บทที่ 4 ผลการทดลอง โครงงานประดิษฐ์

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

“” วิจัยบทที่ 4  “”คลิกเพื่อดาวโหลดไฟล์ สำเร็จรูป””

บทที่ 4

ผลการดำเนินงานโครงงาน

การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์การสร้างเว็บบล็อกด้วยWordpress เรื่องแท็บเล็ต นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเว็บบล็อกด้วย WordPress และค้นคว้าเรื่องที่สนใจ เกี่ยวกับแท็บเล็ต เพื่อให้ผู้จัดทำโครงงานสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดำเนินงานโครงงาน ดังนี้

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.2 ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 ผลการสร้างเว็บบล็อก

การสร้างเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่องแท็บเล็ต นี้ ผู้จัดทำได้เริ่มดำเนินงานตามขั้นตอนการดำเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ

http://www.wordpress.com จากนั้นได้นำเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นำเผยแพร่ที่เว็บบล็อกชื่อ piyakorn ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับสื่อสังคมในรูปแบบของ Social Media ประเภทเว็บไซต์ facebook ของผู้จัดทำที่ชื่อ (http://ปิยากร พจนารุ่งฤกษ์) ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็นอย่างดี โดยทั้งครูที่ปรึกษา เพื่อนๆในห้องเรียนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรูปแบบของการนำเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทาให้เกิดการเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ว

4.2 ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้น ดังนี้

ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ ตามเกณฑ์ 80%

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียน

ผู้วิจัยได้ทดลองภาคสนามกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 8 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แล้วนำมาหาค่าประสิทธิภาพตามลำดับ ดังแสดงในตาราง 1 – 3

ตาราง 1 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบฝึกหัดบทเรียน (Ea)

 คะแนนแบบฝึกหัด(A = 100 คะแนน)

จำนวนนิสิต(N)

คะแนนรวม()

ร้อยละ

A

90

1

90

3.33

0.86

95

1

95

3.33

0.90

96

1

96

5.49

5.49

97

2

194

6.67

1.85

99

2

198

6.67

1.89

100

1

100

3.33

0.95

รวม

8

773

29

11.93

คะแนนเฉลี่ย

95.40

20.14

0.11

จากตาราง 1 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบฝึกหัด  เท่ากับ 95.40 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน คิดเป็นร้อยละ  20.14 และค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบฝึกหัด (Ea) เท่ากับ 0.11

ตาราง 2 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบทดสอบบทเรียน (Eb)

คะแนนแบบสอบ

(B = 40 คะแนน)

จำนวนนิสิต

(N)

คะแนนรวม

(ΣX)

ร้อยละ

ΣΧ

Β

32

1

96

10.00

2.40

33

3

198

20.00

4.95

34

2

136

13.34

3.40

35

1

350

33.33

8.75

36

1

108

10.00

2.70

37

1

111

10.00

2.775

38

1

38

3.33

0.95

รวม

10

1037

100

25.925

คะแนนเฉลี่ยรวม

34.57

86.42

0.8642

จากตาราง 2 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบ () เท่ากับ 34.57 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.42 และค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบทดสอบ (Eb) เท่ากับ 0.8642

ตาราง 3 ค่าประสิทธิภาพของบทเรียน

จำนวนนักเรียน

คะแนนแบบฝึกหัด

(105 คะแนน)

คะแนนแบบทดสอบ

(40 คะแนน)

ประสิทธิภาพ

Ea Eb

8

5.40

3.47

0.9086

34.57

1.59

0.8642

88.64

จากตาราง 3 พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีค่าเท่ากับ 88.64 หมายความว่า บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนที่ได้เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เฉลี่ยร้อยละ 88.64

ตาราง 4 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อโปรแกรม

บทที่ 4 ผลการทดลอง โครงงานประดิษฐ์

บทที่ 4 ผลการทดลอง โครงงานประดิษฐ์

จากตาราง 4 พบว่านักเรียนกลุ่มทดลองมีความคิดเห็นที่ดีต่อบทเรียนอยู่ใน ระดับเห็นด้วยมากถึงระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งและมีความคิดเห็นโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (= 4.24, S = 0.70) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ข้อ 13 “เมื่อทำแบบทดสอบเสร็จผู้เรียนรู้คะแนนทันที(= 4.60)” ข้อ 18 “ผู้เรียนต้องการบทเรียนออนไลน์ในวิชาอื่นๆ ด้วย (= 4.60)” ข้อ 7 “บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง(= 4.25)” ข้อ 10 “บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนอยากเรียนคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น(= 4.43)” ข้อ 10 “บทเรียนออนไลน์สร้างบรรยากาศใหม่ในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ (= 4.37)” ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อ 8 “ภาษาที่ใช้ในบทเรียนออนไลน์เข้าใจง่าย (= 3.83)”