การอนุรักษ์ประเพณีแห่ เทียนพรรษา

กิจกรรมแห่เทียนจำนำพรรษา ประจำปีการศึกษา 2561

1. หลักการและเหตุผลของกิจกรรม
     ประเพณีแห่เทียนพรรษาเป็นประเพณีปฏิบัติของชาวพุทธที่ได้กระทำมาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลเหตุที่ทำให้เกิดประเพณี เพราะสมัยก่อนมีภิกษุได้เดินไปเหยียบย่ำข้าวกล้าในนาของชาวบ้าน ทำให้ได้รับความเดือดร้อนดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงได้อนุญาตให้ภิกษุสามเณรอยู่จำพรรษาที่วัดเป็นเวลา 3 เดือน คือในช่วงวันแรมหนึ่งค่ำเดือนแปด ถึงวันขึ้นสิบห้าค่ำเดือน 11 ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดการเก็บเกี่ยวของชาวบ้านพอดี ในช่วงเข้าพรรษานี้ประชาชน  จะนำเทียนไปถวาย เพราะเชื่อว่าถวายเทียนพรรษาเป็นผลให้บังเกิดความเฉลียวฉลาด มีปัญญาเฉียบแหลม
     สำหรับการแห่เทียนพรรษานั้นถือว่าเป็นประเพณีทางศาสนาซึ่งมีความเจริญในพุทธศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีมาเป็นเวลายาวนานเป็นการแสดงออกถึงการยึดมั่นสืบสานงานบุญทางพุทธศาสนา    อย่างเคร่งครัด เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน แสดงถึงวิถีชีวิตของชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนแสดงให้เห็นถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความสามัคคีของคนในชุมชนงานแห่เทียนพรรษาเป็นงานที่ทำให้ประชาชนในชุมชนได้มีโอกาสได้ร่วมส่งเสริมและสืบสานพระพุทธศาสนา และร่วมกันอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่สืบไป
2. วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
    1. เพื่อเป็นการส่งเสริมสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมของท้องถิ่นที่มีมาแต่โบราณให้ยังคง
อยู่กับคนไทยตลอดไป
     2. เพื่อให้คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองและประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
     3. เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีของคนในชุมชนและประชาชนจะได้ร่วมกันทำบุญ
     4. เพื่อปลูกฝังค่านิยมอันดีงามให้กับเด็กเยาวชนและประชาชน ในการอนุรักษ์ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา

การอนุรักษ์ประเพณีแห่ เทียนพรรษา

การอนุรักษ์ประเพณีแห่ เทียนพรรษา

การอนุรักษ์ประเพณีแห่ เทียนพรรษา

โพสเมื่อ : 26 ก.ค. 2561,14:48   อ่าน 1575 ครั้ง


               ����֡���Ԩ�¤��駹�� ���ѵ�ػ��ʧ�� � ��С�� ��� () �����֡�Ҥ������һ��ླ������¹��Ҿ���Ңͧ��Ǿط��ѧ��Ѵ�غ��Ҫ�ҹ� () �����֡�ҡ������¹�ŧ�ͧ���ླ������¹��Ҿ���Ңͧ��Ǿط��ѧ��Ѵ�غ��Ҫ�ҹ� () �����֡���Ƿҧ���͹��ѡ����ླ������¹��Ҿ���Ңͧ��Ǿط��ѧ��Ѵ�غ��Ҫ�ҹ�  ����֡�Ҥ��駹���繡���֡���Ԩ����ԧ�س�Ҿ ���ŧ�Ҥʹ�� �š���֡���մѧ���仹��

      ���ླ���Ҿ���ҹ�������ҵ�������¾ط���� ��оط���ҷç�ç���ѭ��㹡��������оط���ʹҢͧ�������ǡ㹪�ǧĴٽ� �Դ�˵ء�ó������Ǻ�ҹ��ҡѹ����¹��ô��������ǡ ��оط������ѭ�ѵ��ԡ�Һ��������������ԡ�ػ�Ժѵ�㹪�ǧ��Ҿ���� ����Ѻ ���ླ������¹��Ҿ���Ңͧ��Ǿط��ѧ��Ѵ�غ��Ҫ�ҹ� �դ��������Ҩҡ�������Ҩҡ����������������������ҳ�ͧ������ҹ������¡������ “�յ�Ժ�ͧ �ͧ�Ժ��� ��������Һح��͹Ỵ ���ͺح��Ҿ���� ����͹����Ӥѭ㹷ҧ��оط���ʹ�����Ѻ���ʧ��

���ླ������¹��Ҿ����Ẻ���������ѡɳТͧ�ѧ������ ���͵����ѡ��оط���ʹ� ��л��ླշ���׺�ʹ�ѹ�� �ѡɳС�÷����Ͷ����繾ط��٪� ��ѧ�źح���ŷ�����ԧ㹷ҧ��оط���ʹ� �Դ�ҡ�������ǹ�����ҡ��ЪҪ��ء�Ҥ��ǹ �����������¹�ŧ�ҡ�������ҧ����ԧ ���仴��¤����Ѻ��͹�ԧ�ع���� ����з���Ѳ����������¹����ҡ������ѭ���ѡɳ�ͧ��÷�ͧ������ԧ�Ѳ�����  

