ทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน

Just for you: FREE 60-day trial to the world’s largest digital library.

The SlideShare family just got bigger. Enjoy access to millions of ebooks, audiobooks, magazines, and more from Scribd.

Read free for 60 days

Cancel anytime.

ทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน

ครูให้นักเรียนศึกษารูป 13.9 จากนั้นให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับทางเดินอาหารของ

ไส้เดือนดิน ตั๊กแตน นก และกระต่าย จากนั้นครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึ่งมีแนว

คำ�ตอบดังนี้

จากรูป 13.9 สัตว์แต่ละชนิดมีทางเดินอาหารเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

เหมือนกัน คือ มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ แตกต่างกัน คือ สัตว์บางชนิดมีโครงสร้างที่ช่วย

ในการย่อยอาหาร โดยไส้เดือนดินมีกระเพาะพักอาหารและกึ๋น ตั๊กแตนมีต่อมน้ำ�ลาย ต่อมสร้าง

เอนไซม์และโพรเวนทริคิวลัส นกมีกระเพาะพักอาหารและกึ๋น กระต่ายมีฟัน ต่อมน้ำ�ลาย ตับ

และตับอ่อน

เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม

วิธีการกินอาหารของพลานาเรียแตกต่างจากไฮดราอย่างไร

พลานาเรียยื่นคอหอยออกจากปากมาดูดอาหารเข้าสู่ทางเดินอาหาร ส่วนไฮดราจะใช้

เทนทาเคิลจับเหยื่อแล้วส่งเข้าปากเพื่อเข้าสู่ช่องภายในลำ�ตัว

ทางเดินอาหารของพลานาเรียที่สังเกตได้มีลักษณะแตกต่างจากไฮดราอย่างไร

พลานาเรียมีทางเดินอาหารที่แตกแขนงไปทั่วร่างกาย ส่วนไฮดรามีทางเดินอาหารเป็น

ช่องกลางลำ�ตัว ซึ่งสัตว์ทั้งสองชนิดมีทางเดินอาหารแบบมีช่องเปิดทางเดียว

เพราะเหตุใดสัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์จึงต้องมีการย่อยอาหารทั้งภายนอกเซลล์

และภายในเซลล์

สัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ ส่วนใหญ่มีทางเดินอาหารสั้น ทำ�ให้การย่อยอาหาร

ภายนอกเซลล์มีเวลาน้อย การย่อยจึงเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์ต้องมีการย่อยภายในเซลล์ต่อเพื่อ

ให้ได้สารอาหารที่เซลล์สามารถนำ�ไปใช้ได้

ชวนคิด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 13 | ระบบย่อยอาหาร

ชีววิทยา เล่ม 4

15

Facebook

邮箱或手机号 密码

忘记帐户?

注册

无法处理你的请求

此请求遇到了问题。我们会尽快将它修复。

  • 返回首页

  • 中文(简体)
  • English (US)
  • 日本語
  • 한국어
  • Français (France)
  • Bahasa Indonesia
  • Polski
  • Español
  • Português (Brasil)
  • Deutsch
  • Italiano

  • 注册
  • 登录
  • Messenger
  • Facebook Lite
  • Watch
  • 地点
  • 游戏
  • Marketplace
  • Facebook Pay
  • Oculus
  • Portal
  • Instagram
  • Bulletin
  • 本地
  • 筹款活动
  • 服务
  • 选民信息中心
  • 小组
  • 关于
  • 创建广告
  • 创建公共主页
  • 开发者
  • 招聘信息
  • 隐私权政策
  • Cookie
  • Ad Choices
  • 条款
  • 帮助中心
  • 联系人上传和非用户
  • 设置
  • 动态记录

Meta © 2022

ไส้เดือนดิน

                    ไส้เดือนดิน หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า  ไส้เดือน (อังกฤษ: Earthworm) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมแอนเนลิดา ในอันดับย่อย Lumbricina มีลักษณะลำตัวเป็นข้อปล้อง พบได้ทั่วไปในดิน ใต้กองใบไม้ หรือใต้มูลสัตว์ เป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน แต่มีการสืบพันธุ์แบบทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ

ปัจจุบันพบทั่วโลกประมาณ 4,400 ชนิด โดยแบ่งออกได้ตามลักษณะแหล่งที่อยู่อาศัย

1.กลุ่มอาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน

2.กลุ่มอาศัยในดินชั้นบน ที่มีความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร

3.กลุ่มอาศัยในดินชั้นล่าง ที่มีความลึกประมาณ 2-3 เมตร

ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากในการย่อยอินทรียสารในดิน และการเคลื่อนที่ในดินของไส้เดือน ถือเป็นการพรวนดิน ทำให้ดินมีช่องว่างที่จะเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้แก่ดิน ซึ่งมีความสำคัญต่อการปลูกพืช อีกทั้งยังใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพจากไส้เดือนอีกด้วย และนอกจากนี้แล้ว ไส้เดือนยังเป็นที่นิยมอย่างยาวนาน ใช้เป็นเหยื่อสำหรับตกปลา

        ระบบย่อยอาหาร ของไส้เดือนดิน

ทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน เป็นท่อทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ มีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดา ที่เชื่อมต่อจากปากในช่องแรกยาวไปจนถึงทวาร ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะดังนี้

ทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน

1.ปาก ( Mouth ) อยู่ใต้ริมฝีปากบน เป็นทางเข้าของอาหาร นำไปสู่ช่องปากซึ่งจะเป็นบริเวณที่มีต่อมน้ำลายผลิต สารหล่อ ลื่นอาหารที่กินเข้าไป ช่องปากจะอยู่ในปล้องที่ 1- 3

2.คอหอย ( Pharynx ) เป็นกล้ามเนื้อที่หนา และมีต่อมขับเมือก ตั้งอยู่ระหว่างปล้องที่ 3 ถึงปล้องที่ 6 ไส้เดือนดิน ใช้คอหอยใน การดูดอาหารต่างๆ เข้าปากโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ ซึ่งจะทำให้เกิดแรงดึงดูดให้อนุภาคอาหารภายนอกผ่านเข้าไปในปาก

3.หลอดอาหาร ( Esophagus ) อยู่ระหว่างปล้องที่ 6 ถึงปล้องที่ 14 มีต่อมแคลซิเฟอรัส ช่วยดึงไออน ของแคลเซียมจากดินที่ปนมากับอาหารจำนวนมาก นำเข้าสู่ทางเดินอาหาร เพื่อไม่ให้แคลเซียมในเลือดมากเกินไป เฉพาะพวกที่กินอาหารที่มีดินปนเข้าไปมากๆ เท่านั้นจึงจะมีต่อมแคลซิเฟอรัส ต่อจากหลอดอาหารจะพองโตออกเป็นหลอดพักอาหาร มีลักษณะเป็นถุงผนังบางๆ และ กึ๋น ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรง และ ทำหน้าที่บดอาหารให้ละเอียดเพื่อส่งต่อไปยังลำไส้

4.ลำไส้ ( Intestine ) มีลักษณะเป็นท่อตรงที่เริ่มจากปล้องที่ 14 ไปถึงทวารหนัก ผนังลำไส้ของไส้เดือนดินค่อนข้างบางและผนังลำไส้ด้านบนจะพับเข้าไปข้างใน ช่องทางเดินอาหารเรียกว่า Typhlosole ทำให้มีพื้นที่ในการย่อยและดูดซึมอาหารได้มากขึ้นโดย สำหรับไส้เดือนน้ำจืดไม่มี Typhlosole ผนังลำไส้ประกอบด้วยชั้นต่างๆ คือเยื่อบุช่องท้อง วิสเซอรอล อยู่ชั้นนอกสุดของลำไส้ ติดกับช่องลำตัว เซลล์บางเซลล์บนเยื่อนี้จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พิเศษ เรียกว่า เซลล์คลอราโกเจน ทำหน้าที่คล้ายตับของสัตว์ชั้นสูง คือสังเคราะห์และสมสมสารไกลโคเจน ไขมัน โดยเซลล์ไขมันในเนื้อเยื่อคลอราโกเจนที่มีขนาดโตเต็มที่จะหลุดออกมาอยู่ใน ช่องลำตัวเรียกว่า Eleocytes ซึ่งจะกระจายไปยัง อวัยวะต่างๆและยังมีหน้าที่รวบรวมของเสียจากเลือดและของเหลวในช่องลำตัวโดย เป็นตัวดึงกรดอะมิโน ออกจากโปรตีน สกัดแอมโมเนีย ยูเรีย และสกัดสารซิลิกาออกจากอาหารที่กินเข้าไปแล้วขับถ่ายออกนอกร่างกายทางรูขับ ถ่ายของเสียหรือเนฟริเดียม ถัดจากเยื่อบุช่องท้องวิ สเซอรอลจะเป็นชั้นของกล้ามเนื้อ โดยกล้ามเนื้อในลำไส้ของไส้เดือนดินประกอบด้วยกล้ามเนื้อ 2 ชั้น คือชั้นในเป็นกล้ามเนื้อเส้นรอบวงและชั้นนอกเป็นกล้ามเนื้อตามยาว ซึ่งสลับกันกับกล้ามเนื้อของผนังร่างกาย และชั้นในสุดของลำไส้จะเป็นเยื่อบุลำไส้ ซึ่งประกอบด้วย เซลล์รูปแท่งและเซลล์ต่อม ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยชนิดต่างๆ

