สายงานอาชีพด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์

สายงานอาชีพด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์

สำหรับสายงานด้าน IT สามารถแตกแขนงออกเป็นได้หลายอาชีพ แล้วแต่ประสบการณ์และความถนัดของบุคคลนั้นๆ แต่การทำงานก็จะมีการเชื่อมโยงกันอยู่ ลองไปดูกันสิว่า สายงานอาชีพด้านITมีอะไรกันบ้าง

 1. สายผู้บริหารไอที (IT Management)

สายผู้บริหารสารสนเทศขององค์กร (IT Management)  จะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ทางด้านสายงานไม่ต่ำกว่า 5 ปี ถ้าเป็นธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดกลางตำแหน่งสูงสุดน่าจะเป็น IT/MIS Manager แต่ถ้าเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ขึ้นมาต่ำแหน่งระดับสูงที่ดูแลส่วนไอทีจะใช้ตัว C นำหน้า เช่น CIO, CTO อันนี้ก็แล้วแต่ว่าแต่ละบริษัทจะเน้นที่ข้อมูลหรือเน้นที่เทคโนโลยี โดยผู้บริหารไอทีต้องมีศาสตร์ในตัวหลายด้าน มีประสบการณ์หนาแน่น แถมยังต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วย

อย่างเช่น

– CEO (Chief Executive Officer) = เน้นทุกด้าน

– CIO (Chief Information Officer) = เน้นด้านระบบข้อมูล

– CTO (Chief Technology Officer) = เน้นด้านเทคโนโลยี

– CFO (Chief Finance Officer) = เน้นด้านการเงิน

– COO (Chief Operation Officer) = เน้นด้านปฏิบัติการหรือดำเนินการ

– CMO (Chief Marketing Officer) = เน้นด้านการขาย

– General Manager = ผู้จัดการทั่วไป

– IT Manager = ผู้จัดการฝ่ายไอที

– IT Division Manager

– IT Sales Manager

– IT System Division Manager

– Business Development Manager

– IT Specialist

– MIS Supervisor

– ICT Manager

– Assistant IT Manager

2. อาชีพสายนักเขียนโปรแกรม (Programmer Jobs)

สำหรับสายงานอาชีพด้านนักเขียนโปรแกรม ส่วนมากจะจบจากสาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์(Computer Science) เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology) หรือ สายวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)  และนี่คือ อาชีพที่แบ่งออกตามสายงานด้านโปรแกรมเมอร์

– Programmer

– Senior Programmer

– Cobol Programmer เน้นภาษาโคบอล

– Application Developer

– Application Developer (JAVA) เน้นภาษาจาวา

– Senior Java Developer เน้นภาษาจาวา

– Senior Test Engineer

– E-Commerce Developer

– Game Programmer

– Application Engineer

– VB Developer

– Senior Java Programmer

– PHP Programmer เน้นภาษาพีเฮสพี

– .Net Programmer (C#, VBT.NET) เน้นเทคโนโลยีดอทเน็ต อาจาใช้ภาษา C# หรือ VBT.NET

– Java Programmer

– Software Tester

– Ajax Programmer

– Software Engineer

– J2EE Programmer

– iPhone Application Developer เน้นใช้งานบนไอโฟน

– IT Development Specialist

– Project Manager

3. สายงานด้านวิเคราะห์และออกแบบระบบ(System Analyst Jobs)

นัก วิเคราะห์ระบบงานจะทำหน้าที่วิเคราะห์ระบบงาน ก่อนการส่งงานให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมสำหรับอาชีพสายนี้หากผ่านงานสาย การเขียนโปรแกรมมาก่อนจะเป็นการดีมาก

ตัวอย่าง อาชีพสายนักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เช่น

– Systems Analyst

– Business Analyst

– Senior System Analyst

– System Analyst AS/400

– System Analyst (RPG,AS400/IBM)

4. สายงานด้าน ผู้ดูแลระบบเครือข่าย  (Network Admin Jobs)

ผู้ดูแลระบบเครืองข่าย หรือ  Admin จะเป็นผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร แบ่งได้ 3 สายย่อย ตามชนิดระบบปฏิบัติการที่ใช้งาน ดังนี้

สำหรับ งานสายNetwork Admin Jobs แบ่งออกเป็นหลายตำแหน่งด้วยกัน ขึ้นอยู่กับว่าหน่วยงานที่เราไปสมัครเขาเน้นใช้OSค่ายไหน อย่างเช่น

– System Engineer = วิศวกรระบบ

– System Administrator = ผู้ดูแลระบบเครือข่าย

– Network Engineer = วิศวกรเครือข่าย

– Network Administrator

– IT Administrator

– IT System Admin

– IT Security

– Network Security

– Internet Security Manager

– IT Network Infrastructure

– Network Operation = เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการและดูแลแครือข่าย

– Lotus Notes/Domino Admin

– Internet Security Systems Engineer

– Linux Administrator

5. สาย ด้านเว็บไซต์ (Website)

สายงานด้านนี้ ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะ คนนิยมมาใช้อินเทอร์เน็ตกันมากขึ้นเรื่อยๆ

และนี่คือ สายงานอาชีพด้านเว็บไซต์

– Web Programmer / Web Developer ทำหน้าที่พัฒนาแอพลิเคชั่น

– Web Designer ทำหน้าที่ออกแบบความสวยงานของเว็บไซต์

– Web Content ทำหน้าที่ดูแลข้อมูลก่อนนำมาใส่ลงเว็บไซต์

– Web Marketing ทำหน้าที่ทำการตลาด ทำรายได้ให้ตัวเว็บไซต์สร้างมูลค่าขึ้นมาได้

– Web Master / Web Manager ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมเว็บ

– E-Commerce Developer พัฒนาระบบหน้าร้านขายของ

– Creative Web Designer

– Senior Web Designer

– Flash Programmer เน้นพัฒนาแอพลิเคชั่นด้วย Action Script

6. อาชีพสายฐานข้อมูล (Database Jobs)

เป็นสายงานที่สำคัญอีกสายงานหนึ่ง เพราะ สายงานนี้จะทำหน้าที่ดูแลฐานข้อมูลขององค์กร

ตัวอย่าง อาชีพสายสายฐานข้อมูล เช่น

– Database Administrator (DBA) ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล

– PL/SQL Developer

– Lotus System Analyst

– Database Architect

– Oracle Database Administrator (DBA)

– Data Warehouse Specialist

– Oracle Programmer

– Data Warehouse Developer

– Oracle Forms Developer

– DB2 Database Administrator

– Lotus Notes Developer

– MySQL Engineer

– MySQL DBA

7. อาชีพสายคอมพิวเตอร์กราฟิก (Computer Graphic Jobs)

ผู้ที่ทำด้านนี้จะต้องมีความคิดสร้างสรรค์และสามารถใช้โปรแกรมตกแต่งภาพต่างๆได้อย่างดี

ตัวอย่าง อาชีพสายคอมพิวเตอร์กราฟิก เช่น

– Graphic Designer

– Computer Graphic

– Graphic Arts Designer

8.อาชีพสายการออกแบบ/เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์/งานสามมิติ/Animation

ตัวอย่าง อาชีพสายออกแบบ/เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น

– Draftman (พนักงานเขียนแบบ)

– 3D Product Design Officer

– Interactive Media Editor

– Creative

– 3D Modeling

– 3D Character Animator

– 3D Visualizer

– Computer Animation

9. อาชีพสายผู้สนับสนุนไอที (IT Support Jobs)

เป็นสายอาชีพที่คอยสนับสนุน และรู้เทคนิกต่างๆด้านฮาร์ดแวร์ได้ดี อย่างเช่น

– IT Support

– IT Support Officer

– Technical Support Engineer

– Technicial Support

– Maintenance Engineer

– Technical Services Engineer

– Helpdesk Supervisor

– IT Help Desk

– Customer Support

– IT Maintenance

10.  อาชีพสายผู้สอนหลักสูตรไอที / ฝึกอบรมด้านไอที

ก็คือ ครู,อาจารย์ ที่สอนนักเรียน นักศึกษาในด้านไอทีนี่เอง

– Computer Teacher (อาจารย์สอนคอมพิวเตอร์)

– IT Trainner (วิทยากรอบรม/บรรยายด้านไอที

– Instructor (ผู้สอนหลักสูตรคอมพิวเตอร์)

11. อาชีพสายที่ปรึกษาไอที (IT Consultant Jobs)

ตัวอย่าง อาชีพสายที่ปรึกษาไอที เช่น

– IT Consultant

– Business Intelligence Consultant

– ERP Consultant

– Datawarehousing Consultant

– CRM Consultant

Cr : เด็กฝึกงาน.com

  • Tweet
  • Share
  • Share
  • Share
  • Share