�Ƿҧ���͹��ѡ����ླ������¹��Ҿ���Ңͧ��Ǿط��ѧ��Ѵ�غ��Ҫ�ҹդ�ͻ�ЪҪ�����������Ԩ������ҧ� 㹡�÷ӵ���¹ ��������¹ ��û�СǴ��¹ ������������·ʹ��Ԥ�����������Ǣ�ͧ�Ѻ��÷���¹����������������������¹��� ����׺�ʹ��͡ѹ�ҡ��������� ����ջ��ʺ�Ѻ�ѭ���ػ��ä��੾�Ч�����ҳ�֧������Ѻ�������˹ع�ҡ�Ҥ�Ѱ ����͡������ 

��ǹ���Ŵ

  วิธีการอนุรักษ์ประเพณีไทย

    ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของสังคมไทยเราก็มีหลายอย่าง แล้วแต่ละอย่างก็อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน แต่ทว่าปัจจุบัน สิ่งต่างๆเหล่านี้กับเลือนหายไปพร้อมกับมีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาแทนที่ จึงทำให้ผู้คนไม่เห็นความสำคัญ เราก็เป็นคนไทยคนหนึ่งที่ไม่อยากให้ประเพณีเหล่านั้นสูญหาย แต่วิธีอนุรักษ์ก็มีหลายๆอย่างแตกต่างกันออกไป ดังต่อไปนี้

        1. การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ สร้างจิตสำนึกของความเป็นคนท้องถิ่นนั้นๆ ที่จะต้องร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชุมชน อันจะสร้างความรู้และความภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นด้วย 

           2. การค้นคว้าวิจัยควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของไทยในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิปัญญาที่เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่น มุ่งศึกษาให้รู้ความเป็นมาในอดีต และสภาพการณ์ในปัจจุบัน

         3. การฟื้นฟู โดยการเลือกสรรภูมิปัญญาที่กำลังสูญหาย หรือที่สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในท้องถิ่น โดยเฉพาะพื้นฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

        4. การพัฒนา ควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสมกับยุคสมัยและเกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยใช้ภูมิปัญญาเป็นพื้นฐานในการรวมกลุ่มการพัฒนาอาชีพควรนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อต่อยอดใช้ในการผลิต การตลาด และการบริหาร ตลอดจนการป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  

               5.   การถ่ายทอด โดยการนำภูมิปัญญาที่ผ่านมาเลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผลอย่างรอบคอบและรอบด้าน แล้วไปถ่ายทอดให้คนในสังคมได้รับรู้ เกิดความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่า คุณประโยชน์และปฎิบัติได้อย่างเหมาะสม โดยผ่านสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมต่างๆ         

          6 .  ส่งเสริมกิจกรรม โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาของชุมชนต่างๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง

       7. การเผยแพร่แลกเปลี่ยน โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง โดยให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ ด้วยสื่อและวิธีการต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งกับประเทศอื่นๆ ทั่วโลก

            8.  การเสริมสร้างปราชญ์ท้องถิ่น โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของชาวบ้าน ผู้ดำเนินงานให้มีโอกาสแสดงศักยภาพด้านภูมิปัญญา ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ มีการยกย่องประกาศเกียรติคุณในลักษณะต่างๆ และผู้ชายก็ให้ความเห็นเหมือนกันเกี่ยวกับการอนุรักษ์ประเพณีไทยของเราสืบสานให้คงอยู่ต่อไป โดยการ ให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ครับ เช่น การจัดให้เยาวชนในท้องถิ่น มีส่วนร่วม กับกิจกรรมที่ดีๆ แล้วพวกเขาเหล่านั้น รู้สึกภาคภูมิใจ ที่ได้มีส่วนร่วม อาจจะเป็นกิจกรรมหารายได้สร้างวัด หรือมีกิจกรรมให้เด็กๆ ได้มาแสดงความสามารถ เช่น อาจจะมี เวทีดนตรี กิจกรรมกีฬา หรือเป็นเรื่องอะไรก็ได้ ที่สอดแทรก อู่ในงานประเพณี ของท้องถิ่น อย่างที่หมู่บ้านท้องถิ่นของผม(อุดรธานี) ก็จะมีเวทีแสดงดนตรี ในงานบุญ เทศกาลต่างๆ มีการจัดแข่งกีฬา ของเยาวชนและคนในชุมชน สรุปก็คือ ดึงคนรุ่นใหม่เข้ามา โดยใช้สิ่งที่เขาสนใจ แล้วเขารู้สึกภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีครับ ได้ผลแน่นอนครับ แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ความต่อเนื่อง ของ การทำกิจกรรมครับ แล้วเขาจะเฝ้ารออย่่างใจจดใจจ่อเลยครับ ว่าเมื่อไหร่เขาจะได้เข้ามามีส่วนร่วมอีกครั้ง กับการได้อนุรักษ์ประเพณี ที่เขารู้สึกว่าดีงาม