            ระบบขับถ่าย ของไส้เดือนดิน

อวัยวะขับถ่ายของเสียหลักในไส้เดือนดินคือ เนฟริเดีย ( Nephridia ) ซึ่งเป็น อวัยวะที่ทำหน้าที่แยกของเสียต่างๆออกจากของเหลวในช่องลำตัวของไส้เดือนดืน

แต่ละปล้อง ของไส้เดือนดินจะมี nephridia ที่เป็นท่อขดไปมาอยู่ปล้องละ 1 คู่ ทำหน้าที่รวบรวมของเหลวในช่องตัวจากปล้องที่อยู่ถัดไปทางด้านหน้าของลำตัว ของเหลวในช่องตัวจะเข้าทางปลายท่อ nephrostome ที่ มีซิเลียอยู่โดยรอบ แล้วไหลผ่านไปตามส่วนต่างๆของท่อ น้ำส่วนใหญ่พร้อมทั้งเกลือแร่บางชนิดที่ยังเป็นประโยชน์จุถูกดูดซึมกลับเข้า สู่กระแสเลือด ส่วนของเสียพวกไนโตรจินัสเบสจะถูกขับออกสู่ภายนอกทางช่อง nephridiopore ที่อยู่ทางด้านท้อง

ที่มา :

            http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99

http://www.ifarm.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=344:earthworms&catid=97:2010-06-03-04-32-01&Itemid=222

ผู้จัดทำ

1.นางสาวศรีปัญญา ชัยเพชร เลขที่ 20

2.นางสาวชบาพร นวลช่วย เลขที่ 23

ข้อใดเรียงลำดับทางเดินอาหารของไส้เดือนดินได้อย่างถูกต้อง

ไส้เดือนดิน มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ คือ ประกอบไปด้วย ปาก(mouth) -> คอหอย(phaynx) -> หลอดอาหาร(esophagus) -> กระเพาะพักอาหาร(crop) -> กึ๋น(gizzard) -> ลำไส้(intestine) -> ทวาร(anus) ภาพที่ 1 แสดงระบบทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน

Crop ในไส้เดือนดินทําหน้าที่อะไร

กระเพาะพัก (อังกฤษ: crop, croup, craw, inglusives) เป็นส่วนหนึ่งของทางเดินอาหารที่มีผนังบาง ใช้สำหรับเก็บอาหารก่อนการย่อย โครงสร้างทางกายวิภาคนี้พบได้ในสัตว์หลายชนิด รวมถึง นก ไดโนเสาร์ และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังรวมถึง สัตว์ในชั้นแกสโทรโพดา (เช่น ทากและหอยทาก), ไส้เดือนดิน, ปลิง, และแมลง

โครงสร้าง Typhlosole ในไส้เดือนทำหน้าที่อะไร

2. ไทโฟลโซล (Typhlosole) ที่อยู่ในลำไส้ของไส้เดือนดินมีลักษณะและหน้าที่อย่างไร แนวทางการเขียนคำตอบ ที่ผนังลำไส้ทางด้านหลังของไส้เดือนดินจะเจริญและยื่นเข้าไปในช่องลำไส้เพื่อเพิ่มพื้นที่ ในการย่อยอาหาร เกิดเป็นติ่งเนื้อที่เรียกว่า ไทโฟลโซล (Typhlosole)

พยาธิชนิดใดมีทางเดินอาหารสมบูรณ์

1. หนอนตัวกลม เช่น พยาธิ ไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย - เป็นพวกแรกที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ คือ มีช่องปากและ ช่องทวารหนักแยกออกจากกัน 2. หนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน ้าจืด และ แมลง - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ และมีโครงสร้างทางเดินอาหารที่มี ลักษณะเฉพาะแต่ละส่วนมากขึ้น ระบบขับถ่ายในสัตว์