หน้าที่พลเมืองต่อสถาบันการศึกษา


���ҷ���˹�ҷ��ͧ�ѡ���¹
(Student code of conduet)
���ҷ���˹�ҷ��ͧ�ѡ���¹�մѧ���
1. ���ҷ���˹�ҷ�赹�ͧ
          1.1 �����ѡ���آ�Ҿ��ҧ���������ç����ó���������
          1.2 �ӨԵ���������ԧ ���������ԡ�ҹ
          1.3 ��ա����§ͺ���آ �������ʾ�Դ�ء��Դ
          1.4 �ٴ���������͹��ҹ ������Ҥ����
          1.5 ��ѹ ʹ�� �����֡���������¹
          1.6 ��蹡��ҷ�赹�ͧ��Ѵ ���ҧ�����ѹ�� 1 �������
2. ���ҷ���˹�ҷ���;�������Ф�ͺ����
          2.1 ���Ϳѧ ��л�ԺѵԵ����ͺ���ͧ������
          2.2 ��������;�����ӧҹ��ҹ��������
          2.3 ���١��ѭ�� ���Ƿյ�;�������кؾ����
3. ���ҷ˹�ҷ���ͤ�� �Ҩ���� ����ç���¹
          3.1 ��������þ������Ϳѧ���/ �Ҩ����ء��ҹ
          3.2 ��ԺѵԵ�������������º�Թ�¢ͧ�ç���¹
          3.3 �ѡ����Ҥ����� �ʶҺѹ����֡�Ңͧ��
          3.4 ������������� �Ѻ���/�Ҩ���� ����ç���¹ 㹡�èѴ�Ԩ������ҧ � �ͧ �ç���¹
          3.5 �դ����ѡ ���Ѥ�յ�����͹�ѡ���¹���¡ѹ
4. ���ҷ���˹�ҷ���ͷ�ͧ��蹢ͧ���ͧ
          4.1 �դ����ѡ ����Ҥ����㨵�ͷ�ͧ��蹢ͧ���ͧ
          4.2 �׺�ҹ ��Ż�Ѳ��������ླ� ������Իѭ�ҷ�ͧ���������٭���
          4.3 ��������� ��оѲ�ҷ�ͧ��������ԭ����˹��
          4.4 ͹��ѡ���Ѿ�ҡø����ҵ� ��ҳʶҹ ��ҳ�ѵ��
          4.5 �ѡ�Ҥ������Ҵ�ͧ���觹�� �ҡ�� �ǹ�Ҹ�óе�ҧ �
          4.6 ������Ǵ���������ҧ������� ��л����Ѵ
          4.7 ������ҧ�ž�����Ѻ����Ǵ����
5. ���ҷ���˹�ҷ���ͻ���Ȫҵ�
          5.1 �����㹤������� ������׺�ҹ ��Ż �Ѳ����� ���ླ� �ѹ�է���ͧ��
          5.2 �ѡ�����ǧ�˹�������͡�Ҫ�ͧ�ҵ���
          5.3 �������ʹѺʹع��û���ͧ��к���ЪҸԻ�� ����վ����ҡ�ѵ���� �繻���آ
          5.4 �����Ǫ����բͧ�ҵ�
6. ���ҷ���˹�ҷ������ʹ�
          6.1 �������� ��ѷ�� ���ʹҷ�赹�ͧ�Ѻ���
          6.2 ��ԺѵԵ����ѡ�������͹�ͧ��ʹ�
          6.3 �����������ʹ�
          6.4 ��������Ԩ�����ҧ��ʹ�
          6.5 ������ҧ���������������������ʹ�
7. ���ҷ˹�ҷ���;����ҡ�ѵ����
          7.1 ��������þ ����Դ�ٹʶҺѹ�����ҡ�ѵ����
          7.2 ����Ҿ���Ҫ����� �ͧ���ͧ���һ�Ժѵ�
          7.3 ��������Ԩ������Ҫ�Ըյ�ҧ � ��������������
          ในปัจจุบันโรงเรียนมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการสร้าง และบ่มเพาะพลเมืองดีสู่สังคม เมื่อนักเรียนเข้ามาในโรงเรียน ก็เปรียบเสมือนนักเรียนได้เรียนรู้การปรับตัว และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมที่กว้างกว่าครอบครัวของตน สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ และซึมซับจากสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิต ดังนั้น บทบาทของครูและโรงเรียนจึงมีส่วนสำคัญในการจัดบรรยากาศของโรงเรียน ห้องเรียน รวมทั้งรูปแบบการเรียนรู้ที่เอื้อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการสร้างนักเรียน และเยาวชนให้เป็นพลเมืองที่ดี ผ่านกระบวนการที่เป็นประชาธิปไตย รับฟังและเคารพเสียงของทุกคนมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกันบนพื้นฐานของความเคารพ และมีเหตุมีผล หากโรงเรียน ห้องเรียน และครูสามารถปลูกฝังสิ่งที่เป็นพื้นฐานของการเป็นพลเมืองดีเหล่านี้ให้แก่นักเรียนได้อย่างสม่ำเสมอแล้วนั้น เด็กนักเรียนและเยาวชนทุกคนจะมีรากฐานของการเป็นพลเมืองที่ดี และสามารถปรับตัวที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอันกว้างใหญ่ขึ้นได้อย่างแน่นอน

          การปฏิบัติตนในฐานะตนในฐานะสมาชิกของชุมชน  สามารถทำได้หลายวิธี  ซึ่งในวัยของนักเรียนควรปฏิบัติ  ดังนี้

               1.  ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของชุมชน  เช่น  ปฏิบัติตามกฎจราจร  โดยข้ามถนนตรงทางม้าลาย  หรือสะพานลอย  ไม่วิ่งข้ามถนนตัดหน้ารถ  ไม่ทิ้งขยะลงในที่สาธารณะ  ไม่ทำลายสิ่งของที่เป็นของสาธารณะ  และทรัพย์สินส่วนตัวของผู้อื่นให้ได้รับความเสียหายเพราะความสนุกสนานของตนเอง

               2.  เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน  เพื่อช่วยรักษาและเผยแพร่วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนไว้  ในแต่ละชุมชนจะมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา  เช่น  ประเพณีการทำบุญเมื่อถึงวันสำคัญทางศาสนา  ประเพณีวันสงกรานต์  ประเพณีวันลอยกระทง

               3.  บำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน  เช่น  ช่วยเก็บเศษขยะที่พบเห็นในบริเวณต่าง ๆ ช่วยดูแลต้นไม้  ดอกไม้ในสวนสาธารณะของชุมชน

               4.  ร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน  โดยให้ทุกคนในชุมชนมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม  เช่น  ชุมชนที่มีป่าชายเลน  ควรจะร่วมใจกันอนุรักษ์ป่าชายเลน  เพื่อให้เป็นที่อยู่ของสัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งยังเป็นแหล่งหลบภัยของลูกสัตว์น้ำอีกด้วย

               ชุมชนที่อยู่ติดชายทะเล  ควรร่วมใจกันรักษาความสะอาดของชายหาด  เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืนของชุมชน

               การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนควรเป็นความร่วมมือกันหลายฝ่ายระหว่างบ้าน  โรงเรียน  และชุมชน

3.4 การเป็นสมาชิกที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก

1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม

เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้ะอื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน  ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ  

นอกจากนี้ยังทำให้สังคมมีความเป็นระเบียบสงบสุขทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ไม่หวาดระแวงคิดร้ายต่อกัน

2.เป็นผู้มีเหตุผล  และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

ทุกคนย่อมมีอิสระเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน  ซึ่งการรู้จักการใช้เหตุผลในการดำเนินงาน จะทำให้ช่วยประสาน

ความสัมพันธ์ ทำให้เกิดความเข้าใจอันดีงามต่อกัน

3.ยอมรับมติของเสียงส่วนใหญ่ 

เมื่อมีความขัดแย้งกันในการดำเนินกิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็นที่แตกต่างกัน  และจำเป็นต้องตัดสินปัญหาด้วยการใช้เสียงข้างมากเข้าช่วย และมติส่วนใหญ่ตกลงว่าอย่างไร  ถึงแม้ว่าจะไม่ตรงกับความคิดของเรา เราก็ต้องปฎิบัติตาม เพราะเป็นมติของเสียงส่วนใหญ่นั้น

4.เป็นผู้นำมีน้ำใจประชาธิปไตย  และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

ผู้ที่มีความเป็นประชาธิปไตยนั้น จะต้องมีความเสียสละ ในเรื่องที่จำเป็น เพื่อผลประโยชน์ของส่วนรวมและรักษาไว้ซึ่งสังคมประชาธิปไตย  เป็นการส่งผลต่อความมั่นคง และความก้าวหน้าขององค์กร  ซึ่งสุดท้ายแล้วผลประโยชน์ดังกล่าวก็ย้อนกลับมาสู่สมาชิกของสังคม  เช่นการไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง  ถึงแม้ว่าเราจะมีอาชีพบางอย่างที่มีรายได้ตลอดเวลา เช่นค้าขาย แต่ก็ยอมเสียเวลาค้าขายเพื่อไปลงสิทธิ์เลือกตั้ง บางครั้งเราต้องมีน้ำใจช่วยเหลือกิจกรรมส่วนร่วม  เช่น การสมัครเป็นกรรมการเลือกตั้ง   หรือสมาคมบำเพ็ญประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น

5.เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น  

ควรรูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นเช่นบุคคลมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น  การพูด แต่ต้องไม่เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นที่ใส่ร้ายผู้อื่นให้เสียหาย

6.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม ชุมชน ประเทศชาติ   

ในการอยู่ร่วมกันในสังคม ย่อมต้องมีการทำงานเป็นหมู่คณะ  จึงต้องมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในงานนั้นๆให้สมาชิกแต่ละคนนำไป

ปฎิบัติตามที่ได้รับหมอบหมายไว้อย่างเต็มที่

7.มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเมือง  การปกครอง  

ในสังคมประชาธิประไตยนั้นสมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง  เช่น การเลือกตั้ง เป็นต้น

8.มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหาเศษฐกิจ  สังคม  การเมืองการปกครอง  

ช่วยสอดส่องพฤติกรรมมั่วสุมของเยาวชนในสถานบันเทิงต่าง  ไม่หลงเชื่อข่าวลือคำกล่าวร้ายโจมตี ไม่มองผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับเราเป็นศัตรู  รวมถึงสงเสริมสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆด้วยสันติวิธี  

9. มีคุณธรรม  จริยธรรม  และปฎิบัติตนตามหลักธรรม 

ทุกคนควรมีศีลธรรมไว้เป็นหลักในการควบคุมพฤติกรรมของบุคลให้ดำเนินไปอย่างเหมาะสม  ถึงแม้จะไม่มีบทลงโทษใดๆก็ตาม

การมีส่วนร่วมในการเมืองการปกครอง

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตย  ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมได้  ดังนี้

1. การใช้สิทธิในกรเลือกตั้งระดับต่างๆ   

 เมื่ออายุครบ  18   ปีบริบูรณ์  ทุคนต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งในระดับประเทศ เช่นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา   และการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น เช่น  การเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร   การเลือกตั้งสมาชิกองค์กรส่วนท้องถิ่น  เป็นต้น  เพื่อเลือกตัวแทนไปทำหน้าที่บริหารประเทศหรือท้องถิ่นทั่วไป

2. การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ  

ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นประชาชนทุกคนล้วนมีส่วนร่วมมือกันสอดส่องดูแลการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลหรือตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าที่ในองค์กรต่างๆ เพื่อไม่ให้อำนาจไปในทางที่ไม่ถูกต้อง

3. การเป็นแกนนำปลุกจิตสำนึกให้แก่ผู้อื่นในการร่วมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง  

ได้แก่การใช้สิทธิเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบอำนาจของรัฐ  โดยการเป็นแกนนำนั้น สามารถปฎิบัติได้หลายอย่าง เช่น  ประกาศโฆษณาประชาสัมพันธ์  การเข้าไปชี้แจงเป็นรายบุคคลการจัดให้มีการประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นที่มีผลกระทบต่อสังคม