ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ เทศบาลตำบลดงหลวง อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร

help_outline เทศบาลคืออะไร?

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

เทศบาล คืออะไร ?
เทศบาล เป็นการปกครองท้องถิ่นรูปหนึ่งของไทย ตามหลักการกระจายอำนาจ กล่าวคือ ราชการบริหารส่วนกลาง กระจายอำนาจไปให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอิสระที่จะดำเนินการปกครองตนเองภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนด เป็นการปูพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา เพราะเป็นการจำลองรูปแบบการปกครองประเทศมาใช้ในท้องถิ่น ปัจจุบันเทศบาลจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งได้กำหนดให้การจัดตั้ง การเปลี่ยนชื่อ การเปลี่ยนแปลงเขต หรือการเปลี่ยนแปลงฐานะของเทศบาล ให้กระทำเป็นพระราชกฤษฎีกา เทศบาลมีฐานะเป็นนิติบุคคล แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ คือ เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร อย่างไรก็ตามเทศบาลทั้ง ๓ ระดับ มีโครงสร้างเหมือนกัน คือ ประกอบด้วย สภาเทศบาล (ซึ่งสมาชิกมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในเขตเทศบาลนั้น) และคณะเทศมนตรี (นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีอีกจำนวนหนึ่ง) จะแตกต่างกันก็เฉพาะที่ตั้งหรือจำนวนประชากรเท่านั้น เทศบาลตำบล จัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นที่มีความเจริญพอสมควร และสามารถมีรายได้พอสมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำ ปรกติจะตั้งขึ้นในท้องถิ่นของอำเภอต่าง ๆ ที่มิใช่อำเภอเมือง หรือท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง ตั้งอยู่ที่อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง เทศบาลตำบลมีสมาชิกเทศบาลได้ ๑๒ คน มีคณะเทศมนตรี ๓ คน (นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีอีก ๒ คน) ปัจจุบันมีอยู่ ๔๘ แห่ง เทศบาลเมือง จัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดหรือท้องถิ่นชุมชนที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่ตั้งแต่ ๑๐๐๐๐ คนขึ้นไป โดยประชากรเหล่านั้นอยู่หนาแน่นเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓๐๐๐ คน/ตารางกิโลเมตร ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำ เทศบาลเมืองมีสมาชิกสภาเทศบาลได้ ๑๘ คน มีคณะเทศมนตรีได้ ๓ คน เช่นเดียวกับเทศบาลตำบล ส่วนใหญ่เทศบาลเมืองจะตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมืองเพราะเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด ดังนั้น ในแต่ละจังหวัดอย่างน้อยจะมีเทศบาลเมือง ๑ แห่ง อย่างไรก็ตาม เทศบาลเมืองอาจจัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นอำเภออื่นนอกจากอำเภอเมืองก็ได้ เช่น เทศบาลเมืองบ้านโป่ง ตั้งขึ้นที่อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันมีเทศบาลเมืองทั้งสิ้น ๘๗ แห่ง เทศบาลนคร ตั้งขึ้นในท้องถิ่นชุมชนที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่ตั้งแต่ ๕๐๐๐๐ คนขึ้นไป โดยประชาชนเหล่านั้นอยู่กันอย่างหนาแน่นเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓๐๐๐ คน/ตารางกิโลเมตร ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำ เทศบาลนครมีสมาชิกสภาเทศบาล ๒๔ คน และมีคณะเทศมนตรี ๕ คน (นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีอื่นอีก ๔ คน)

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันยังไงนะ

12 มิถุนายน 2565 เวลา 20:26 / ผู้เข้าชม : 183

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. คืออะไร

           “ องค์การบริหารส่วนตำบล ( อบต.) คือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นระดับ ตำบลที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด มีพื้นที่เท่ากับตำบลแต่ละตำบล  โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อดูแลทุกข์สุขและให้บริการประชาชนในหมู่บ้าน  ตำบล เขต อบต. แทนรัฐบาลกลาง มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการท้องถิ่น  มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม  และหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนดรวมทั้งมีงบประมาณ และพนักงานเจ้าหน้าที่ของ อบต. เอง ”

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

เทศบาล คืออะไร

          เทศบาล เป็นการปกครองท้องถิ่นรูปหนึ่งของไทย ตามหลักการ กระจายอำนาจ กล่าวคือ ราชการบริหารส่วนกลาง กระจายอำนาจ ไปให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอิสระที่จะดำเนินการปกครองตนเอง ภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนด เป็นการปูพื้นฐานการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภาเพราะเป็นการจำลองรูปแบบ การปกครองประเทศมาใช้ในท้องถิ่น

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

เงินเดือนผู้บริหาร

  • อบต. นายก อบต เริ่มตนที่ 21,860 สูงสุด 26,080
  • เทศบาล นายกเทศมลตรี เริ่มต้นที่ 14280 สูงสุด 75,530 ใช้กับเทศบาลทุกระดับ

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

จำนวนประชากร (ตามเกณฑ์กฎหมาย)

  • อบต. < 7,000 (มากกว่า 7,000 คน)
  • เทศบาล< 7,000 คน (มากกว่าหรือเท่ากับ 7,000 คน แต่ไม่เกิน 15,000 คน)

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

รายได้ท้องถิ่น

  • อบต. น้อยกว่า 20,000,000 บาท
  • เทศบาล มากกว่า 20,000,000 บาท

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

จำนวนหน่วยงาน

  • อบต. 5,300 แห่ง
  • เทศบาล 2,247 แห่ง 

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

อำนาจหน้าที่

อบต.

  • รักษาความสะอาด
  • จัดให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
  • จัดให้มีไฟฟ้า
  • กำจัดขยะมูลฝอย
  • ป้องกันโรคติดต่อ
  • ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

เทศบาล 

  • รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย
  • จัดให้มีน้ำสะอาด หรือการประปา
  • จัดให้มีไฟฟ้าหรือแสงสว่าง
  • กำจัดขยะมูลฝอย
  • ป้องกันโรคติดต่อ
  • ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

บริการทางทะเบียนราษฎร (ทำบัตรประชาชน)

  • อบต. ไม่ได้
  • เทศบาล ได้

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล

อบต. กับ เทศบาล ต่างกันอย่างไร?

รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ)

  • อบต. ดำเนินการเองไม่ได้ สนับสนุนหน่วยงานอื่นเพียงอย่างเดียว
  • เทศบาล ได้ ดำเนินการเองได้ (ในส่วนที่ไม่ใช่อำนาจหน่วยงานอื่น)

ข้อ แตก ต่าง อบ ต กับ เทศบาล