒั นา เปลยี่ นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ตา่ งๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน
ตนเอง และผู้อ่ืน มคี วามอดทน อดกล้นั ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้
ในการดาเนินชีวติ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

เรยี นรอู้ ะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมวา่ ดว้ ยการอยูร่ ว่ มกันในสงั คม ท่ีมีความเชอ่ื ม

สัมพนั ธ์กนั และมีความแตกตา่ งกันอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้สามารถปรบั ตนเองกับบรบิ ทสภาพแวดล้อม
เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม โดยได้กาหนดสาระ
ตา่ งๆไว้ ดงั นี้

 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม
ของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่
รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาเพ็ญประโยชน์ต่อ
สงั คมและส่วนรวม

 หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็น
พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้าน
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน
สังคมไทยและสงั คมโลก

 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

-9-

 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ
มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก
เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย
วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แหล่งอารยธรรมทส่ี าคัญของโลก

 ภมู ิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ
ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนทีแ่ ละเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของส่ิง
ตา่ งๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนษุ ยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งท่มี นุษย์สร้างขึ้น การ
นาเสนอข้อมูลภมู ิสารสนเทศ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาที่ยง่ั ยืน

- 10 -

ตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตร รายวิชา สังคมศกึ ษา รหสั วชิ า ส 22101

ภาคเรียนที่ 1 ผสู้ อน นางสาวจิดาภรณ์ ถิน่ ตองโขบ

จานวน 1.5 หนว่ ยกิต 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2

สดั สว่ นคะแนน ระหว่างภาค ปลายภาค = 70 : 30

มาตรฐานรายวชิ า ตัวชี้วดั ช่วงชั้น/ช้นั ปี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและ ม 2/1 วิเคราะหป์ จั จยั ที่มีผลตอ่ 1. นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้า
สามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากร การลงทนุ และการออม เกยี่ วกับการลงทุนและการออม(K)
ในการผลิตและการบริโภค การใช้ 2. นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์และ
ทรัพยากรที่มีอยจู่ ากดั ได้อยา่ งมี อธิบายความสาคัญของปจั จัยท่ีมี
ประสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทง้ั ผลต่อการลงทนุ และการออมได้
เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ (P)
พอเพยี ง เพือ่ การดารงชีวติ อย่างมี 3. นกั เรียนเห็นคุณค่าความสาคญั
ดลุ ยภาพ ของการลงทุนและการออม(A)

ม 2/2 อธบิ ายปัจจัยการผลิตสนิ ค้า 1. นกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้
และบรกิ าร และปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ล เก่ยี วกับปจั จัยการผลิตสนิ คา้ และ
ตอ่ การผลติ สนิ คา้ และบริการ บรกิ าร และปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่

การผลิตสนิ ค้าและบริการ K)
2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์
ข้อมลู และมีทักษะเกยี่ วกบั ปจั จัย
การผลติ สินคา้ และบริการ และ
ปจั จยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การผลติ
สินค้าและบรกิ าร (P)
3. นกั เรยี นมีเจตคติท่ดี ีในเรื่อง
ปจั จัยการผลิตสินคา้ และบริการ
และปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การผลิต
สนิ ค้าและบรกิ าร(A)

ม 2/3 เสนอแนวทางการ 1. นกั เรียนมีความเข้าในแนว
พฒั นาการผลติ ในท้องถ่ินตาม ทางการพฒั นาการผลิตในท้องถนิ่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(K)
2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์
ข้อมูลเกย่ี วกับแนวทางการ
พัฒนาการผลติ ในทอ้ งถ่ินตาม
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง(P)

- 11 -

มาตรฐานรายวิชา ตัวช้วี ัดชว่ งชั้น/ชัน้ ปี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3. นกั เรียนมเี ห็นคุณคา่
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถ ม 2/3 เสนอแนวทางการ ความสาคัญของการแนวทางการ
พัฒนาการผลติ ในท้องถิน่ ต
บรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิต พัฒนาการผลิตในท้องถน่ิ ตาม ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง(A)

และการบรโิ ภค การใช้ ทรัพยากรท่ี ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. นกั เรียนมีความรคู้ วามเขา้
เกย่ี วกบั คุ้มครองสิทธิของตนเอง
มีอยจู่ ากัดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ในฐานะผู้บริโภค(K)
2. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์และ
และคุม้ ค่า รวมทง้ั เขา้ ใจหลกั การ อภิปรายความสาคัญของแนว
ทางการคุ้มครองสทิ ธขิ องตนเอง
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพือ่ การ ม 2/4 อภิปรายแนวทางการ ในฐานะผูบ้ รโิ ภค(P)
3. นักเรียนเห็นคุณค่าความสาคญั
ดารงชวี ติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ คมุ้ ครองสิทธิของตนเองในฐานะ ของการคุม้ ครองสทิ ธขิ องตนเองใน
ฐานะผบู้ ริโภค
ผูบ้ ริโภค 1. นกั เรยี นมคี วามรเู้ กี่ยวกบั ระบบ
เศรษฐกิจแบบต่างๆ
มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ ม 2/1 อภิปรายระบบเศรษฐกิจ (K)
และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ แบบต่างๆ 2. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์และ
ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจและ อภิปรายระบบเศรษฐกจิ แบบ
ความจาเป็นของการรว่ มมอื กัน ต่างๆ
ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก (P)
3. นักเรียนเหน็ คณุ ค่าความสาคัญ
ของระบบเศรษฐกิจ(A)

ม 2/2 ยกตัวอย่างที่สะทอ้ นใหเ้ ห็น 1. นกั เรียนมีความรู้เกีย่ วกบั การ
การพ่งึ พาอาศยั กัน และการ พึ่งพาอาศัยกนั และการแขง่ ขัน
แข่งขนั กันทางเศรษฐกิจในภูมิภาค กนั ทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชีย
เอเชยี (K)

2. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์และ
ยกตวั อยา่ งเกยี่ วกับการพึ่งพา
อาศัยกนั และการแข่งขันกันทาง
เศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชยี (P)
3. นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าความสาคญั
ของการพึ่งพาอาศยั กนั และการ
แข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ ใน
ภูมิภาคเอเชยี (A)

- 12 -

มาตรฐานรายวชิ า ตวั ชี้วัดชว่ งชัน้ /ช้ันปี จุดประสงค์การเรยี นรู้

มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ ม 2/3 วเิ คราะห์การกระจายของ 1. นักเรยี นมีความรู้เก่ียวกบั การ
และสถาบันทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ทรพั ยากร ในโลกท่สี ่งผลต่อ กระจายของทรัพยากร ในโลกท่ี
ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจและ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ ส่งผลต่อความสัมพนั ธท์ าง
ความจาเป็นของการร่วมมอื กัน ระหว่างประเทศ เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ(K)
ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก 2. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์การ
กระจายของทรัพยากร ในโลกท่ี
ส่งผลต่อความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศได้(P)
3. นักเรียนเห็นคณุ ค่าความสาคัญ
ของการกระจายของทรัพยากร
ในโลกทีส่ ง่ ผลต่อความสัมพนั ธ์
ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ(A)

ม 2/4 วิเคราะห์การแข่งขันทาง 1. นักเรยี นมีความรู้เก่ยี วกบั การ
การค้าในประเทศและตา่ งประเทศ แข่งขันทางการคา้ ในประเทศและ
ส่งผลต่อ คณุ ภาพสนิ คา้ ปรมิ าณ ตา่ งประเทศส่งผลตอ่ คุณภาพ
การผลิต และ ราคาสนิ ค้า สินคา้ ปรมิ าณการผลิต และ
ราคาสนิ ค้า(K)
2. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์การ
แข่งขนั ทางการค้าในประเทศและ
ต่างประเทศส่งผลต่อ คุณภาพ
สินคา้ ปรมิ าณการผลิต และ
ราคาสินคา้ ได้(P)
3. นกั เรียนเห็นคณุ ค่าความสาคัญ
ของการแข่งขนั ทางการคา้ ใน
ประเทศและต่างประเทศส่งผลตอ่
คุณภาพสนิ ค้า ปริมาณการผลติ
และ ราคาสินคา้ (A)

- 13 -

รายวิชา เศรษฐศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ า
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 20 ชั่วโมง รหัสวชิ า ส22101
จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ การพ่ึงพาอาศยั กนั และการแขง่ ขนั กันทางเศรษฐกจิ ใน
ภูมิภาคเอเชีย การกระจายของทรัพยากรในโลกทสี่ ่งผลต่อความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ การ
แข่งขนั ทางการค้าในประเทศและตา่ งประเทศทสี่ ่งผลต่อคุณภาพสินค้า ปริมาณการผลติ และราคาสินค้าปัจจยั
ที่มผี ลต่อการลงทุนและการออม ปจั จยั การผลิตสนิ คา้ และบริการ และปจั จยั ท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การผลิตสนิ ค้าและ
บริการเสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตในท้องถิน่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การค้มุ ครองสิทธิของ
ตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค

โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปญั หา กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลมุ่

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ สามารถใชท้ รัพยากรทม่ี ีอยจู่ ากัดไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า เข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการดารงชีวติ สามารถสอ่ื สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้
มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นด้านมีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มั่นในการทางาน มีจติ
สาธารณะ อยู่อยา่ งพอเพยี ง

ตวั ชีว้ ดั
ส 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวม 8 ตวั ชี้วดั

- 14 -

โครงสร้างรายวชิ า วิชาสังคมศกึ ษา ส 2210 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1

ลาดบั ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคัญ เวลา
ที่ ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง)

1 การออมและการลงทนุ ส 3.1 ม.2/1 ปัจจยั สาคญั ที่มผี ลต่อการลงทุนและการ 5
ออมมหี ลายประการ ซ่ึงการลงทนุ และการ
ออมล้วนมีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจ

2 การผลิตสินค้าและบริการ ส 3.1 ม.2/2 การผลติ สนิ คา้ และบริการอย่างมี 3
ประสทิ ธภิ าพนั้น ย่อมมีหลักการผลิตและ
ใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม
ซึง่ ปจั จยั การผลติ และปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลต่อ
การผลิตสินคา้ และบริการมีหลายประการ

3 เศรษฐกิจพอเพียงกับ ส 3.1 ม.2/3 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมีหลักการ 4
การผลิตสินค้าและ และเปา้ หมายสาคัญท่ีสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาการผลิตสินค้า
บริการ และบรกิ ารในทอ้ งถิน่ ซงึ่ จะส่งผลดีตอ่
เศรษฐกจิ ของชุมชน

4 การคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค ส 3.1 ม.2/4 การคุม้ ครองสิทธิของตนเองในฐานะ 4
ผบู้ รโิ ภค เป็นไปตามกฎหมายคมุ้ ครอง
ผ้บู รโิ ภคโดยดาเนินกจิ กรรมพิทักษส์ ิทธิ
และผลประโยชน์ตามกฎหมาย
ในฐานะผบู้ ริโภค

