สภาพภูมิอากาศของอาณาจักรอยุธยา

          ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา ไม่มีภูเขาและป่าไม้ มีแม่น้ำไหลผ่าน 4 สายได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา ป่าสัก ลพบุรีและแม่น้ำน้อยรวมความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร มีลำคลองใหญ่น้อยรวม 1,254 คลอง เชื่อมต่อกับแม่น้ำเกือบทั่วบริเวณพื้นที่

Phra Nakhon Si Ayutthaya or Ayutthaya Province was the capital of Thailand. There were some evidences proved that it was the city that was situated on the plain of Chao Phraya River since Buddhist era 16-18, for example, the sign of city, ancient remains, antiques, the annals, as well as the stone inscription, which is the contemporary evidence that most coincide with the incident (Ayothaya or Ayutthaya Kingdom was situated on the east of Ayutthaya isle). It was one of the prosperous cities in terms of politics, administration, and culture. In regard to administration, three administrative laws were enforced: Comprehensive Law, Slavery Law, Law of Obligation. Ramathibodi I (Uthong) established Ayutthaya as the capital city in 1350 and it had been the center of Siam for 417 years. During those years, there were 33 Kings from 5 different dynasties:

1. Uthong dynasty               2. Suphannaphum dynasty
3. Sukhothai dynasty           4. Prasat Thong dynasty
5. Ban Phlu Luang dynasty

Ayutthaya lost independence to Myanmar twice. The first loss of independence was in 1569 and King Naresuan retrieved independence in 1584. The second loss of independence was in 1767 which King Taksin retrieved independence in the same year. Thon Buri was established to be the capital and people from Ayutthaya were relocated to Thon Buri to build the stable city. However, there were some people who remained settle in Ayutthaya and some who escaped to the forest came back to live around the city. They assembled and established themselves as the province called "Krung Kao" or The Old City.

สภาพภูมิอากาศของอาณาจักรอยุธยา

Phra Phutthayotfa Chulalok or Rama l founded Krung Kao as a province as same as in Thon Buri period. Later, Chulalongkorn or Rama V initiated the administrative reform for both central and provincial region. In regard to provincial administration, he applied the "Tesaphiban Administrative System" (local government) by assembling the 3-4 neighboring cities to form as a "Monthon" (administrative subdivisions) that governed by a royal commissioner. In 1895, he establishd Monthon Krung Kao that comprised of cities i.e. Krung Kao or Ayutthaya, Ang Thong, Saraburi, Lop Buri, Phrom Buri, In Buri, and Sing Buri. Afterwards, he merged In Buri and Phrom Buri with Sing Buri and established Monthon administrative office. In 1926, Monthon Krung kao had changed to Monthon Ayutthaya. As a result, Ayutthaya became a center of administration. Creation of public utilities had great impact on the development of Ayutthaya. After the cancellation of Tesaphiban administrative system, after the administrative reform in 1932, Ayutthaya became Phra Nakhon Si Ayutthaya Province until present.

During the period that Field Marshal Plaek Pibulsongkram was the Prime Minister, there was the policy for reconstruction of ancient remains in Ayutthaya to celebrate the 25th Buddhist century anniversary. Moreover, in 1955, the Prime Minister of Myanmar visited Thailand and granted 200,000 baht to reconstruct temples and Phra Mongkhon Bophit, which was the beginning of ancient remains reconstruction in Ayutthaya. Later, Fine Arts Department was the main agency to process the reconstruction. Afterwards, United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization or UNESCO resolved to register Phra Nakhon Si Ayutthaya, covered Ayutthaya Historical Park area, as the "World Heritage" on 13 December 1991.

          ภูมิประเทศ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่างของประเทศห่างจาก กรุงเทพมหานคร ทางถนนสายเอเชีย ประมาณ 75 กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ  72 กิโลเมตร และทางเรือประมาณ 137 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 2,556.64 ตารางกิโลเมตร  หรือ 1,579,900  ไร่  นับว่าเป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 63 ของประเทศไทย และ เป็นอันดับที่ 11 ของจังหวัดในภาคกลาง  ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา  ไม่มีภูเขา ไม่มีป่าไม้  มีแม่น้ำไหลผ่าน 4 สาย  ได้แก่  แม่น้ำเจ้าพระยา  แม่น้ำป่าสัก    แม่น้ำลพบุรีและแม่น้ำน้อย  รวมความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร   มีลำคลอง ใหญ่ น้อย ประมาณ 1,254 คลอง  เชื่อมต่อกับแม่น้ำเกือบทั่วบริเวณพื้นที่

อาณาเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้

         - ทิศเหนือ         ติดต่อกับ  จังหวัดอ่างทอง    และ จังหวัดลพบุรี

         -  ทิศใต้            ติดต่อกับ  จังหวัดนครปฐม    จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี

         -  ทิศตะวันออก   ติดต่อกับ  จังหวัดสระบุรี

         -  ทิศตะวันตก     ติดต่อกับ  จังหวัดสุพรรณบุรี

สภาพภูมิประเทศของอาณาจักรอยุธยามีลักษณะเป็นอย่างไร

จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มน้้าและมีพื้นที่ไม่ค่อยกว้างขวางนัก ท้าให้ปริมาณฝนต่างกันไม่มาก ปริมาณฝนรวมตลอดปีของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 1,000 - 1,200 มิลลิเมตร เว้นแต่บริเวณบางพื้นที่ของอ้าเภออุทัยที่มีปริมาณฝนรวมตลอดปีประมาณ 800 มิลลิเมตรหรือน้อยกว่า โดยฝนที่เกิดขึ้นเป็นฝนในฤดูมรสุมตะวันตก ...

กรุงศรีอยุธยามีสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมต่อการพัฒนาอาณาจักรอย่างไร

ด้วยทำเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาที่มีลักษณะเป็นเกาะเมืองมีแม่น้ำที่สำคัญ 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี ทำให้มีความอุดมสมบูรณ์ของแผ่นดิน รวมทั้งเป็นชุมทางคมนาคม และเป็นปราการธรรมชาติในการป้องกันข้าศึก ศัตรู กรุงศรีอยุธยาจึงเป็นราชธานีใหญ่สามารถกุมอำนาจเหนือเมืองใกล้เคียงเป็นเวลานาน

แม่น้ำในข้อใดที่ไหลผ่านกรุงศรีอยุธยา

ทรัพยากรน้ำ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากรน้ำ โดยมีแม่น้ำไหลผ่าน 4 สาย ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรี และแม่น้ำน้อย และมีคลองธรรมชาติ 437 สายคลอง คลองชลประทาน 626 สายคลอง สรุปได้ดังนี้

อยุธยาไปทางทิศไหน

สถานที่ตั้ง อาณาเขต - ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดอ่างทองและ จังหวัดลพบุรี - ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดสระบุรี - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดสุพรรณบุรี