Domain Name System ตัวอย่าง

โด เมนเนมระดับบนสุด (Top-Lever Domains) เป็นการกำหนดชื่อโดเมนเนมให้มีความหมายในการบอกประเภทขององค์การ หรือชื่อของประเทศ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

1. Organization Domains โดเมนเนมระดับสูงสุดซึ่งแสดงถึงองค์การหรือหน่วยงาน

เครือข่ายของเอกชนเครือข่ายของหน่วยงานการศึกษาเครือข่ายของหน่วยงานรัฐบาลเครือข่ายของหน่วยงานทหารเครือข่ายของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเครือข่ายขององค์การที่ไม่มุ่งหวังกำไร

2. Geographical Domains โดเมนเนมระดับสูงสุดซึ่งแบ่งตามลักษณะภูมิศาสตร์ หรือประเทศ

ออสเตรียออสเตรเลียแคนาดาสวิทตเซอร์แลนดสาธารณรัฐประชาชนจีนเยอรมันเดนมาร์กฝรั่งเศสญี่ปุ่นนิวซีแลนด์ไทยสหราชอาณาจักร (อังกฤษ)สหรัฐอเมริกา

3. นามสกุลนั้นมีไว้เพื่อบ่งบอกกิจกรรมของเว็บไซต์นั้น ๆ ว่าเกี่ยวข้องกับอะไร ซึ่งบางทีก็ไม่สามารถบ่งบอกได้ชัดเจนนัก เนื่องจากบางนามสกุล เช่น .com, .net ไม่ได้มีข้อบังคับชัดเจน ว่าจะนามสกุลใด ๆ จะต้องใช้เพื่อกิจกรรมนั้น ๆ เพียงเท่านั้น แต่โดยหลักทั่วไปของการจดตามนามสกุลต่าง ๆ นั้นจะสามารถแบ่งได้คร่าว ๆ ดังนี้

.com ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับธุรกิจการค้า (.com = Company )
.net (Network) ใช้กับเว็บไซต์ขององค์กรใด หรือบริษัทใด ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับ Internet หรือ Network
.org (Organization) ใช้สำหรับเว็บไซต์องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร เช่น สมาคม หรือมูลนิธิ
.biz ใช้สำหรับเว็บไซต์ขององค์กรที่เกี่ยวกับธุรกิจการค้า
.info ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่นำเสนอข้อมูลเป็นหลัก
.co.th สำหรับบริษัทที่จดทะเบียนในไทย
.in.th สำหรับหน่วยงานทุกประเภท และบุคคลทั่วไป
.ac.th สำหรับสถาบันการศึกษา
.go.th สำหรับการใช้ของภาครัฐบาล
.net.th สำหรับนิติบุคคลผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมทั้ง 3 แบบ ตาม
.or.th สำหรับองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร
.mi.th สำหรับหน่วยงานทางทหาร

ในปัจจุบัน ได้มีนามสกุลต่าง ๆ ออกมามากมาย เช่น .it, .ws, .tv แต่ความนิยมการจดทะเบียน ก็ยังคงเป็น .com, .net, .org, .co.th, .in.th เป็นส่วนใหญ่

โดเมนเนมในประเทศไทย

ประเทศ ไทยใช้ .th เป็นโดเมนประจำประเทศ โดยมีโดเมนย่อย (Subdomain) 5 โดเมน ได้แก่ .or, .ac, .go, .co และ .net ดังตารางดังต่อไปนี้ คือ

Domain name (โดเมน) คือ ชื่อเว็บไซต์ ซึ่งโดยปกติ เว็บไซต์ ทุกเว็บ จะต้องมีที่อยู่ในโลกของอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็คือ IP Address โดย IP Address ถือเป็น หมายเลขประจำตัวของคอมพิวเตอร์ตัวนั้น IP Address เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยาก ทำให้การอ้างถึง คอมพิวเตอร์ หรือ server ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยใช้หมายเลข IP ไม่ สะดวกต่อผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ดังนั้นเพื่อให้เป็นการจำได้ง่าย ทั้งในการเข้าชมผ่านบราวเซอร์ของผู้ใช้ทั่วไป ยังรวมไปถึงผู้ดูแลระบบโดเมนเนมซีสเทม ที่สามารถแก้ไขไอพีแอดเดรสของชื่อโดเมนเนมนั้นๆ ได้ทันที โดยที่ผู้ใช้ทั่วไปไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสที่มีการเปลี่ยน แปลง และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เผยแพร่เว็บไซต์ จะมีโดนเมนเนมเฉพาะไม่ซ้ำกับใคร จึงมีระบบ ชื่อคอมพิวเตอร์ ตาม มาตรฐาน ของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งเรียกว่า "ดีเอ็นเอส" DNS (Domain Name System) หรือระบบชื่อ Domain nameนั่นเอง โดยเป็นตัวอ้างอิงแทน IP Address โดนเมนเนม มีด็อทอยู่หลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com เพราะ เป็น ด็อท ในยุคแรกๆ ที่เริ่มใช้กัน และง่ายต่อการจดจำ

ประเภทของ Domain Name แบ่งได้เป็น 2 ประเภท

ประกอบด้วย  www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น www.mindphp.com
ประเภทของโดเมน คือ คำย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดังต่อไปนี้

  •     .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
  •     .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร
  •     .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย
  •     .edu คือ สถาบันการศึกษา
  •     .gov คือ องค์กรของรัฐบาล
  •     .mil คือ องค์กรทางทหาร

เป็นที่ทราบกันดี ว่าคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์นั้น สามารถแบ่งประเภทได้มากมายตามการใช้งาน ซึ่ง DNS Server ถือเป็นหนึ่งในชนิดของคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่หลายๆ คนอาจจะเคยได้ยินผ่านหูกันมาไม่มากก็น้อย บทความนี้จะมีอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้เข้าใจกันมากขึ้น ว่าดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์คืออะไร มีบทบาทสำคัญต่อระบบเครือข่ายอย่างไรบ้าง

สำหรับใครที่ยังไม่คุ้นเคยกับเซิร์ฟเวอร์ แนะนำให้ อ่านบทความ Server คืออะไร ได้ที่นี่

สารบัญ

  • DNS Server คืออะไร
  • ประเภทและวิธีการทำงาน
  • ความสัมพันธ์กับ IP Address
  • ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเร็ว
  • ความปลอดภัย
  • สรุป

DNS Server คืออะไร

อะไรคือ DNS

DNS นั้น ย่อมากจาก Domain Name System คือระบบที่ทำหน้าที่แปลง Domain Name ไปสู่ IP Address ซึ่งเป็นค่าตัวเลขที่ Browsers ใช้ในการโหลดหน้า Internet นั่นเอง ทุกๆ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีเลข IP Address เป็นของตนเอง ซึ่งใช้สำหรับเป็นชื่อที่ให้อุปกรณ์อื่นๆ ใช้ในการระบุตัวตน

ระบบนี้ ทำให้เราสามารถพิมพ์ข้อความลงบนเบราว์เซอร์เว็บไซต์เป็นคำ หรือชื่อของเว็บนั้นๆ อาทิเช่น google.com, techforteam.com หรือ addin.co.th เป็นต้น เพื่อทำเปิดหน้า Page ที่ต้องการขึ้นมา แทนที่จะต้องมานั่งคอย Track และพิมพ์ IP Address ของทุกๆ Website แทน