5 ระบบเศรษฐกจิ การ ส 3.2 ม.2/1 การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ 4
แตล่ ะประเทศมคี วามแตกตา่ งกันไปตาม
พง่ึ พา การแขง่ ขันทาง ม.2/2 ระบบเศรษฐกิจ ประเทศใน
ภูมิภาคเอเชยี ลว้ นมีการพง่ึ พาอาศยั กัน
เศรษฐกิจในทวปี เอเชยี ม.2/3 และแข่งขนั กนั ทางเศรษฐกิจ มีการ
กระจายทรัพยากร ซงึ่ ส่งผลดตี ่อ
ม.2/4 ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ระหวา่ ง
ประเทศ คณุ ภาพสนิ คา้ การผลติ

และราคาสินค้า

- 15 -

โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้

สังคมศึกษา 3 ส 22101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

ภาคเรียนที่ 1 จานวน 0.5 หน่วยกติ 3 ช่วั โมง ตอ่ สปั ดาห์

สัดสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค ปลายภาค = 70 : 30

หน่วยการเรียนรู้/แผนการ เรื่อง เวลา

จัดการเรียนรู้ (ชัว่ โมง)

สาระการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์ 1
4
ปฐมนิเทศ 1
1
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การออมและการลงทุน 1
1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความสาคญั และปจั จยั การออม 3
1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การออมอยา่ งมีประสิทธิภาพ 1
1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 ความสาคัญและแหลง่ ท่ีมาของการลงทุน 4
1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การลงทนุ 1
2
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การผลติ สินคา้ และบรกิ าร 4
1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 ข้ันตอนการผลติ สนิ ค้า 1
2
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 ปจั จยั ในการผลติ 3
3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 หลกั การผลิตสนิ ค้าและบริการ 1
20
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสนิ ค้าและบริการ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 หลักการและเปา้ หมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 การผลิตสนิ ค้าและบริการ ในทอ้ งถิ่น

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 เศรษฐกจิ พอเพียงกับการผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารในท้องถนิ่

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 สทิ ธผิ บู้ รโิ ภค

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 การปกป้องคุ้มครองผ้บู ริโภค

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ระบบเศรษฐกิจ การพงึ่ พา การแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชีย

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 14 ระบบเศรษฐกจิ

สอบกลางภาค

รวมท้ังสิน้

- 16 -

แผนการจดั การเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การออมและการลงทนุ

- 17 -

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง การออมและการลงทนุ ภาคเรยี นที่ 1

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1 ความสาคญั และปัจจัยการออม เวลา 1 ชว่ั โมง

ผู้สอน นางสาวจิดาภรณ์ ถ่ินตองโขบ

1.สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ปจั จยั สาคัญที่มผี ลต่อการออมมหี ลายประการ การออมมคี วามสาคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ

2.ตวั ช้ีวดั /จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 ตวั ชี้วดั
ส 3.1 ม.2/1 วิเคราะหป์ จั จยั ท่มี ีผลต่อการลงทุนและการออม
2.2 จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการออมท่ีมผี ลต่อระบบเศรษฐกจิ ได้
2) วิเคราะหป์ จั จยั ท่ีมีผลตอ่ การออมได้

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) ความหมายและความสาคัญของการออมต่อระบบเศรษฐกจิ
2) ปจั จยั ของการออม คือ อตั ราดอกเบ้ยี รวมทั้งปจั จัยอ่ืนๆ เช่น ค่าของเงนิ เทคโนโลยี การ

คาดเดาเกีย่ วกับอนาคต
3.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน
(พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา)

4 สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
4.1 ความสามารถในการส่อื สาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการรวบรวมข้อมูล
2) ทกั ษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการสร้างความรู้
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 2. ใฝ่เรียนรู้
1. มวี นิ ัย

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธสี อนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมอื : เทคนิคการเรียนรว่ มกัน

- 18 -

ขัน้ นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูนาตวั อยา่ งบุคคลทีป่ ระสบความสาเรจ็ ในชวี ติ มีการดาเนินชวี ิตท่ีแสดงว่าเปน็ ผูร้ ู้จักออม

แล้วให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ว่า เพราะเหตุใด บุคคลดังกลา่ วจึงประสบความสาเร็จ และแนวทางการนา
แบบอย่างไปประยกุ ตป์ ฏิบัติ

2. ครอู ธิบายเชอ่ื มโยงใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจถึงความหมายและความสาคัญของการออม
ขั้นสอน

1.ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แล้วใหส้ มาชกิ แตล่ ะกล่มุ ร่วมมอื
กันศกึ ษาความรู้และอภปิ รายรว่ มกนั ในหัวข้อ ความหมายและความสาคญั ของการออม และปัจจยั ของการ
ออมเงิน

2.นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มมือกันทาใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความสาคัญและปัจจยั การออม โดยใหส้ มาชกิ
แตล่ ะคนมีหนา้ ที่ ดังนี้

- สมาชกิ หมายเลข 1 อ่านกรณีศกึ ษา แยกแยะประเด็นใหช้ ดั เจน
- สมาชกิ หมายเลข 2 รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคาถาม
- สมาชกิ หมายเลข 3 ตอบคาถาม
- สมาชิกหมายเลข 4 ตรวจสอบความถูกต้อง
3.สมาชิกแต่ละคนในกล่มุ จะหมนุ เวยี นเปลยี่ นหนา้ ทีใ่ นการตอบคาถามในใบงานท่ี 1.1 จนเสร็จทุกข้อ
4.ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั เฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.1 สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันตรวจสอบความถูก
ต้องของ ใบงาน

ขัน้ สรุป
นักเรยี นช่วยกันสรุปเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ และปัจจยั การออม ครชู ่วยอธิบายเพ่ิมเติมให้

นกั เรียนมคี วามเข้าใจชัดเจน

7. การวดั และประเมนิ ผล

วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์

ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ร้อยละ 50 ผา่ นเกณฑ์

11

ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจแบบบันทกึ การอ่าน แบบบนั ทึกการอ่าน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

สังเกตความมวี ินยั และใฝ่เรียนรู้ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

- 19 -

8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี น เศรษฐศาสตร์ ม.2
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.2
3) หนังสอื คน้ คว้าเพิ่มเติม
(1) จรนิ ทร์ เทศวานติ . 2545. การเงินและการธนาคาร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
(2) เพชรรี ขมุ ทรัพย์. 2540. หลกั การลงทุน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั
ธรรมศาสตร์.
4) ตัวอยา่ งข่าว
5) ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ความสาคัญและปจั จัยการออม

8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- www.panyathai.or.th/wiki/index.php/เศรษฐศาสตร์
- www.oknation.net/blog/financial-literacy/2009/07/.../entry-1

- www.manager.co.th/family/ViewNews.aspx?NewsID=9550000077396
- www.nationejobs.com/content/Money/sbenefit/template.php?conno=371

- 20 -

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. การกระทาข้อใดสอดคล้องกับความหมายของ 6. ถา้ รฐั บาลประเมนิ สถานการณท์ างเศรษฐกิจวา่
แนวโน้มขยายตัวเศรษฐกจิ โดยรวมดี จะสง่ ผลใน
การออม ขอ้ ใด
ก. ประชาชนใช้จา่ ยเพ่มิ ขน้ึ ตามภาวะเศรษฐกจิ
ก. อน้ ฝากเงนิ แมท่ ุกเดือน ทข่ี ยายตัว
ข. การออมเงนิ มีจานวนมากข้นึ กว่าเดมิ
ข. เอกฝากธนาคารเดือนละ 500 บาท ค. การลงทุนและการออมสมั พนั ธ์กัน
ง. การใช้จา่ ยเงนิ คล่องตัว
ค. เอ๋นาเงนิ ทเี่ หลือจากคา่ ใชจ้ า่ ยฝากธนาคาร
7.การบริการเบิกถอนเงนิ อัตโนมตั ิ (ATM) มผี ลสาคัญ
ง. ออมนาเงนิ คา่ อาหารกลางวันหยอ่ นลงใน อย่างไร
ก. การออมทรัพย์น้อยลง
กระปกุ ออมสนิ ข. การใช้จา่ ยเงนิ ฟุ่มเฟือย
ค. การใชเ้ งินค่อนข้างสะดวกสบาย
2. การนาเงนิ ออมไปใชใ้ นเร่ืองใด ทส่ี ง่ ผลตอ่ การ ง. ประชาชนต้องปรับตนต่อการเปลย่ี นแปลง

พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศมากทีส่ ุด 8. การกระทาข้อใดจัดเปน็ การออมระยะยาว
ก. เกอ๋ อมเงนิ ไวซ้ ้ือบ้าน
ก. ซอื้ รถยนต์ ข. ซ้ือพันธบตั รรัฐบาล ข. แกว้ ออมเงนิ ไวเ้ ปน็ ทนุ การศกึ ษาแกล่ ูก
ค. โก้ออมเงินไว้ใช้จา่ ยเม่อื ออกจากงานเพราะ
ค. ฝากธนาคารออมสินง. ซ้ือสลากกินแบ่ง ชรา
ง. กุง้ ออมเงินไว้เปน็ ค่ารักษาพยาบาลในยาม
รฐั บาล เจ็บปว่ ย

3. ขอ้ ใดจดั เปน็ รายไดส้ ุทธิสว่ นบคุ คล 9. การออมทีเ่ ก็บรวบรวมไวใ้ ช้จา่ ยตามแผนที่
กาหนดนั้น จะต้องปฏบิ ัติอยา่ งไร
ก. รายได้ของบุคคลตลอดปหี ักด้วยรายจ่าย ก. กาหนดเป้าหมายในการออมแต่ละเดอื น
ข. ผู้ออมจะต้องมจี ิตใจทเี่ ข้มแข็ง
ข. รายได้ของบุคคลท่ีต้องนาไปคานวณภาษี ค. มกี ารวางแผนอย่างมีขนั้ ตอน
ง. นาสง่ ธนาคารตรงตามเวลา
ค. รายไดข้ องบุคคลท่ีได้หักภาษเี งนิ ได้สว่ น
10. ขอ้ ใด ไมจ่ ัดเป็นหลกั เกณฑ์สาคัญในการ
บุคคล ออกแลว้ พิจารณา การนาเงนิ ออมไปลงทุน
ก. ความปลอดภัยของเงินออม
ง. รายไดข้ องบุคคลที่เปน็ สมาชิกของครอบครวั ข. อตั ราดอกเบย้ี หรือปนั ผลจากเงนิ ออม
ค. การเสยี ภาษผี ลตอบแทนจากเงนิ ออม
นามารวมกนั ง. ความนา่ เชอื่ ถือของผู้บรหิ ารจัดการเงินออม

4. ถ้าธนาคารพาณิชย์ปรบั อตั ราดอกเบี้ยเงินฝาก

สูงขึ้นกวา่ เดมิ จะมผี ลดีต่อดา้ นใด

ก. การออม ข. การลงทุน

ค. การทาธุรกจิ ง. ประชาชนทีส่ ูงอายุ

5. ถ้าประชาชนคาดคะเนว่า รฐั บาลจะเพิ่มอัตรา

ภาษีตา่ งๆ จะส่งผลสาคญั ตอ่ การออมในข้อใด

มากทีส่ ุด

ก. การออมลดลง

ข. การออมเพิม่ ขน้ึ

ค. ประชาชนเกิดความสบั สน

ง. ประชาชนจะเกบ็ เงินออมไว้กับบ้าน

- 21 -

11. เพราะเหตุใด รัฐบาลมกั ดาเนินนโยบายอัตรา 16. เมอ่ื มีข่าวสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับความไม่สงบใน

ดอกเบยี้ ต่าในภาวะเศรษฐกิจตกตา่ บา้ นเมอื ง จะส่งผลให้นักธรุ กิจตา่ งชาติไม่กล้า

ก. เพอื่ กระต้นุ ใหป้ ระชาชนนาเงินออกไปใชจ้ า่ ย ลงทนุ ในตลาดหลักทรัพยน์ นั้ สอดคลอ้ งกับ

เพอ่ื ให้เมด็ เงินหมุนเวยี นในระบบเศรษฐกจิ ข้อความใด

ข. เพื่อใหป้ ระชาชนฝากเงนิ ในธนาคารให้มาก ก. สถาบันการเงินชะลอการให้กู้ยืมเงนิ มาลงทุน

ข้ึน ข. การลงทุนในตลาดหลักทรพั ย์มีความไม่

ค. เพ่ือเพ่ิมปริมาณเงนิ หมุนเวยี นในตลาดใหม้ าก มน่ั คง

ขน้ึ ค. ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ งๆ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่

ง. เพอ่ื ลดชอ่ งวา่ งทางการออมและการลงทนุ เสมอ

12.การลงทุนก่อใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ใครบ้าง ง. การลงทนุ ในระยะนนั้ อาจก่อใหเ้ กดิ ปัญหา

ก. ประชาชนทไี่ ดร้ ับปันผลจากการลงทนุ ความไม่คมุ้ ทนุ

ข. นักธรุ กจิ ผู้ผลิต ผ้บู ริโภค 17.เพราะเหตุใด ประชาชนสว่ นใหญ่นยิ มการลงทนุ

ค. ผู้ออม นกั ธุรกจิ ประเทศ ในรปู แบบฝากธนาคาร

ง. ผู้ออม และนกั ลงทนุ ก. การประชาสมั พนั ธข์ องธนาคารตา่ งๆ ไปสู่

13. ขอ้ ใดจดั เป็นการลงทุนในหลักทรพั ย์ ประชาชนไดร้ วดเรว็ กว่าธุรกิจการลงทุน

ก. ตาลซ้ือพนั ธบตั รรัฐบาล แบบอนื่

ข. ตั้มลงทุนซื้อคอนโดมิเนียมไวข้ าย ข. ขาดความรู้ความเขา้ ใจในการลงทนุ และ

ค. โตชวนผลติ สินค้าโอทอป (OTOP) ไมกลา้ เสยี่ งลงทนุ ในรปู แบบอน่ื

ง. เตช้ วนเพอื่ นเปดิ ร้านซ่อมโทรศพั ท์มอื ถอื ค. เศรษฐกจิ ของประเทศมคี วามผันผวน

14. ถา้ นักเรียนมเี งินจานวนห้าแสนบาท ควรจะ เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา

ตัดสนิ ใจเลอื กลงทุนประเภทใดจงึ จะมีความ ง. ปรมิ าณเงนิ ฝากของประชาชนส่วนใหญม่ ี

ปลอดภยั ในการลงทนุ จานวนน้อย

ก. ซ้อื หุ้นทุน 18. การท่กี ลุ่มประชาชนในชนบทตั้งกลุม่ ออม

ข. ซื้อทด่ี ินไวข้ าย ทรัพย์ และนาเงนิ ไปลงทุนผลติ สนิ ค้าจาหนา่ ย

ค. ซอ้ื พันธบตั รรัฐบาล น้ันสอดคลอ้ งกับข้อความใด

ง. ซ้ือร้านขายดอกไม้ ก. สรา้ งคน สร้างงาน

15. การทีน่ กั ลงทนุ ซ้ือหนุ้ ในธรุ กจิ ต่างๆ เพ่ิมขึ้น ข. สรา้ งงาน สร้างอาชพี

จานวนมาก สอดคล้องกบั ข้อความใด ค. สรา้ งรายได้ สร้างคน

ก. การคาดคะเนวา่ ภาวะเศรษฐกิจใน ง. สรา้ งผนู้ า สรา้ งความเจรญิ เติบโต

อนาคตจจะขยายตวั เพ่มิ ขึ้นอยา่ งต่อเน่อื ง 19. ข้อความใด ทแ่ี สดงถึงความสัมพนั ธ์ของการ

ข. ชาวตา่ งชาตมิ คี วามพึงพอใจใน ออมและการลงทนุ อย่างเหมาะสม

สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ ไทย ก. เกบ็ สะสมเงินใหม้ ากท่ีสดุ แล้วนาไปให้

ค. รฐั บาลประกาศเชิญชวนใหน้ ักลงทุนมา ผอู้ ื่นกู้ เพื่อการลงทุนค้าขาย

ลงทนุ ข. เกบ็ สะสมเงินท่เี หลือจากคา่ ใช้จา่ ยนาไป

ง. ค่าของเงนิ เปล่ยี นแปลงไม่มาก ซอื้ พนั ธบัตรรฐั บาล

ค. นาเงนิ รายได้ทั้งหมดที่มีอยู่ไปลงทุนซ้อื

ขายที่ดนิ

ง. นาเงินทม่ี ีอยู่ไปฝากธนาคาร เพ่ือจะได้

- 22 -

ดอกเบ้ยี
20. ข้อใด ไมจ่ ดั วา่ เป็นปัญหาสาคัญของการลงทนุ

ในประเทศไทย
ก. ภาคชนบทมีการลงทนุ นอ้ ย
ข. ความผนั ผวนของภาวะเศรษฐกิจ
ค. ประชากรไทยส่วนใหญม่ รี ายได้ต่า
ง. ทรพั ยากรธรรมชาติกาลังจะหมดไป

เฉลย
1. ค 2. ข 3. ค 4. ก 5. ก 6. ก 7. ก 8. ค 9. ก 10. ง
11. ก 12. ค 13. ก 14. ค 15. ก 16. ข 17. ข 18. ข 19. ก 20. ง

- 23 -

ตวั อย่างข่าว

เปิดประสบการณ์ครอบครวั มนุษยเ์ งนิ เดือนซ้อื บา้ น “เงินสด”

คณุ สพุ ชิ ฌาย์ ภรรยาผู้อย่เู บ้ืองหลงั ความสาเรจ็ ด้านการเงินของครอบครัว เธอไดเ้ ล่าย้อนถงึ อดีต ซ่งึ เปน็ จุดเริ่มต้นที่เธอ
และสามไี ด้คบหาดใู จกัน และวางแผนอนาคตร่วมกันวา่ “สว่ นตัวและสามีเปน็ พนกั งานบริษัทธรรมดาๆ ไม่แตกต่างจากมนุษย์
เงินเดือนคนอื่น งานของเธอนั้นเป็นงานเลขานุการ เงนิ เดือนหมื่นกว่าบาท สามเี ป็นวิศวกร เงินเดือนประมาณสองหม่ืน รวมกัน
สองคนก็สามหมื่นกว่าบาทเท่านน้ั เอง”

แม้แฟนจะมีรายได้มากกว่าเธอเท่าหนึ่ง แต่ไม่มีการเก็บออมเงนิ อีกทงั้ ยังมหี น้ีบัตรเครดิต ส่วนตัวเธอนั้นกลับมเี งินเกบ็
มากกวา่ เมอื่ เป็นเชน่ น้ัน เธอและแฟนจงึ ได้พูดคุยกัน และวางแผนเร่ืองการเกบ็ ออมเงินเพื่ออนาคต เธอเลา่ ว่าไดใ้ ช้สูตรเกบ็
70% ใช้ 30% อาจเปน็ ตัวเลขที่มนุษย์เงินเดือนหลายคนไม่เชื่อหู แตท่ ัง้ สองก็เก็บเงินจากรายได้ในแต่ละเดือนดว้ ยตัวเลขน้ี
อาจดูไม่มากนกั แต่กเ็ พยี งพอต่อ “ความตอ้ งการพื้นฐานในชวี ิต”

“ในช่วงแรกๆ สามปี รับตัวลาบาก ก็เลยคยุ กนั บอกให้เขามองถงึ เป้าหมายหลักของเรา สามีเช่าหอพักอยูค่ นเดียว สาม
พันบาท กเ็ ลยคยุ กนั ว่าหาห้องพกั ใหมไ่ หม หรูน้อยหนอ่ ย แตต่ ิดถนนใหญ่ จะได้ไมต่ ้องเสียค่ารถเขา้ ซอย เดือนหน่งึ ประหยดั ได้
เปน็ พัน หรือเคยจา้ งซักรีดเสื้อผา้ ก็หัดทาเอง งดเข้าร้านอาหาร หนั มาทากับข้าวกนิ เอง ตอนที่เก็บเงินซ้ือบ้าน เขากต็ ัดพ้อ
เหมอื นกันว่าเพื่อนเก็บเงินซื้อบ้านได้แลว้ นะ เรากบ็ อกใจเยน็ ๆ สิ เพอื่ นเขาผ่อนไม่ใช่หรอ พอตอนหลงั เราซือ้ บ้านได้ เขายม้ิ เลย
เพราะเราไม่ตอ้ งผอ่ น 30 ปีเหมอื นคนอืน่ เมอื่ ออมเงินไดถ้ ึงจดุ หนึ่งก็จะเริม่ มองการลงทุนแบบอ่นื มองเงินฝากแบบอ่ืนที่ได้
ผลตอบแทนมากกว่า เร่ิมศกึ ษากองทุนรวม ลงทุนทองคาแท่ง จากนน้ั จะนาผลตอบแทนไปลงทุนต่อ ไม่ถอนมาใช้ บัตรเครดิตก็
ไม่ทา อยากไดอ้ ะไรเกบ็ เงินซ้ือให้ครบ”

สาหรบั วินยั ทางการเงนิ ที่เข้มแขง็ เช่นนี้ คณุ สุพิชฌาย์ได้ซมึ ซับมาจากครอบครัว โดยเฉพาะคณุ แม่ทเ่ี ปน็ ตัวอย่างทด่ี ี
เสมอมา “แมจ่ ะพูดเสมอว่า เงินออมหา้ มถอนออกมาใช้ รายได้แต่ละเดอื นต้องใช้ใหพ้ อ และตอ้ งเหลอื เก็บ ถา้ มรี ายได้เพ่ิม อย่า
นกึ ว่าเป็นเงนิ ได้เพ่ิม ให้นกึ ว่าเปน็ เงินออมเพิม่ ตัง้ แตว่ ันท่ีเราสามารถเรียนจบปรญิ ญาตรีได้ดว้ ยเงินตัวเอง แมม่ คี วามสขุ และ
ภมู ิใจมาก จากคาสอนของแม่ ครอบครวั เราไมม่ ีใครมีหนี้ล้นพ้นตัว เราอยูไ่ ด้แม้เศรษฐกิจไมด่ ี ทส่ี าคัญ ครอบครัวเราต้องอย่า
โทษใคร ขอให้เราดูแลตัวของเราเอง ถ้าหารายไดเ้ พ่มิ ไม่ได้ใหล้ ดรายจา่ ยใหม้ ากทีส่ ุด ถ้าเราทาได้ เราก็เป็นท่ีพึง่ ของตวั เองได้
ค่ะ”

