การ ทํา ความสะอาด อ วัย เพศ หญิง ผู้ป่วย

การสวนปัสสาวะด้วยตนเองแบบสะอาด (Self cath) สำหรับเพศหญิง


อ.นพ.วิศัลย์  อนุตระกูลชัย

ศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะ

รหัสเอกสาร PI-IMC-050-R-00

อนุมัติวันที่ 19 ตุลาคม 2561

การเตรียมอุปกรณ์

1. ชุดสายสวนปัสสาวะที่บรรจุในน้ำยาทำลายเชื้อ

2. น้ำยาหล่อลื่นที่ละลายน้ำได้

3. ถ้วยรองรับปัสสาวะ 1 ใบ

4. สบู่เหลวหรือสบู่ก้อน

5. กระจกเงา 

6. น้ำต้มสุก/น้ำสะอาด 1 ขวด

วิธีทำความสะอาดของเพศหญิง

1. ล้างมือให้สะอาด

2. ล้างอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลังด้วยสบู่

3. ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่และน้ำสะอาด

    3.1 ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดจับบริเวณจุกสีฟ้า ดึงสายสวนขึ้นมาจากหลอดที่บรรจุน้ำยาทำลายเชื้อ มือข้างที่ถนัดจับสายสวน ดึงสายสวนออกมา

    3.2 ล้างสายสวนปัสสาวะด้วยน้ำสะอาด/น้ำต้มสุก

4. จัดท่าโดยเลือกที่ผู้ป่วยถนัดและเห็นรูเปิดท่อปัสสาวะได้ชัดเจน เมื่อเลือกท่าที่ตัวเองถนัดแล้ว จัดวางอุปกรณ์ วางถ้วยรองรับปัสสาวะข้างๆกระจก วางชุดสวนปัสสาวะไว้ในบริเวณที่หยิบใช้ได้ง่าย

5. สวนปัสสาวะโดยจัดท่าให้ถนัดให้เห็นรูเปิดท่อปัสสาวะชัดเจนในกระจก ใช้มือที่ไม่ถนัดแหวกอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยนิ้วชี้ นิ้วกลาง ดึงรั้งขึ้นด้านบนเล็กน้อย ส่องดูท่อปัสสาวะจากกระจกจนเห็นชัดเจน ใช้มือข้างที่ถนัดจับสายสวนปัสสาวะ ค่อยๆใส่สายสวนปัสสาวะด้วยความนุ่มนวล ไม่ใช้แรงดัน โดยสอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปในท่อปัสสาวะประมาณ 3 นิ้ว

6. ปล่อยมือที่แหวกอวัยวะสืบพันธุ์และเลื่อนกระจกออก แล้วนำถ้วยมารองรับปัสสาวะ ปล่อยน้ำให้ปัสสาวะไหลออกมาจนหมด เมื่อปัสสาวะหยุดไหล ให้กดบริเวณท้องน้อย 1-2 ครั้ง รอจนปัสสาวะหยุดไหล ค่อยๆดึงสายสวนปัสสาวะออกมา โดยใช้นิ้วปิดรูเปิดสายสวน เพื่อป้องกันไม่ให้ปัสสาวะไหลย้อนกลับ

7. สังเกตลักษณะ สีและกลิ่นของปัสสาวะ ตวงปริมาณปัสสาวะ

8. ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่

9. ล้างสายสวนปัสสาวะด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาด และสะบัดน้ำออก เก็บสายสวนไว้ในหลอดบรรจุที่มีน้ำยาทำลายเชื้อ

10. ล้างอุปกรณ์ให้สะอาดและผึ่งให้แห้ง

หมายเหตุ: หากพบปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นเหม็น มีไข้หนาวสั่น ให้พบแพทย์เพื่อการรักษาต่อไป

การทำความสะอาดชุดสายสวนปัสสาวะ

1. นำสายสวนปัสสาวะทั้งชุดล้างด้วยน้ำและสบู่

2. ต้มสายสวนปัสสาวะ โดยต้มในน้ำเดือดอย่างน้อย 20 นาที พร้อมกับเปลี่ยนน้ำยาฆ่าเชื้อที่แช่สายสวนปัสสาวะทุก 3 วัน

การทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสุขอนามัยที่ดี ในส่วนของน้ำยาทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นโดยเฉพาะนั้น คุณผู้หญิงไม่จำเป็นต้องใช้ก็ได้ เพราะช่องคลอดของผู้หญิงมีเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ก่อให้เกิดโรคอยู่ ซึ่งช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด/ด่าง และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ การใช้น้ำยาทำความสะอาดช่องคลอดเป็นประจำทุกวัน จึงอาจทำให้แบคทีเรียที่ไม่ทำให้เกิดโรคในช่องคลอดตายหมด และกลับทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อจากภายนอกได้ง่ายขึ้นอีกด้วย

ไม่ควรใช้น้ำยาทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นหรือไม่ ?

ทั้งนี้ทั้งนั้น น้ำยาทำความสะอาดจุดซ่อนเร้นที่มาจากผู้ผลิตที่น่าเชื่อถือ ก็ไม่ได้เป็นอันตรายต่อจุดซ่อนเร้นของคุณผู้หญิง เพราะผ่านการวิจัย และทดสอบมาเป็นอย่างดีแล้ว แต่ไม่ควรใช้บ่อยจนเกินไป เพราะอาจก่อให้เกิดผลเสียมากกว่า

ตกขาว สัญญาณอันตราย “จุดซ่อนเร้น” ผิดปกติ

ตกขาวสามารถเกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติของจุดซ่อนเร้นผู้หญิง แต่หากตกขาวมีความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจเป็นสัญญาณเตือนภัยว่าจุดซ่อนเร้นของคุณมีความผิดปกติได้

  • ตกขาวปกติ จะมีสีขาว เทา หรือเหลืองอ่อน ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่ทำให้เกิดอาการคัน หรือแสบภายใน และปากช่องคลอด
  • ตกขาวผิดปกติ จะมีสีเหลืองเข้ม เขียว เป็นก้อน ๆ คล้ายหัวกะทิ มีกลิ่นเหม็น หรือทำให้เกิดอาการคัน หรือแสบใน หรือปากช่องคลอด

ตกขาวที่ผิดปกติ เกิดจาดการติดเชื้อต่าง ๆ เช่น เชื้อรา พยาธิ แบคทีเรีย ซึ่งเชื้อแต่ละชนิดจะเกิดอาการแสดงที่แตกต่างกันออกไป

อวัยวะเพศชายก็ต้องการการดูแลไม่ต่างจากอวัยวะอื่น อวัยวะส่วนนี้เป็นจุดที่บอบบางจึงจำเป็นต้องดูแลเป็นอย่างดี เพราะหากละเลยการทำความสะอาดอวัยวะเพศชาย อาจทำให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ รวมถึงยังอาจทำให้อวัยวะเพศมีกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ หรือกลายเป็นแหล่งสะสมของแบคทีเรียได้ด้วย

อีกสิ่งหนึ่งที่อาจจะเกิดเมื่อไม่ทำความสะอาดอวัยวะเพศให้ดี คือ ขี้เปียก (Smegma) ซึ่งเป็นคราบสกปรกที่เกาะตามอวัยวะเพศชาย เกิดจากเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้ว และไขมันบนผิวหนัง จับตัวกับมูกเมือก มักติดอยู่บริเวณคอคอดใต้ผิวหนังองคชาต และเป็นแหล่งสะสมของเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งขี้เปียกมีกลิ่นอันไม่พึงประสงค์เฉพาะตัว การเกิดขี้เปียกอาจทำให้คันและระคายเคืองบริเวณอวัยวะเพศ หากปล่อยไว้นานก็อาจทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ หรือเกิดภาวะปลายอวัยวะเพศชายอักเสบได้ด้วย

การเช็ดตัวบนเตียง หมายถึง การเช็ดตัวให้ผู้ป่วยขณะผู้ป่วยอยู่บนเตียง ในกรณีที่ผู้ป่วยต้องนอนอยู่บนเตียงจากพยาธิสภาพของโรค ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว หรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เช่น ผู้ป่วยอัมพาต ผู้ป่วยที่อยู่ในระยะรุนแรงของโรค ผู้ป่วยโรคหัวใจในระยะเฉียบพลัน ผู้ป่วยหลังผ่าตัดในระยะแรก เป็นต้น

การเลือกวิธีปฏิบัติเพื่อดูแลความสะอาดของผิวหนังนั้น ควรเลือกให้เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วย
ผู้ดูแลควรปฏิบัติตามหลักการดูแลความสะอาดของผิวหนังเพื่อให้เกิดความสุขสบาย และความปลอดภัยกับผู้ป่วย สามารถปรับวิธีเพื่อดูแลความสะอาดของผิวหนังปฏิบัติให้เหมาะสม โดยผู้ดูแลควรเน้นการเตรียมอุปกรณ์ในการทำความสะอาดร่างกายให้ครบ