Domain Name System ตัวอย่าง

อะไรคือ DNS Server

DNS Server คือ Server Computer และชุด Database ที่ประกอบไปด้วย IP Address ทำหน้าที่เชื่อม ชื่อของเว็บไซต์ต่างๆ และ ไอพี แอดเดรส ที่ถูกกำหนดไว้ เรียกได้ว่าเสมือนเป็นสมุดโทรศัพท์ของโลกอินเตอร์เน็ตนั่นเอง เมื่อเราพิมพ์ชื่อ Domain Name เช่น addin.co.th ลงบน Address Bar ของเว็บเบราว์เซอร์ เจ้า Serverประเภทนี้ จะทำหน้าที่หา IP Address ที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นเลขไอพีที่ใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลขอเว็บไซต์ได้

เมื่อดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ หาเลขไอพีที่ถูกต้องได้แล้ว Browser จะนำเลขนั้นมาประมวลผลต่อเพื่อใช้ส่งข้อมูลไปยัง Content Delivery Network (CDN) Server เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการแล้ว ข้อมูลต่างๆ ของ Website จะสามารถเข้าถึงได้โดย User ทันที สรุปง่ายๆ คือ ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่หาและเชื่อมต่อกับเลข IP Address สำหรับเว็บไซต์ Uniform Resource Locator (URL) นั่นเอง

เลือกซื้อServer ราคาถูก

โดยตัวแทนจำหน่ายโดยตรง

Domain Name System ตัวอย่าง

HPE Server

เลือกซื้อ

Domain Name System ตัวอย่าง

Dell Server

เลือกซื้อ

Domain Name System ตัวอย่าง

Lenovo Server

เลือกซื้อ

เลือกซื้อ Server ทั้งหมด >

กลับสู่สารบัญ

ประเภทและวิธีการทำงาน

ในการทำงานปกติของ DNS Server นั้น คือ เมื่อ User มีการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์และส่งมา URL จะถูกนำส่งผ่าน Server ทั้งหมด 4 ชนิด เพื่อทำการหา IP Address ซึ่ง Server เหล่านี้จะทำงานร่วมกันเพื่อหาเลขไอพีแอดเดรสที่ถูกต้องให้แก่เครื่อง Client

เซิร์ฟเวอร์ทั้ง 4 ตัวนี้ ประกอบด้วย

DNS Recursor

DNS Recursor ซึ่งแปลอีกความหมายได้ว่า DNS Resolver ทำหน้าที่รับคำร้องจาก DNS Client จากนั้นจึงสื่อสารไปยังตัวเซิรฟ์เวอร์ ให้หาเลข IP Address ที่ถูกต้อง

เมื่อเจ้า DNS Recursor นี้ได้รับข้อมูลคำร้องขอจาก Client มันจะทำหน้าที่เสมือนเป็นเครื่อง Client เอง เพื่อกระจายคำสั่งไปยัง DNS เซิร์ฟเวอร์ อีก 3 ชนิดที่เหลือ ตามที่จะกล่าวถึงต่อไปครับ

Root Nameservers

Root Nameserver นี้ถูกออกแบบมาสำหรับใช้งานใน DNS Root Zone ของ Internet หน้าที่หลักของมันคือการตอบสนองต่อคำขอที่ถูกส่งมา และบันทึกลงใน Root Zone นั่นเองครับ

วิธีการตอบสนองของมันคือการส่งกลับ List ของ Authoritative Nameserver พร้อม TLD ที่ถูกต้อง

Domain Name System ตัวอย่าง

TLD Nameservers

TLD Nameserver ทำหน้าที่เก็บเลข IP Address ของ Second-Level Domain และ TLD Name ทำหน้าที่ในการส่งผ่าน IP Address และส่งไปยัง Domain’s Nameserver

Authoritative Nameservers

Authoritative Nameserver คือเซิร์ฟเวอร์ที่ทำหน้าที่ส่งคำตอบที่แท้จริงให้แก้คำร้องขอ Domain Name โดย Server ชนิดนี้แบ่งออกเป็นอีก 2 ประเภทย่อย ได้แก่ Master Server (Primary) และ Slave Server (Secondary) โดยตัว Master Server นั้นทำหน้าที่เก็บต้นฉบับของ Zone Record ขณะที่ Slave Server ทำหน้าที่คัดลอกและ Backup ให้กับ Master Server เพื่อทำหน้าที่แทนในกรณีที่ตัว Master Server เกิดล่ม หรือใช้การไม่ได้ขึ้นมา