“การวางแผนเงินออม อย่าผัดวันประกันพรุ่ง ต้องคิดแลว้ ทาทันที อยา่ คิดวา่ เดอื นนีค้ ่าใช้จา่ ยเยอะ ผดั เป็นเดอื นหนา้
แล้วกัน แล้วก็ให้ศึกษาการลงทุนประเภทต่างๆ ไว้ ส่งิ ที่สาคญั ท่ีสุดที่ขาดไม่ได้คือ ให้ทกุ คนทาบัญชีครัวเรอื นรายรบั รายจา่ ย แล้ว
จะรูว้ า่ เราใชเ้ งินในทางไหนบ้าง แล้วจะรวู้ า่ ทุกคนกอ็ อมเงินได้”

“การบริหารครอบครวั สาคัญตรงท่ีเราต้องไมโ่ ทษการเมอื ง แตใ่ หห้ นั กลับมาดูตวั เองให้มาก ใชเ้ ท่าทจ่ี าเปน็ บางคนใช้
เงนิ ซอื้ ของเกินไป ซื้อบ้านซ้ือรถเพื่อหนา้ ตา ที่บ้านซ้ือเทา่ ทจี่ าเป็น” นอกจากนน้ั เธอและสามียงั มองไกลไปถึงการออมเพื่อวัย
เกษยี ณแลว้ ซ่ึงเธอเชอ่ื วา่ การออมจะชว่ ยให้ครอบครัวของเธอสามารถเป็นผ้สู งู อายุทมี่ ีคณุ ภาพชีวิตที่ดีได้ ไม่วา่ สังคมจะ
เปลย่ี นไปมากเพยี งใดก็ตาม
ที่มา : http://www.manager.co.th/family/ViewNews.aspx?NewsID=9550000077396

- 24 -

พัชรศรี เบญจมาศ ผู้หญิงทีเ่ กดิ มาเพื่อออมเงินโดยแท้

พัชรศรีเลา่ วา่ เธอมนี สิ ยั เป็นคนออมเงนิ ตง้ั แตเ่ ดก็ มาจนถงึ วันนก้ี ย็ ังคงมุง่ มนั่ ออมและเกบ็ เงนิ อย่างสม่าเสมอ และมอง
หาช่องทางลงทุนท่ีทาให้เงินของเธองอกเงยและออกดอกออกผล “ตอนเด็กๆ ก็เก็บเงินใส่กระปุก แล้วไปฝากแบงก์ออมสนิ
เหมือนเดก็ ท่วั ไป พอโตขึ้นนิดเรม่ิ ออมจริงจงั ดว้ ยการฝากแบงค์เดือนละ 1,000 บาท พอครบ 5 ปี ไดเ้ งิน 7-8 หม่ืนบาทถอื ว่า
เยอะทเี ดยี ว

เธอเป็นคนวางแผนการเงนิ คอ่ นข้างดี และเป็นคนท่ใี ห้ความสาคญั กบั การออมเงินอย่างมาก น่ันเพราะเธอเห็นคณุ คา่
ของเงนิ รูว้ ่าเงินหายากแคไ่ หน อะไรก็ไม่แน่นอน ไมม่ ั่นคง ตอนท่ีเรามแี รงมเี งนิ ก็ควรจะออมเลย ตอ้ งใชช้ วี ิตอยา่ งไมป่ ระมาท
เพราะไม่รู้จะเกดิ อะไรขน้ึ ฉะน้ันต้องดาเนินชวี ิตแบบไม่สุรุ่ยสุรา่ ย และขอ้ สาคญั คือ ชีวิตคนเราไม่แน่นอน ไมร่ ู้วา่ อะไรจะเกดิ กบั
ชีวติ เราวันไหน เราต้องการความม่ันคง อะไรที่ทาให้เงินทางานไดก้ ็ทา เพราะไม่คิดวา่ อยากจะทางานไปจนตาย อยากจะใหเ้ งิน
มันงอกออกมา ทกุ วันนีใ้ ช้เงินแบบไม่ฟุม่ เฟือยไมม่ บี ัตรเครดิต ฝากบญั ชีประเภททีไ่ ม่มบี ัตรเอทีเอ็ม จะได้ไมต่ อ้ งถอน เราตอ้ งรู้ว่า
ตวั เองเป็นยงั ไง ถ้าชอบใช้ก็ต้องหาทางเกบ็ เงินใหอ้ ยู่

เมื่ออยากใหเ้ งินทางาน เธอจงึ พยายามมองหาช่องทางลงทุนตา่ งๆ เธอบอกวา่ ตอนนก้ี ระจายลงทนุ และออมไว้ในหลาย
ชอ่ งทาง มีทัง้ ฝากประจา ลงทุนในอสังหาริมทรัพยค์ ือบ้านทีเ่ ธออาศยั อยู่ ทองคา กองทุนที่มที ้ังตราสารหน้แี อลทเี อฟ และอาร์
เอม็ เอฟ ประกนั แบบออมเงินและประกนั ชวี ติ

“ถา้ จะให้แจกแจงจริงๆ ตอนน้ีมเี งินฝากเยอะสุด เพราะไม่แนใ่ จวา่ ชวี ติ จะเอาเงินไปทาอะไร บางทกี อ็ ยากได้บา้ นริม
ทะเล คดิ หลายอยา่ ง ก็เลยเอามาลงทนุ บ้างดกี ว่า ตอนนกี้ ็เลยหันมาลงทุนในกองทุนที่ช่วยประหยดั ภาษี และเรม่ิ ออมผ่าน
กองทนุ สารองเล้ียงชพี ก่อนหนา้ นี้ช่อง 3 ไมม่ กี องทุนสารองเล้ียงชีพ เพ่งิ มามเี ม่ือปที แี่ ล้ว ดีใจมาก พยายามบอกทุกคนให้ทา
เพราะเปน็ อีกช่องทางหนง่ึ ที่ดี บรษิ ัทสมทบใหเ้ ราอีกทาง แถมหกั ภาษีได้”

ถามถงึ การลงทนุ ในตลาดหนุ้ เธอบอกไม่เคยลงทุน นั่นเพราะไม่มคี วามรเู้ รือ่ งหุ้น ไมม่ ีเวลาตดิ ตามหุน้ แต่ละตวั จึงเป็น
เหตผุ ลใหเ้ ธอไม่กล้าเข้าไปลงทนุ ในช่องทางน้ี

โดยสรปุ แล้ว ในแต่ละเดือน เธอออมเงินประมาณ 80% ของรายได้ เธอบอกวา่ คนจะเก็บเงินได้ต้องมีเปา้ หมาย
สาหรับเธอมีเปา้ หมายอยากได้บ้าน กต็ อ้ งเกบ็ หอมรอมรบิ เมือ่ ไดบ้ ้านแล้ว เป้าหมายตอนน้ีคอื ไม่อยากทางานจนถึงวัยชรา ถ้า
เปน็ ไปได้เธออยากเกษียณตวั เองตอนอายุ 40 ปี อยากมีความสุขตลอดชีวิต ตอ้ งเตรยี มไวใ้ หห้ มด ไม่ต้องคิดเผอ่ื ว่าใครจะมาดูแล
เรา เราต้องเตรียมพรอ้ มไว้ดว้ ยตัวเอง สร้างอิสรภาพทางการเงินด้วยตัวเอง

“ทุกวนั น้พี อมีบา้ นกจ็ ะร้วู า่ คา่ ใช้จา่ ยเยอะมาก เราต้องทาบัญชรี ายรับจ่าย ว่าซอ้ื อะไรไปเทา่ ไหร่ ออมเท่าไหร่ ใชจ้ ่าย
อะไรบ้าง ทารายละเอยี ดหมด ถ้าเป็นของฟมุ่ เฟือย แบรนด์เนมก็ตัดหมด แตก่ ็ไม่ลืมใหร้ างวลั ตัวเองด้วยการไปเทีย่ วตา่ งประเทศ
ปีละ 2 ครง้ั ”

เธอบอกวา่ ทุกวนั น้ีโชคดีทีไ่ มม่ ภี าระเรอ่ื งหนี้ ไม่มใี ครมาก่อหนใี้ ห้ จงึ ใชช้ ีวิตเกบ็ ออมไดอ้ ยา่ งสบาย เธอย้าว่าชีวิตนเ้ี ธอ
ไม่อยากเป็นหนี้ ถ้าเป็นหนีแ้ ล้วจะเครียด ฉะน้นั อะไรทเี่ ปน็ หนี้ ตอ้ งจดั การกอ่ นเลย พยายามบอกตัวเองว่าอยากได้อะไรต้องซือ้
เงินสด เพราะไม่อยากเสียดอกเบย้ี

พัชรศรีใหข้ ้อคิดทงิ้ ทา้ ยว่า การออมไมม่ ีโทษ มีแต่ทาให้เงินเพิ่มขนึ้ ๆ ทุกคนสามารถออมได้ ไมว่ ่าจะเงินเดือนเทา่ ไหรก่ ็
ตาม เรอ่ื งการออมน้ัน ตอ้ งบอกใจสาคัญมากทส่ี ุด ตอ้ งจัดระเบียบการใชจ้ ่ายใหด้ ี ตอ้ งมวี นิ ัยมาก และตดั ใจกิเลสทุกอย่างจงึ จะ
ออมอย่างประสบความสาเรจ็

ท่ีมา : http://www.nationejobs.com/content/money/sbenefit/template.php?conno=371

- 25 -

ใบงานท่ี 1.1 ความสาคัญและปจั จัยการออม

ตอนท่ี 1
คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นอ่านกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี

กรณศี ึกษา
นพและน้อยมีบตุ รด้วยกัน 2 คน คอื เกง่ และหวาน ท้ังนพและน้อย ชว่ ยกนั ทามาหากินเพ่อื นา
รายไดม้ าเลยี้ งครอบครวั นพเป็นพนักงานของบริษัท สว่ นน้อยเปน็ ลูกจา้ งขายของหน้าร้านแห่งหน่งึ
นพมเี งนิ เดือน เดือนละ 15,000 บาท ส่วนนอ้ ยมเี งินเดอื น เดือนละ 8,000 บาท นพจะหารายไดพ้ ิเศษ
ในการไปรบั จา้ งทว่ั ไปในวนั เสาร์ พอมีรายได้พเิ ศษเดอื นละ 2,000 บาท นพและน้อยจะนาเงินเปน็ คา่
ซ้อื อาหารและของใช้เล็กๆ น้อยๆ ในบา้ นเดือนละ 10,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายส่วนตวั คนละ 3,000 บาท
ใหล้ ูกทัง้ สองคน คนละ 1,000 บาท เก็บไวใ้ ชจ้ า่ ยฉุกเฉนิ เดือนละ 2,000 บาท เก็บไว้สาหรับเป็น
คา่ รกั ษาพยาบาลเดือนละ 2,000 บาท นพและน้อยมเี งนิ เหลอื สาหรบั เก็บฝากธนาคารเดือนละ 3,000
บาท ทัง้ สองต้งั ใจว่า เมื่อเก็บเงินไดจ้ านวนหน่งึ แล้ว จะแบง่ ไปซอ้ื เคร่ืองปรับอากาศ และเครือ่ งซักผ้า