การ ทํา ความสะอาด อ วัย เพศ หญิง ผู้ป่วย

การเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดร่างกายให้ผู้ป่วยติดเตียง
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมีดังนี้

  1. กะละมังน้ำ 2 ใบ ใส่น้ำอุ่น 1/2 หรือ 2/3 กะละมัง (เปลี่ยนน้ำเมื่อสกปรก)
  2. ผ้าถูตัว 2 ผืน ผืนแรกสำหรับเช็ดใบหน้า อีกผืนสำหรับเช็ดลำตัว แขน ขา
  3. ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน เป็นผ้าแห้งผืนแรกสำหรับเช็ดใบหน้า อีกผืนสำหรับเช็ดลำตัว แขน ขา
  4. ผ้าคลุมตัว
  5. สบู่ก้อน หรือสบู่เหลว
  6. เสื้อผ้าชุดใหม่ เสื้อผ้าที่จะเปลี่ยนควรมีเนื้อผ้าเหมาะสมกับอากาศ ใส่ง่ายถอดง่าย ไม่ควรติดกระดุม เพราะอาจกดทับกับร่างกายทำให้บาดเจ็บ
  7. ภาชนะบรรจุเครื่องใช้ส่วนตัว เช่น แป้ง หวี ครีมบำรุงผิว เป็นต้น (ควรเช็ดทำความสะอาดหลังใช้งานทุกครั้ง)
  8. ถุงมือสะอาด (ขนาดไม่หลวมหรือคับไป)
  9. ถุงสำหรับใส่เสื้อผ้าใช้แล้ว
  10. การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก เป็นส่วนสำคัญที่ผู้ดูแลควรหมั่นทำความสะอาดเมื่อปัสสาวะ/อุจจาระทันที เรียนรู้เทคนิคและขั้นตอนการดูแลการขับถ่ายให้ผู้ป่วยติดเตียง
    อุปกรณ์ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเตรียม ดังนี้
    10.1 ผ้าสะอาด หรือชุดทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
    10.2 น้ำสะอาด
    10.3 สบู่เหลว
    10.4 ภาชนะใส่น้ำ
    10.5 แผ่นรองก้น/ หม้อนอน
    10.6 ถุงมือสะอาด (ขนาดไม่หลวมหรือคับไป)
    10.7 ถุงขยะ (สำหรับใส่อุปกรณ์ที่ใช้แล้วหลังทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ )

การ ทํา ความสะอาด อ วัย เพศ หญิง ผู้ป่วย

ในบางครั้งการทำความสะอาดของผิวหนังทั่วร่างกายแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกออกจากเตียงได้ ผู้ดูแลควรสระผมแก่ผู้ป่วยติดเตียง 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ด้วย จึงควรเตรียมอุปกรณ์การสระผมให้พร้อมไปครั้งเดียว

ผู้ดูแลควรเตรียมอุปกรณ์ในการสระผมให้ผู้ป่วยติดเตียง ดังนี้

  1. แชมพูสระผม
  2. ครีมนวดผม
  3. ภาชนะใส่น้ำสะอาด
  4. ภาชนะรองรับน้ำสกปรก
  5. ผ้ายาง/ ผ้าพลาสติก/ แผ่นรองสระผมสำเร็จรูป
  6. ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน
  7. ผ้าปิดตา
  8. เครื่องเป่าผม (hair dryer)
  9. หวี
  10. สำลี 2 ก้อน (อุดในหูเพื่อกันน้ำเข้า)

การ ทํา ความสะอาด อ วัย เพศ หญิง ผู้ป่วย

สรุปการเช็ดตัวบนเตียงเพื่อทำความสะอาดร่างกายแก่ผู้ป่วยติดเตียงนั้น ผู้ดูแลควรเตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำให้ครบถ้วน อุปกรณ์ทั้งหมดควรยกมาให้พร้อมกันและวางข้างที่นอน เพื่อผู้ดูแลไม่ต้องวิ่งไปวิ่งมาเพื่อหยิบ โดยเฉพาะถ้าต้องทำคนเดียว นอกจากนี้ในขณะทำความสะอาดร่างกายแก่ผู้ป่วยติดเตียงนั้นผู้ดูแลต้องทำความสะอาดปาก ฟัน เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลช่องปากให้ผู้ป่วยติดเตียง รวมทั้งการสระผมให้ผู้ป่วยด้วย ผู้ดูแลควรจะต้องเตรียมอุปกรณ์ของใช้มาพร้อมกัน ข้อสำคัญคือควรทำความสะอาดปาก และฟัน ก่อน