กลับสู่สารบัญ

ความสัมพันธ์กับ IP Address

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับ Internet นั้น ต้องอาศัย IP Address ในการส่ง Request ไปยัง Website ที่ต้องการเข้าถึง ซึ่งถ้าไม่มี DNS Server เราจะต้องจำ IP Address ของเว็บไซต์เหล่านั้นเองตลอดเวลา ซึ่งจะสร้างความยากลำบากในการใช้งานเป็นอย่างมากแน่นอนครับ ซึ่งเจ้าเซิร์ฟเวอร์ชนิดนี้จะช่วยลดทอนขั้นตอน คือสามารถพิมพ์แค่ชื่อของเว็บไซต์เพื่อทำการค้นหา IP ให้อย่างอัตโนมัติเอง

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราพิมพ์ www.addin.co.th ลงบน Web Browser จริงๆ แล้วชื่อ URL เพียงเท่านี้ไม่สามารถเชื่อมต่อเรากับเว็บไซต์ได้ทันที เพราะโดยปกติแล้ว คอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างอุปกรณ์กับ Website ไม่สามารถอ่านตัวอักษรได้ แต่จะอ่านได้แค่ IP Address เท่านั้น จึงจำเป็นต้องมีดีเอ็นเอส เซิฟเวอร์ ซึ่งสามารถค้นหา IP Address ของ www.addin.co.th ได้ และส่งผ่านไปยัง Browser บนอุปกรณ์ จากนั้น Website จะปรากฏขึ้นบนหน้าจอเป็นขั้นตอนถัดไป

Domain Name System ตัวอย่าง

รู้จากกับ DNS Caching

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่เครื่องเราใช้นั้น บาง OS สามารถเก็บข้อมูลของ DNS เป็น Record ไว้ได้ด้วยวิธี Caching หรือที่เราคุ้นเคยกันว่า Cache นั่นเอง

Caching นั้น ป้องกันความซ้ำซ้อนที่เกิดขึ้นหากเราทำการเปิด Website เดิมที่เคยเข้าถึงไปแล้ว ช่วยลดระยะเวลาในการโหลดเว็บไซต์นั้นๆ ถ้าอุปกรณ์คุณเคยเปิดหน้าเว็บนั้นไปแล้ว IP Address จะถูกจดจำไว้โดย Cache วิธีนี้จะทำให้การ Request หน้าเว็บไซต์ สำเร็จลุล่วงได้โดยไม่ต้องใช้ DNS Server

กลับสู่สารบัญ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเร็ว

สถานที่ตั้งของ DNS Server นั้น ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อความเร็วที่สุด ในส่วนของความไวในการตอบสนองต่อคำขอ ซึ่งผู้ให้บริการ Internet ส่วนใหญ่นั้น จะกระจาย Server ของตนไว้ทั่วรอบโลกเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าในทุกสถานที่ ให้เลือกใช้ตัวดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ที่ใกล้ที่สุดนั่นเอง หากใครเลือกใช้ ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ไกล ก็อาจจะส่งผลให้การเชื่อมต่อและตอบสนองช้าลง เพราะฉะนั้นถ้าอยากได้ประสิทธิภาพแรงๆ แนะนำให้เลือกเซิร์ฟเวอร์ที่ Location ใกล้ๆ ครับ

Domain Name System ตัวอย่าง

ระยะทางระหว่างผู้เยี่ยมชมกับ Website ก็สำคัญเช่นกัน อุปกรณ์ที่อยู่ใกล้กันมักเชื่อมต่อกันได้เร็วกว่า Device ที่อยู่ห่างกันคนละฟากของโลก ถึงแม้จะไม่ได้ต่างกันมากก็ตาม

การเข้าถึง Website ที่เคยเข้าไปแล้วก็อาจจะเร็วขึ้นเช่นกันเพราะข้อมูลครั้งก่อนหน้าบางส่วน ถูกเก็บไว้ในอุปกรณ์แล้วด้วยในลักษณะ Cache ที่ผมกล่าวถึงก่อนหน้านั่นเอง

อีกหนึ่งวิธีที่ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความเร็วคือระบบ CDN (Content Delivery Network) ซึ่งช่วยให้ส่งผ่านเนื้อหาได้เร็วขึ้น เพราะเจ้า CDNs นี้จะส่ง Content ไปยังสถานที่ที่อยู่ใกล้กับ User นั้นๆ หากดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ใช้ระยะเวลานานในการเชื่อมต่อ เนื้อหาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ วิดีโอ หรือข้อความ จะถูกส่งไปยังอุปกรณ์ได้เร็วขึ้นเพราะไม่ต้องเดินทางในระยะที่ไกล

กลับสู่สารบัญ

ความปลอดภัย

ในบางครั้งเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของคุณ อาจะถูกเข้าถึง, คุกคาม และควบคุมโดย Hacker ก็เป็นได้ โดยส่วนใหญ่เป้าหมายของผู้ไม่ประสงค์ดี จะทำเพื่อเชื่อมต่อ User เข้ากับเว็บไซต์ปลอมแทนที่ URL ที่ Request ซึ่ง IP Address ก็จะเปลี่ยนไปจากเว็บจริงเช่นกัน

เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหานี้ เราควรติดตั้ง Antivirus และ เครื่องมือตรวจเช็ค Malware พร้อมหมั่นอัพเดตตลอดเวลา ที่สำคัญคือต้องมีความตื่นตัว ตรวจสอบข้อความ Message ที่แจ้งเตือนตลอดเวลา สำหรับผู้ใช้งานหรือ User ตามบ้าน ต้องตรวจสอบชื่อ URL บน Browser ให้ดีว่าเป็นเว็บไซต์ที่ต้องการเข้าถึงจริงๆ ก่อนที่จะทำการกรอก หรือส่งข้อมูลที่มีความสำคัญออกไปครับ

DNS Server กับ Web Server

เนื่องจากเซิร์ฟเวอร์สองประเภทนี้มีการทำงานที่อยู่ใน Field เดียวกัน หลายๆ คนจึงอาจเกิดคำถามว่า ควรจะใช้คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เครื่องเดียวสำหรับรองรับการทำงานในสองหน้าที่นี้ในตัวหรือไม่

คำตอบคือ ไม่ควรเป็นอย่างยิ่ง เพราะ Web Server ทั่วไปจะมี Load ที่สูงเพื่อรองรับ Server Application มากมาย นั่นหมายความว่าไม่ควรเพิ่ม Task อื่นๆ ที่ไม่จำเป็นให้ตัวเครื่องเพิ่มเติม งานต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นจะทำให้ประสิทธิภาพในการเชื่อมต่อลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่ DNS Server นั้น ไม่จำเป็นต้องทำงานหนักเท่ากับ Web Server จึงสามารถใช้เซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่น (ที่ไม่ใช่เว็บเซิร์ฟเวอร์) ทำหน้าที่นี้ได้

สำหรับใครที่ยังไม่รู้จักเว็บเซิร์ฟเวอร์ อ่านบทความ Web Server คืออะไรได้ที่นี่

Domain Name System ตัวอย่าง

อีกหนึ่งเหตุผลคือหาก Website ของบริษัทของคุณมี Traffic เยอะ ไม่ว่าจะมาจากการเข้าถึงแบบ Direct, แบบ SEO หรือแบบ SEM ก็ตาม ก็จำเป็นต้องมีความ High Availability สูงๆ เพื่อรองรับการใช้งานจาก User ดังนั้นหากนำมาใช้ร่วมกับดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ อาจจะทำให้การทำงานของตัวเครื่องโหลดมากเกินไปจนเกิดการล่มก็เป็นไปได้

บริษัทใหญ่ๆ หรือองค์กระดับ Enterprise หลายๆ แห่งมีการอุทิศ Server Computer หนึ่งเครื่องเพื่อทำหน้าที่เป็น DNS Server ในขณะที่ที่บริษัทขนาดกลาง จะนำงานส่วนดีเอ็นเอส ไปเป็นงานรองบนเซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่นๆ ส่วนบริษัทขนาดเล็กนั้น อาจจะอัดงานทุกอย่างลงบน Server เครื่องเดียว หากมีงบประมาณจำกัด แต่แน่นอนว่าประสิทธิภาพในหน้าที่ต่างๆ รวมถึงความปลอดภัย ก็จะลดลงด้วยเช่นกัน

Domain Name System ตัวอย่าง

Addin.co.th ภายใต้บริษัท แอด อิน บิซิเนส จำกัด เราจัดจำหน่ายพร้อมให้บริการสินค้าไอทีแบรนด์ชั้นนำมาตั้งแต่ปี 1993 เราเชื่อมั่นในการผลักดันกลุ่มลูกค้าองค์กร ภาคธุรกิจ และบุคคล โดยการเลือกสรรอุปกรณ์และบริการที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสมให้แก่ลูกค้าทุกท่าน

ดูสินค้าทั้งหมด

ฟรีหรือเสียเงิน

สำหรับบริษัทที่ยังไม่พร้อมลงทุน อาจใช้วิธีเช่าดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์จากผู้ประกอบการ แทนที่จะใช้แบบส่วนบุคคล ซึ่งมีหลายๆ แบรนด์ให้เลือกใช้มากมาย ทั้งแบบเสียตังค์และไม่ต้องเสียเงิน ซี่งแน่นอนว่า ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ที่มีค่าใช้จ่ายนั้น ย่อมมีข้อได้เปรียบที่ดีกว่า อาทิเช่น

  1. Dynamic DNS (DDNS) ช่วยให้เราเข้าถึงคอมพิวเตอร์ที่บ้านไม่ว่าจะอยู่ที่ใดในโลก เหมาะสำหรับ Home Network
  2. Secondary DNS ช่วยให้มั่นใจมากขึ้นว่าเว็บไซต์เราจะไม่ล่ม เพราะมันคือ Redundancy หรือเซิร์ฟเวอร์ Backup ที่ช่วยให้ User ยังเข้าถึงเว็บไซต์เราได้ในกรณีมีปัญหา เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความ Redundant Server ที่นี่
  3. Management Interface คือหน้า Dashboard ที่ใช้งานง่าย ช่วยให้จัดการตั้งค่าต่างๆ ได้ตามต้องการ
  4. Two-Factor Authentication คือการยืนยันตัวตนแบบ 2 ชั้น ที่ปลอดภัยขึ้น
  5. Security สำหรับ DNS Server ที่ต้องเสียเงินเช่านั้น ย่อมมีระดับความปลอดภัยที่สูงขึ้นไปอีกขั้น คือป้องการการเข้าถึงจาก Hacker และ Malware ที่อันตรายได้อย่างดี
  6. Performance ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ที่เก็บเงินมักจะมากับสัญญา SLA (Service-Level Agreement) ที่การันตีคุณภาพและประสิทธิภาพของระบบ ซึ่งส่วนใหญ่จะคอนเฟิร์มเรทกันที่ 99% ถึง 100% เลยทีเดียว
  7. Customer Service เมื่อเกิดปัญหา สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้ตลอดเวลา

ขอบคุณข้อมูลจาก Fortinet

DNS Domain List โดย Fortinet

กลับสู่สารบัญ

Add In Business

จำหน่ายอุปกรณ์ไอทีราคาถูก

ภายใต้บริษัท แอด อิน บิซิเนส จำกัด ตัวแทนจำหน่าย
ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากแบรนด์ชั้นนำ
ราคา พิเศษ ส่งฟรี