คาถาม
1. นพและน้อยมีวิธกี ารออมเงนิ อย่างไร จงอธบิ าย

2. การออมทรัพยข์ องนพและน้อย มีผลดตี อ่ ครอบครวั และประเทศชาติอย่างไร

- 26 -

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนวิเคราะหป์ ัจจยั ของการออมเงนิ ในกรณีศึกษาต่อไปนี้

กรณีศกึ ษาท่ี 1
ผจู้ ัดการบริษทั แห่งหนงึ่ มเี งนิ เดอื น เดอื นละ 50,000 บาท เมื่อหักค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ ทีจ่ าเป็นแลว้ สามารถ
นาเงนิ ฝากธนาคารได้ เดือนละ 10,000 บาท แตล่ กู จา้ งประจาของบรษิ ัทมเี งินเดือนเดือนละ 8,000 บาท
เม่อื หกั คา่ ใชจ้ า่ ยแลว้ สามารถนาเงินฝากธนาคาร เดือนละ 2,000 บาท

กรณีศกึ ษาที่ 2
ศุภโชคเกบ็ เงินออมฝากธนาคารทุกเดือน เดือนละ 10,000 บาท แตเ่ ขาต้องการซ้ือรถจักรยานยนต์
คนั หน่ึง ซึง่ ราคา 120,000 บาท เขาคาดว่า กวา่ เขาจะเก็บเงนิ ไดต้ ามราคาของรถจักรยานยนตใ์ น 2 ปี
ขา้ งหนา้ ราคาของรถจกั รยานยนตอ์ าจจะแพงขึน้ เปน็ ราคา 150,000 บาท ดงั น้นั เขาจงึ ตัดสินใจวา่
สนิ้ ปีนเ้ี ขาจะนาเงนิ มาซ้ือรถจักรยานยนต์ จะหยุดการออมเงินชัว่ คราว

กรณศี กึ ษาที่ 3
เอกและชาญเป็นเพ่ือนกัน เอกเปน็ ครูโรงเรียนรฐั บาล ชาญทางานเป็นพนักงานธนาคาร เอกรู้ว่า เม่ือ
เกษยี ณอายุราชการแลว้ ก็พอมเี งินบานาญกนิ ทุกเดอื น เดือนละ 20,000 บาท ก็คงพอกินพอใช้ เขาจึง
เกบ็ เงินออมไวเ้ ลก็ ๆ น้อยๆ เดือนละ 1,000 บาท สว่ นชาญรวู้ า่ เมอื่ อายคุ รบ 60 ปี แล้วธนาคารไม่จ้างต่อ
และไม่มีเงนิ เดือนใช้ เขาจึงต้องพยายามเก็บเงนิ ออมไวใ้ ชย้ ามชรา เดอื นละ 5,000 บาท ตลอดไป

- 27 -

ใบงานท่ี 1.1 ความสาคัญและปจั จยั การออม

ตอนท่ี 1
คาช้ีแจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้

กรณศี กึ ษา
นพและน้อยมีบุตรดว้ ยกัน 2 คน คือ เก่งและหวาน ท้ังนพและนอ้ ย ช่วยกนั ทามาหากนิ เพ่ือนา
รายไดม้ าเลย้ี งครอบครัว นพเปน็ พนกั งานของบริษัท สว่ นน้อยเป็นลูกจา้ งขายของหน้าร้านแห่งหนงึ่
นพมเี งินเดือน เดือนละ 15,000 บาท สว่ นน้อยมีเงินเดอื น เดือนละ 8,000 บาท นพจะหารายได้พิเศษ
ในการไปรบั จา้ งท่ัวไปในวันเสาร์ พอมรี ายได้พเิ ศษเดือนละ 2,000 บาท นพและน้อยจะนาเงนิ เปน็ คา่
ซือ้ อาหารและของใช้เล็กๆ น้อยๆ ในบ้านเดือนละ 10,000 บาท เปน็ ค่าใชจ้ ่ายส่วนตวั คนละ 3,000 บาท
ใหล้ กู ทั้งสองคน คนละ 1,000 บาท เกบ็ ไวใ้ ช้จา่ ยฉุกเฉินเดือนละ 2,000 บาท เกบ็ ไวส้ าหรับเป็น
คา่ รกั ษาพยาบาลเดือนละ 2,000 บาท นพและน้อยมเี งนิ เหลอื สาหรับเก็บฝากธนาคารเดือนละ 3,000
บาท ทัง้ สองตง้ั ใจวา่ เม่ือเกบ็ เงนิ ไดจ้ านวนหนึ่งแลว้ จะแบ่งไปซ้ือเครือ่ งปรับอากาศ และเครื่องซักผา้

คาถาม

1. นพและนอ้ ยมวี ธิ กี ารออมเงนิ อยา่ งไร จงอธิบาย

นพและน้อยมีเงินออมทีเ่ หลือจากการใช้จ่ายประจาเดือนทุกเดอื น และฝากธนาคารเดอื นละ 3,000 บาท

2. การออมทรัพยข์ องนพและน้อย มผี ลดีต่อครอบครัวและประเทศชาตอิ ย่างไร

มผี ลดีตอ่ ครอบครัว คือ
1) มีเงนิ ค่าใช้จ่ายฉุกเฉินของครอบครวั เม่ือสมาชกิ ในครอบครวั เจบ็ ป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ หรอื ในกรณี
ท่ีต้องว่างงาน
2) สมาชิกในครอบครวั คือ ลูก 2 คน มีเงนิ ใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรยี น
3) มเี งนิ สะสมเพ่ิมขน้ึ เม่ือนาเงินไปฝากธนาคาร ทาใหม้ ีรายไดจ้ ากดอกเบ้ยี
4) สามารถชว่ ยยกระดับสภาพความเป็นอยูใ่ นครอบครวั ใหด้ ีขนึ้ เชน่ สามารถแบ่งเงนิ ออมไปซ้ือ
เครือ่ งปรบั อากาศ และเคร่ืองซักผ้า อานวยความสะดวกในชวี ิตประจาวัน เป็นตน้
มผี ลดตี ่อประเทศชาติ คือ
1) ถา้ ประชาชนทกุ คนมีเงนิ ออมแบบนพและนอ้ ย จะส่งผลตอ่ การนาไปใชใ้ นการลงทนุ ของภาคธุรกิจ คือ
ภาคธุรกิจ สามารถกู้เงนิ ไปใช้ในการดาเนนิ งาน การสร้างถนน ท่าเรอื ไฟฟา้ ประปา ส่งผลตอ่ การจา้ งงาน
และการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของ ประเทศ
2) รฐั บาลและธรุ กิจเอกชนไม่ตอ้ งกู้ยืมเงนิ จากต่างประเทศมาพัฒนาประเทศ หรือกู้ยืมเงินน้อยกวา่ เดมิ ซ่ึง
มีผลตอ่ การเสียดอกเบีย้ ให้ต่างประเทศ

- 28 -

ตอนท่ี 2

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนวิเคราะหป์ ัจจยั ของการออมเงนิ ในกรณีศึกษาต่อไปน้ี

กรณศี ึกษาที่ 1
ผจู้ ดั การบริษัทแห่งหนงึ่ มีเงินเดือน เดอื นละ 50,000 บาท เมื่อหกั คา่ ใช้จ่ายต่างๆ ท่ีจาเป็นแล้วสามารถ
นาเงนิ ฝากธนาคารได้ เดือนละ 10,000 บาท แต่ลกู จ้างประจาของบรษิ ัทมเี งินเดือนเดือนละ 8,000 บาท
เม่ือหกั คา่ ใชจ้ า่ ยแล้ว สามารถนาเงนิ ฝากธนาคาร เดือนละ 2,000 บาท

ปจั จัยสาคัญในการออมเงินข้ึนอยู่กบั รายไดส้ ทุ ธสิ ่วนบคุ คลถา้ มรี ายไดส้ ุทธจิ านวนมาก ย่อมมโี อกาสออมเงินได้
จานวนมากกว่าผู้มรี ายไดส้ ทุ ธิสว่ นบคุ คลจานวนนอ้ ย

กรณีศึกษาท่ี 2
ศภุ โชคเกบ็ เงินออมฝากธนาคารทุกเดือน เดอื นละ 10,000 บาท แต่เขาต้องการซ้ือรถจักรยานยนต์
คันหน่งึ ซึง่ ราคา 120,000 บาท เขาคาดว่า กวา่ เขาจะเก็บเงินได้ตามราคาของรถจกั รยานยนตใ์ น 2 ปี
ข้างหน้า ราคาของรถจกั รยานยนต์อาจจะแพงข้นึ เป็นราคา 150,000 บาท ดงั นน้ั เขาจงึ ตัดสนิ ใจว่า
สน้ิ ปีนเ้ี ขาจะนาเงนิ มาซื้อรถจักรยานยนต์ จะหยุดการออมเงินชวั่ คราว

ปัจจัยสาคัญในการออมเงินของศุภโชค คอื อานาจการซื้อสนิ ค้า หรอื คา่ ของเงินเปล่ยี นไป ถ้าค่าของเงินตา่
ตอ้ งซ้ือสินคา้ ราคาแพงในอนาคตกจ็ ะทาให้ผ้อู อมตัดสินใจซื้อสนิ ค้าก่อนท่ีราคาสนิ คา้ จะสูงขน้ึ

กรณศี กึ ษาที่ 3
เอกและชาญเป็นเพือ่ นกัน เอกเปน็ ครูโรงเรียนรัฐบาล ชาญทางานเป็นพนกั งานธนาคาร เอกรวู้ า่ เมื่อ
เกษยี ณอายุราชการแล้วกพ็ อมเี งินบานาญกินทุกเดอื น เดือนละ 20,000 บาท ก็คงพอกินพอใช้ เขาจงึ
เก็บเงนิ ออมไวเ้ ล็กๆ น้อยๆ เดือนละ 1,000 บาท ส่วนชาญรวู้ า่ เม่อื อายุครบ 60 ปี แลว้ ธนาคารไม่จ้างต่อ
และไม่มีเงินเดือนใช้ เขาจึงตอ้ งพยายามเกบ็ เงินออมไว้ใชย้ ามชรา เดอื นละ 5,000 บาท ตลอดไป

ปจั จยั การออมเงนิ ของเอกและชาญมคี วามแตกต่างกนั เอกออมเงินนอ้ ยกวา่ ชาญเพราะเอกมรี ะบบการให้
สวสั ดกิ ารหลังการเกษียณอายุ

- 29 -

ความเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มคี วามเช่ือมโยงกนั อยา่ ง เหมาะสม ไม่เหมาะสม
ไม่เหมาะสม
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ เหมาะสม
ไมเ่ หมาะสม
ความเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ไม่เหมาะสม
ระบุการพฒั นานกั เรียนดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการและ ไมเ่ หมาะสม
ไม่เหมาะสม
เจตคติ (K P A) เหมาะสม
ไมเ่ หมาะสม
- กิจกรรมการเรียนรู้เป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคดิ และ

เนน้ นกั เรียนเป็ นสาคญั เหมาะสม

- ความเหมาะสมของส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ เหมาะสม

- ความเหมาะสมของเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เหมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมค่านิยมท่ีดีงาม

และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เหมาะสม

ลงชื่อ..................................................ผตู้ รวจสอบ
(นางไพรจิตร บา้ นเหล่า)

หวั หนา้ กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มงานวชิ าการ

- มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มีความเช่ือมโยงกนั อยา่ ง เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มีความชดั เจนครอบคลมุ เน้ือหาสาระ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

ระบุการพฒั นานกั เรียนดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการและ

เจตคติ (K P A) เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้เป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคดิ และ

เนน้ นกั เรียนเป็ นสาคญั เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- ความเหมาะสมของส่ือ อุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- ความเหมาะสมของเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมคา่ นิยมท่ีดีงาม

และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

ลงชื่อ.............................................. ผตู้ รวจสอบ

(นางพรพิรุณ แจง้ ใจ)

หวั หนา้ กลมุ่ งานวชิ าการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา

ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

..................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................. ผตู้ รวจสอบ
(นางลดั ดา ผาพนั ธ์)

ผอู้ านวยการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา

- 30 -

บนั ทกึ การสอน

1.ผลการจดั การเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.แนวทางแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .................................................ผูบ้ นั ทกึ
(ครผู สู้ อน นางสาวจิดาภรณ์ ถน่ิ ตองโขบ)
ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย

- 31 -

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง การออมและการลงทุน ภาคเรยี นที่ 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การออมอย่างมีประสิทธิภาพ เวลา 1 ช่วั โมง

ผ้สู อน นางสาวจิดาภรณ์ ถิ่นตองโขบ

1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ปัจจยั สาคญั ทม่ี ผี ลต่อการออมมหี ลายประการ การออมมคี วามสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจ

2. ตวั ช้ีวดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้
2.1 ตัวชี้วัด
ส 3.1 ม.2/1 วเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ีมีผลต่อการลงทนุ และการออม
2.2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1) อธบิ ายเปา้ หมายของการออมได้
2) อธบิ ายการบริหารจดั การเงนิ ออมของภาคครวั เรือนได้
3) วเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ีมผี ลต่อการออมได้
4) วิเคราะหป์ ัญหาการออมในสงั คมไทยได้

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
1) การบริหารจดั การเงนิ ออมของภาคครวั เรอื น
2) ปจั จัยของการออม คอื อตั ราดอกเบย้ี รวมท้ังปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่าของเงนิ เทคโนโลยี การ

คาดเดาเกยี่ วกับอนาคต
3) ปญั หาของการออมในสังคมไทย

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
(พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)

4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู
2) ทกั ษะการวิเคราะห์
3) ทกั ษะการสร้างความรู้
4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

- 32 -

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 2. ใฝ่เรยี นรู้
1. มีวนิ ยั

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
วิธสี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ : เทคนิคการต่อเรอื่ งราว (Jigsaw)

ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน
. 1. ครใู ห้นกั เรียนเล่าประสบการณข์ องนักเรียนเกย่ี วกบั การออม และผลที่ได้รับ หรอื ยกตัวอยา่ งบคุ คล
ทนี่ กั เรยี นรู้จักท่ีแสดงว่าเปน็ ผู้ท่ีเป็นแบบอย่างทดี่ ีของการออม

2.. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ถึงผลดีท่ีได้รับจากการออม
ขั้นสอน

1.ครอู ธิบายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจในเรือ่ งต่อไปน้ี
1)เปา้ หมายของการออม
2)การบรหิ ารจดั การเงนิ ออมของภาคครวั เรือน
3)หลกั เกณฑ์ทีค่ วรพจิ ารณาในการออม
4)ปญั หาการออมในสังคมไทย

2. นกั เรยี นกลมุ่ เดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 1) ซึ่งมีความสามารถคละกัน คอื เก่ง ปานกลาง
ค่อนข้างเกง่ ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน เลือกหมายเลขประจาตัว 1-4 ตามลาดับ เรียกกลมุ่ น้วี ่า กลุ่ม
บ้าน

3. สมาชิกกลุ่มบา้ นแต่ละหมายเลขแยกยา้ ยกันไปเขา้ กลุ่มใหม่ ซึง่ มหี มายเลขเดียวกัน เรียกกลุ่มนีว้ า่
กลมุ่ ผู้เชีย่ วชาญ ดังแผนผังตอ่ ไปน้ี

1 22
1 22
1
1

33 44
33 44

ในกรณีทน่ี ักเรียนในห้องเรียนมจี านวนมาก กลมุ่ หมายเลข 1, 2, 3, 4 อาจซ้ากัน เชน่ หมายเลข 1 อาจมี 2-3
กลุม่ หมายเลข 2 อาจมี 2-3 กลุม่ หมายเลข 3 อาจมี 2-3 กลุม่ หมายเลข 4 อาจมี 2-3 กลมุ่ กไ็ ด้

4.. นกั เรยี นกลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ แตล่ ะหมายเลขจะชว่ ยกันทาใบงาน ดงั นี้
- กลมุ่ ผเู้ ช่ยี วชาญหมายเลข 1 ทาใบงานที่ 1.2 เร่อื ง เปา้ หมายของการออม
- กลุม่ ผูเ้ ชีย่ วชาญหมายเลข 2 ทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง การบริหารจดั การเงินออมของภาค
ครวั เรือน
- กลุ่มผู้เชย่ี วชาญหมายเลข 3 ทาใบงานท่ี 1.4 เร่ือง หลกั เกณฑ์ที่ควรพิจารณาในการออม
- กลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญหมายเลข 4 ทาใบงานที่ 1.5 เรอื่ ง ปัญหาการออมในสงั คมไทย

- 33 -

5. สมาชกิ กล่มุ ผู้เช่ียวชาญผลัดกนั อภิปรายสร้างความกระจ่างชัดเจนในใบงานทร่ี ว่ มกนั ทา จากน้ัน
แยกยา้ ยกันกลับเข้าสู่กลุ่มบ้าน และผลัดกนั อภิปรายความร้ทู ี่ไดจ้ ากการทาใบงานท่ตี นได้รับมอบหมายให้
สมาชกิ ในกลุ่มบ้านฟงั จนสมาชิก ทกุ คนมีความเข้าใจชัดเจน

6. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ตอบคาถามตามหัวข้อในใบงานท่ี 1.2-1.5 เพื่อเป็นการ
ตรวจสอบความรู้ของนักเรยี น

7. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมฝึกทักษะ : กิจกรรมท่ี 3-4 จากแบบวดั ฯ เป็นการบา้ น พร้อม
กาหนดเวลาส่ง

8. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-3
ขน้ั สรปุ

ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปเป้าหมายของการออม การบรหิ ารจดั การเงินออมของภาคครัวเรือน
หลกั เกณฑท์ ีค่ วรพจิ ารณาในการออม และปญั หาการออมในสังคมไทย

7. การวัดและประเมนิ ผล

วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.2
ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานท่ี 1.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.4
ตรวจใบงานที่ 1.5 ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
ใบงานที่ 1.4 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
ใบงานที่ 1.5 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
สังเกตความมวี นิ ัย และใฝเ่ รียนรู้
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน
รายบุคคล เกณฑ์

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน

เกณฑ์

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น
เกณฑ์

8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.2
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.2
3) หนังสือคน้ คว้าเพ่ิมเติม
(1) จรินทร์ เทศวานิต. 2545. การเงนิ และการธนาคาร. กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.
(2) เพชรรี ขมุ ทรัพย์. 2540. หลักการลงทนุ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
4) ใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง เป้าหมายของการออม

- 34 -

5) ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง การบริหารจัดการเงนิ ออมของภาคครวั เรือน

6) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง หลักเกณฑ์ท่คี วรพจิ ารณาในการออม

7) ใบงานที่ 1.5 เรื่อง ปญั หาการออมในสังคมไทย
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้

1) หอ้ งสมุด
2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
- www.panyathai.or.th/wiki/index.php/เศรษฐศาสตร์

- www.oknation.net/blog/financial-literacy/2009/07/.../entry-1

- 35 -

ใบงานท่ี

1.2 เป้าหมายของการออม

คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

สินชยั เปน็ หวั หนา้ ครอบครวั ที่หารายได้มาเลีย้ งภรรยาและบุตรอกี 2 คน ภรรยามหี น้าท่ที างาน
บา้ น ดังน้ันสนิ ชยั จงึ ตอ้ งทางานหนกั มากกวา่ หวั หน้าครอบครวั คนอืน่ เขามรี ายได้เดือนละ 50,000 บาท
มอบใหภ้ รรยาใช้จา่ ยภายในบ้านเดอื นละ 20,000 บาท เขาใชจ้ ่ายสว่ นตัวเดอื นละ 10,000 บาท ใหบ้ ุตร
ใชจ้ ่ายในการศึกษาเลา่ เรยี นคนละ 2,000 บาท ต่อเดือน ค่าเช่าบา้ น 3,000 บาท เขาเก็บเงนิ ออมฝาก
ธนาคารประเภทสะสมทรพั ย์เพอื่ ไวใ้ ช้จ่ายพักผ่อนประจาปี เดือนละ 6,000 บาท และเก็บออมไว้ซ้ือบ้าน
และท่ดี ิน เดือนละ 8,000 บาท และเกบ็ แยกไว้อกี บัญชีหนึ่งเพื่อเอาไว้ใช้ยามชรา เม่ือไม่สามารถทางาน
ไดอ้ ีก เดือนละ 4,000 บาท

 สนิ ชัยมเี ป้าหมายของการออมเพื่อประโยชน์ระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรบ้าง

- 36 -

ใบงานท่ี

1.2 เปา้ หมายของการออม

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาถาม

สินชัยเป็นหวั หนา้ ครอบครัวท่ีหารายได้มาเลี้ยงภรรยาและบุตรอกี 2 คน ภรรยามีหน้าทที่ างาน
บ้าน ดงั นน้ั สินชัยจงึ ต้องทางานหนกั มากกว่าหวั หนา้ ครอบครัวคนอืน่ เขามรี ายได้เดือนละ 50,000 บาท
มอบใหภ้ รรยาใช้จ่ายภายในบ้านเดือนละ 20,000 บาท เขาใช้จ่ายส่วนตวั เดอื นละ 10,000 บาท ใหบ้ ุตร
ใชจ้ ่ายในการศึกษาเลา่ เรยี นคนละ 2,000 บาท ต่อเดือน ค่าเชา่ บ้าน 3,000 บาท เขาเก็บเงินออมฝาก
ธนาคารประเภทสะสมทรัพยเ์ พื่อไวใ้ ช้จา่ ยพกั ผ่อนประจาปี เดือนละ 6,000 บาท และเก็บออมไวซ้ ้ือบ้าน
และทีด่ นิ เดือนละ 8,000 บาท และเก็บแยกไวอ้ กี บญั ชหี นง่ึ เพือ่ เอาไวใ้ ช้ยามชรา เมื่อไม่สามารถทางาน
ไดอ้ ีก เดอื นละ 4,000 บาท

สินชยั มเี ปา้ หมายของการออมเพ่ือประโยชน์ระยะส้นั และระยะยาวอยา่ งไรบ้าง

1. การออมเพอ่ื ประโยชนร์ ะยะสนั้ ของสินชยั คือ การออมไวเ้ ปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในการพักผอ่ นประจาปี การออมไวซ้ อื้ บา้ น
และทด่ี นิ

2. การออมเพือ่ ประโยชนร์ ะยะยาวของสนิ ชัย คือ การเกบ็ เงนิ สะสมไว้ใช้ในอนาคตเม่อื ออกจากงาน

- 37 -

ใบงานท่ี

1.3 การบริหารจดั การเงินออมของภาคครวั เรือน

คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นอ่านกรณีศึกษา แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้
นางสาวพาฝนั พนักงานบรษิ ัทเอกชน อายุ 28 ปี ไม่มคี รอบครวั พาฝันมรี ายไดเ้ ดอื นละ 13,000

บาท สมมุตวิ า่ นกั เรียนเปน็ พาฝนั จะดาเนนิ การบรหิ ารจัดการเงนิ ออมต่อไปน้ีได้อยา่ งไร จงึ จะเหมาะสม
1. พาฝนั ควรกาหนดเป้าหมายการออมอยา่ งไร

2. พาฝนั ควรจดั ทารายรับและรายจ่ายในแตล่ ะเดือนอย่างไร

3. พาฝันควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร ในการนาเงนิ ออมแต่ละเดือนไปทาให้เกดิ ประโยชน์เพม่ิ ข้ึน

- 38 -

ใบงานท่ี

1.3 การบรหิ ารจัดการเงนิ ออมของภาคครวั เรอื น

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
นางสาวพาฝนั พนกั งานบริษัทเอกชน อายุ 28 ปี ไม่มคี รอบครวั พาฝนั มีรายไดเ้ ดือนละ 13,000

บาท สมมตุ ิวา่ นกั เรียนเป็นพาฝันจะดาเนนิ การบริหารจดั การเงนิ ออมต่อไปนี้ได้อยา่ งไร จึงจะเหมาะสม
1. พาฝนั ควรกาหนดเป้าหมายการออมอย่างไร

2. พาฝันควรจดั ทารายรับและรายจ่ายในแต่ละเดือนอย่างไร

3. พาฝนั ควรปฏบิ ัติอย่างไร ในการนาเงนิ ออมแต่ละเดือนไปทาใหเ้ กดิ ประโยชนเ์ พ่ิมขน้ึ

(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)

- 39 -

ใบงานที่

1.4 หลกั เกณฑ์ที่ควรพจิ ารณาในการออม

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนอา่ นกรณีศกึ ษา แลว้ ตอบคาถาม

ชานนท์มเี งนิ ออมเปน็ ประจาทุกเดือน เดือนละ 30,000 บาท เขาแบ่งการออมเป็น 2 สว่ น ส่วนละ
15,000 บาท ส่วนแรกเขานาไปฝากธนาคารพาณิชย์ประเภทออมทรัพย์ เพ่ือสะดวกตอ่ การถอนเงินมาใช้
และสามารถใช้ ATM ไดใ้ นธนาคารทกุ ประเภท และอีกส่วนหน่งึ เขานาไปฝากธนาคารประเภทฝากประจา
เพราะจะได้อตั ราดอกเบย้ี สูงกวา่ ประเภทออมทรัพย์

ชานนท์มีหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาการออมอย่างไร

- 40 -

ใบงานท่ี

1.4 หลกั เกณฑ์ที่ควรพจิ ารณาในการออม

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนอา่ นกรณีศกึ ษา แลว้ ตอบคาถาม

ชานนทม์ ีเงินออมเป็นประจาทุกเดอื น เดือนละ 30,000 บาท เขาแบ่งการออมเป็น 2 สว่ น สว่ นละ
15,000 บาท สว่ นแรกเขานาไปฝากธนาคารพาณชิ ยป์ ระเภทออมทรัพย์ เพ่ือสะดวกต่อการถอนเงินมาใช้
และสามารถใช้ ATM ไดใ้ นธนาคารทุกประเภท และอีกส่วนหนึ่งเขานาไปฝากธนาคารประเภทฝากประจา
เพราะจะได้อตั ราดอกเบี้ยสูงกว่าประเภทออมทรัพย์

ชานนทม์ หี ลกั เกณฑ์ในการพิจารณาการออมอย่างไร
(ตวั อยา่ ง)

1) ความปลอดภัยของการออม โดยนาไปฝากกับธนาคารพาณชิ ย์
2) สภาพคล่องของเงินออม เขาแบ่งเงินออมออกเป็น 2 ส่วน สว่ นแรกนาไปฝากธนาคารประเภทออมทรพั ย์

อกี สว่ นหนงึ่ นาไปฝากธนาคารประเภทฝากประจา ซง่ึ ไดอ้ ัตราดอกเบย้ี สงู กว่าประเภทออมทรพั ย์
3) อตั ราผลตอบแทน การฝากเงนิ ระยะยาว คอื การฝากประจาจะไดร้ บั ผลตอบแทน หรือดอกเบีย้ สูงกวา่ ระยะสัน้

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูผสู้ อน)

- 41 -

ใบงานท่ี

1.5 ปัญหาการออมในสงั คมไทย

คาชี้แจง ให้นกั เรยี นอา่ นกรณีศกึ ษา แลว้ ตอบคาถาม

ในวงสนทนาของสมาชกิ ชมรมออมทรัพย์ดอนทราย ซึง่ เป็นชมรมทมี่ กี ารสง่ เสรมิ อาชีพ
การเกษตรในหมบู่ า้ นดอนทราย และสนบั สนุนให้สมาชกิ มีการออมทรัพยก์ นั ทุกครัวเรือน
ก้าน : รายไดจ้ ากการทานาของพวกชาวบา้ นดอนทรายปีน้คี ่อนขา้ งน้อย รายรบั มากกว่ารายจา่ ย

เล็กน้อย แต่ละครอบครัวจงึ ไม่มเี งนิ ออมกนั เลย
มติ ร : มคี รอบครัวของนายโปร่งพอมีรายได้มากกว่าใครๆ แต่มารู้ว่า ภรรยาของนายโปรง่ ไปกยู้ ืมเงิน

ของนายไสวมาซ้ือโทรศัพท์มือถอื รนุ่ ใหม่ราคาเป็นหมน่ื เมอ่ื ไดเ้ งินมาก็ต้องไปใช้หนีเ้ ขา
จวง : ฉันวา่ ภรรยาของนายโปรง่ ยังไม่มีความจาเป็นไปซื้อโทรศพั ท์มือถอื ราคาแพงอย่างนั้น

เหน็ คนอ่นื เขามีก็อยากมีตามเขา ไม่คานึงถึงประโยชน์ท่ไี ด้ว่าคุ้มคา่ ไหม
เกยี รติ : ที่หมู่บา้ นทุ่งใหญม่ ชี าวบา้ นหลายคนที่ทานาไดก้ าไรมากกว่าทกุ ปี แต่พวกเขาก็ไม่เอาเงนิ ฝาก

ธนาคารกนั พวกเขาบอกว่าเบิกจา่ ยลาบากต้องเดินทางไปธนาคาร ซึง่ อยู่ในเมืองทาให้พวก
เขา

ขาดรายได้จากดอกเบีย้ เงินฝาก
กา้ น : ฉันจาไดว้ ่า เมื่อสมัยที่เปน็ เด็ก ตากบั ยายของฉันนยิ มเอาเงินไปฝากธนาคารมาก เพราะ

ดอกเบ้ยี เงนิ ฝากค่อนข้างสงู แตเ่ ด๋ียวนี้ดอกเบยี้ เงินฝากธนาคารมอี ัตราต่าเลยไม่จงู ใจให้คน
นาเงนิ ไปฝากธนาคาร
มิตร : ฉันวา่ ถา้ พวกเราไม่เอาเงินฝากธนาคารเพราะดอกเบยี้ ตา่ เราก็เอาเงินไปลงทุนเพื่อให้ได้กาไร
เปน็ การตอบแทนก็ได้
จวง : กไ็ มร่ วู้ ่าจะไปลงทนุ ทาอะไรดี จงึ จะได้กาไรเป็นเงินมากขนึ้ นะซี
กา้ น : จรงิ ด้วย ดงั น้ันเราก็ควรมชี มรมหรอื องคก์ รทที่ าหนา้ ท่ใี ห้การแนะนาให้ชาวบา้ นร้จู กั นาเงิน
ไปลงทนุ เช่น ลงทนุ ซ้อื วตั ถุดิบมาผลิตเปน็ สนิ ค้าเคร่ืองปั้นดินเผา เคร่ืองเคลอื บ ทอผา้
และหาตลาดใหด้ ้วย

 จากการสนทนาของสมาชิกชมรมออมทรัพยด์ อนทราย ทาให้ทราบปัญหาการออมในสังคมไทย
อยา่ งไรบ้าง

- 42 -

ใบงานที่

1.5 ปญั หาการออมในสงั คมไทย

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านกรณีศกึ ษา แลว้ ตอบคาถาม

ในวงสนทนาของสมาชกิ ชมรมออมทรัพยด์ อนทราย ซงึ่ เป็นชมรมท่มี กี ารส่งเสริมอาชีพ
การเกษตรในหมูบ่ า้ นดอนทราย และสนบั สนุนใหส้ มาชกิ มีการออมทรัพย์กนั ทุกครัวเรอื น
กา้ น : รายได้จากการทานาของพวกชาวบ้านดอนทรายปีน้คี ่อนขา้ งน้อย รายรับมากกวา่ รายจ่าย

เล็กน้อย แตล่ ะครอบครวั จึงไม่มีเงินออมกันเลย
มิตร : มคี รอบครวั ของนายโปรง่ พอมีรายได้มากกว่าใครๆ แตม่ ารู้ว่า ภรรยาของนายโปรง่ ไปก้ยู ืมเงนิ

ของนายไสวมาซ้ือโทรศัพท์มือถือรุ่นใหมร่ าคาเปน็ หมืน่ เมือ่ ไดเ้ งินมากต็ ้องไปใชห้ นี้เขา
จวง : ฉันว่า ภรรยาของนายโปรง่ ยังไมม่ ีความจาเปน็ ไปซ้ือโทรศพั ทม์ อื ถือราคาแพงอยา่ งนัน้

เห็นคนอ่ืนเขามกี ็อยากมีตามเขา ไม่คานงึ ถึงประโยชนท์ ไ่ี ด้ว่าคุ้มคา่ ไหม
เกยี รติ : ทหี่ มบู่ ้านทุง่ ใหญม่ ชี าวบ้านหลายคนทท่ี านาไดก้ าไรมากกว่าทกุ ปี แต่พวกเขาก็ไมเ่ อาเงนิ ฝาก