ดูสินค้าทั้งหมด

สนใจสั่งซื้อหรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่หน้า Contact

หรือ

Domain Name System ตัวอย่าง
 
Domain Name System ตัวอย่าง
 
Domain Name System ตัวอย่าง
 
Domain Name System ตัวอย่าง
 
Domain Name System ตัวอย่าง

สรุป

จะเห็นได้ว่า DNS Server มีความสำคัญอย่างมากสำหรับการใช้งานอินเตอร์เน็ต โดยทางเราหวังว่าท่านผู้อ่านจะได้ทำความเข้าใจมากขึ้น ว่าดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ คืออะไร มีวิธีการทำงานอย่างไร โดยเว็บไซต์เรานอกจากจะมีบทความดีๆ แบบนี้ให้เลือกอ่านแล้ว ยังมีสินค้าไอทีให้เลือกซื้ออีกมากมาย หากท่านผู้อ่านมีความสนใจเพิ่มเติมในการสั่งซื้อสินค้าอุปกรณ์ไอที สอบถามข้อมูล หรือขอใบเสนอราคา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของอุปกรณ์ใดๆก็ตาม สามารถติดต่อเข้ามาได้ที่

Facebook Inbox : https://goo.gl/9wo8oL
Hotline : 063-819-7299
โทร : 02-713-2261
[email protected] : @addinonline
Email : [email protected]

ผู้เขียน

Domain Name System ตัวอย่าง

Unnote

อดีตสถาปนิกและนักศึกษาจบปริญญาโทสาขาอสังหาริมทรัพย์ ผันตัวมาคลุกคลีในวงการไอที เพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

Domain Name System มีอะไรบ้าง

ประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน ..
.com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์.
. net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย.
.org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร.
.edu คือ สถาบันการศึกษา.
. gov คือ องค์กรของรัฐบาล.
.mil คือ องค์กรทางทหาร.

Domain Name System คืออะไร จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

DNS (Domain Name Server)คือคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เก็บค่าIPของแต่ละเวปไซต์ เพราะว่าการที่คุณเข้าเวปไซต์โดยการพิมพ์ www ชื่อเวปไซต์นั้น ตัว DNS จะแปลงจากชื่อเวปไซต์ไปเป็นหมายเลข IP เพื่อนำคุณไปยัง Server ที่เป็นที่อยู่ของเวปไซต์นั้นๆ เช่น พอเราพิมพ์ที่อยู่ของวิกิพีเดีย wikipedia.org ลงไปในเว็บเบราว์เซอร์, เบราว์เซอร์ก็ ...

ทำไมจึงต้องมี Domain Name System

เนื่องจากปริมาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีแนว โน้มเพิ่มขึ้นมาก ทำให้การจะเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลต่าง ๆ นั้นผ่าน ทางการจดจำหมายเลขเครื่องเป็นเรื่องที่ยากลำบากสำหรับผู้ใช้ (end user) จึงเกิดระบบโดเมนเนม (Domain Name System) หรือเรียกโดยย่อว่า ระบบ DNS ขึ้นมาเสริมระเบียบวีธีเดิมที่สื่อสารด้วย Internet ...

Domain Name System ในข้อใดเป็นหน่วยงานการศึกษา

.ac.th เป็น Domain name สำหรับสถาบันการศึกษา โรงเรียน มหาวิทยาลัย วิทยาลัย 1 สถาบัน สามารถขอจดทะเบียนได้เพียง 1 ชื่อ โดยชื่อโดเมนเนมที่ตั้ง มีความสอดคล้องกับชื่อสถาบันการศึกษา เป็นชื่อย่อ ชื่อเต็ม ของสถาบัน เอกสารที่ใช้ จดโดเมน .ac.th คือ