ธนาคารกนั พวกเขาบอกวา่ เบิกจ่ายลาบากต้องเดนิ ทางไปธนาคาร ซง่ึ อยู่ในเมืองทาให้พวก
เขา

ขาดรายได้จากดอกเบ้ียเงินฝาก
ก้าน : ฉนั จาไดว้ า่ เม่ือสมัยท่เี ปน็ เด็ก ตากบั ยายของฉนั นิยมเอาเงินไปฝากธนาคารมาก เพราะ

ดอกเบ้ยี เงนิ ฝากค่อนข้างสงู แตเ่ ด๋ียวน้ดี อกเบย้ี เงินฝากธนาคารมีอัตราตา่ เลยไม่จงู ใจให้คน
นาเงินไปฝากธนาคาร
มิตร : ฉนั วา่ ถา้ พวกเราไม่เอาเงนิ ฝากธนาคารเพราะดอกเบย้ี ต่า เรากเ็ อาเงนิ ไปลงทุนเพ่ือให้ได้กาไร
เปน็ การตอบแทนก็ได้
จวง : ก็ไม่ร้วู า่ จะไปลงทุนทาอะไรดี จึงจะได้กาไรเปน็ เงนิ มากขน้ึ นะซี
กา้ น : จริงด้วย ดงั นัน้ เรากค็ วรมชี มรมหรือองค์กรทีท่ าหนา้ ท่ีใหก้ ารแนะนาใหช้ าวบ้านรจู้ ักนาเงิน
ไปลงทนุ เชน่ ลงทนุ ซ้ือวตั ถุดิบมาผลิตเป็นสนิ คา้ เครื่องปนั้ ดินเผา เคร่ืองเคลือบ ทอผา้
และหาตลาดใหด้ ้วย

 จากการสนทนาของสมาชกิ ชมรมออมทรัพยด์ อนทราย ทาใหท้ ราบปญั หาการออมในสงั คมไทย
อย่างไรบ้าง

1) ประชากรมีรายได้นอ้ ย จึงไม่มเี งินออม
2) ประชากรไมม่ คี วามรู้ และไม่เห็นความสาคัญของการประหยดั คา่ ใช้จา่ ย
3) ขาดความรู้ในเร่ือง การออมและการลงทุน
4) ธนาคารส่วนใหญอ่ ยู่ในตัวเมือง ชาวบ้านทีอ่ ยูห่ า่ งไกลไมส่ ะดวกต่อการเดนิ ทางนาเงนิ ไปฝาก
5) นโยบายอตั ราดอกเบย้ี ตา่ จึงไมจ่ งู ใจคนให้นาเงินไปออม
6) ขาดความรใู้ นการนาเงนิ ไปลงทนุ ในอาชีพต่างๆ
7) ปริมาณการออมมนี ้อยเม่ือเทยี บกับความต้องการนาเงินไปลงทนุ ทาใหน้ กั ลงทนุ ตอ้ งไปกู้ยมื เงนิ จากตา่ งประเทศ

เสียดอกเบี้ยให้แก่ต่างประเทศ

- 43 -

ความเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มคี วามเช่ือมโยงกนั อยา่ ง เหมาะสม ไม่เหมาะสม
ไม่เหมาะสม
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ เหมาะสม
ไมเ่ หมาะสม
ความเหน็ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ไม่เหมาะสม
ระบุการพฒั นานกั เรียนดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการและ ไมเ่ หมาะสม
ไม่เหมาะสม
เจตคติ (K P A) เหมาะสม
ไมเ่ หมาะสม
- กิจกรรมการเรียนรู้เป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคดิ และ

เนน้ นกั เรียนเป็ นสาคญั เหมาะสม

- ความเหมาะสมของส่ือ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ เหมาะสม

- ความเหมาะสมของเครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เหมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมค่านิยมท่ีดีงาม

และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เหมาะสม

ลงช่ือ..................................................ผตู้ รวจสอบ
(นางไพรจิตร บา้ นเหล่า)

หวั หนา้ กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ความเห็นของหัวหน้ากล่มุ งานวชิ าการ

- มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั มีความเชื่อมโยงกนั อยา่ ง เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มีความชดั เจนครอบคลมุ เน้ือหาสาระ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

ระบุการพฒั นานกั เรียนดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการและ

เจตคติ (K P A) เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้เป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคดิ และ

เนน้ นกั เรียนเป็ นสาคญั เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- ความเหมาะสมของส่ือ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- ความเหมาะสมของเครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม

- กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมค่านิยมท่ีดีงาม

และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม

ลงชื่อ.............................................. ผตู้ รวจสอบ

(นางพรพิรุณ แจง้ ใจ)

หวั หนา้ กลมุ่ งานวชิ าการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา

ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

..................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................. ผตู้ รวจสอบ
(นางลดั ดา ผาพนั ธ์)

ผอู้ านวยการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา

- 44 -

บันทึกการสอน

1.ผลการจดั การเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ปญั หาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ .................................................ผบู้ นั ทกึ
(ครผู ูส้ อน นางสาวจิดาภรณ์ ถนิ่ ตองโขบ)
ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

- 45 -

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3

กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอื่ ง การออมและการลงทุน ภาคเรยี นที่ 1

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 ความสาคัญและแหล่งท่ีมาของการลงทุน เวลา 1 ชว่ั โมง

ผสู้ อน นางสาวจิดาภรณ์ ถ่ินตองโขบ

1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การลงทนุ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อผู้ออม ธุรกจิ และเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงมแี หลง่ ทมี่ าของเงินทนุ

หลายแหลง่

2. ตวั ชี้วดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตวั ชีว้ ัด
ส 3.1 ม.2/1 วเิ คราะห์ปัจจัยที่มผี ลต่อการลงทนุ และการออม
2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายความหมายและความสาคัญของการลงทนุ ท่ีมีผลต่อระบบเศรษฐกิจได้
2) บอกท่ีมาของแหลง่ เงนิ ทุนได้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- ความหมายและความสาคัญของการลงทุนต่อระบบเศรษฐกจิ
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา)

4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด

- ทักษะการวิเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้

6.กิจกรรมการเรียนรู้
วธิ สี อนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมอื : เทคนิคคู่คดิ สี่สหาย

ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น
1.นักเรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1) จบั ค่กู ันเปน็ 2 คู่ แล้วใหแ้ ตล่ ะคู่ศกึ ษาความรู้

และทาใบงานที่กาหนดให้ ดงั นี้

- 46 -

-คู่ที่ 1 ศกึ ษาความรู้เรื่อง ความสาคัญของการลงทนุ และทาใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง ความสาคญั
ของการลงทนุ

-คทู่ ี่ 2 ศึกษาความรูเ้ รื่อง แหล่งท่ีมาของเงินลงทุน และทาใบงานที่ 1.7 เร่ือง แหลง่ ทมี่ าของ
เงนิ ทุน

2.นักเรียนแตล่ ะคชู่ ว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน แล้วนามาอธิบายใหเ้ พื่อนอกี คู่หนึ่งใน
กลุ่มของตนเองฟัง โดยผลัดกันอธิบายและให้สมาชกิ ซักถามขอ้ สงสัย หรอื ชว่ ยกนั เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ตามความ
เหมาะสม

3.ครใู หต้ ัวแทนแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรยี น กลุม่ ละ 1 เร่อื ง และให้กลุ่มอืน่ เสนอแนะ หรือ
แสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ ในสว่ นทแ่ี ตกต่างกัน ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง

4.นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด
ขนั้ สรุป

ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันสรปุ ความสาคัญของการลงทนุ และแหลง่ ทมี่ าของเงินลงทุน

7. การวัดและประเมนิ ผล

วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.6
ตรวจใบงานท่ี 1.7 ใบงานท่ี 1.6 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
ใบงานที่ 1.7 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม เกณฑ์

สงั เกตความมวี ินยั และใฝเ่ รียนรู้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
รายบคุ คล เกณฑ์

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น

เกณฑ์

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
เกณฑ์

8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

8.1 ส่อื การเรียนรู้

1) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.2
2) แบบวัดและบนั ทึกผลการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.2
3) หนงั สอื คน้ ควา้ เพ่มิ เติม

(1) จรนิ ทร์ เทศวานติ . 2545. การเงินและการธนาคาร. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.
(2) เพชรรี ขุมทรัพย์. 2540. หลักการลงทนุ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั

ธรรมศาสตร์.

- 47 -

4) บัตรภาพ

5) ใบงานที่ 1.6 เร่อื ง ความสาคัญของการลงทุน

6) ใบงานที่ 1.7 เรอื่ ง แหล่งทม่ี าของเงินทุน

8.2 แหล่งการเรียนรู้

1) ห้องสมุด
2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
- www.uinthai.com/index.php?lay=show&ac=article

- www.fes.co.th/thd/thai/investmanual/investmanual.asp?...

บตั รภาพ - 48 - 

ภาพโรงงานอตุ สาหกรรม ภาพสวนผลไม้

ภาพเรือประมง ภาพรถยนต์นักทอ่ งเทยี่ ว

ภาพร้านขายของประเภทตา่ งๆ ภาพการคมนาคมทางอากาศ

ทมี่ า : ภาพที่ 1 http://www.siamhomedb.com
ภาพท่ี 2 http://www.sbayura.com/chiang-mai/som-thana-thon.html
12 ภาพท่ี 3 http://yimwhan.com/board/show.php?user=yalafishingshop&topic=33&Cate=1
34 ภาพที่ 4 http://www.oknation.net/blog/print.php?if=69507
56 ภาพท่ี 5 http://www.go4get.com/add_go4board.php?id=1410
ภาพที่ 6 http://www.ertc.deqp.go.th

- 49 -

ใบงานท่ี

1.6 ความสาคญั ของการลงทนุ

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนวเิ คราะหภ์ าพและตอบคาถามต่อไปน้ี
ภาพท่ี 1

1. ภาพนีแ้ สดงถึงการลงทุนทาอะไร
2. โรงงานน้ี จะต้องหาเงนิ ลงทนุ จากที่ใดบา้ ง
3. โรงงานน้ี จะตอ้ งมกี ารเสียคา่ ใช้จา่ ยในการลงทุนอยา่ งไรบ้าง
4. โรงงานนี้ จะได้รบั ผลตอบแทนอยา่ งไร
5. การลงทนุ ของโรงงานผลติ รถยนต์ มีผลดีอย่างไร

- 50 -

ภาพที่ 2

1. ภาพน้ีเป็นการลงทุนทางดา้ นใด
2. สวนผลไมข้ นาดใหญ่ จะตอ้ งหาเงินลงทนุ จากท่ีใดบา้ ง
3. เจ้าของสวนผลไม้ต้องมีการเสียคา่ ใชจ้ ่ายในการลงทนุ อย่างไรบ้าง
4. เจ้าของสวนผลไม้ จะได้รบั ผลตอบแทนอยา่ งไร
5. การลงทนุ ของเจ้าของสวนผลไม้ มีผลดอี ย่างไร