ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

ดูเหมือนว่าเบราว์เซอร์ของคุณต้องได้รับการปรับปรุง อัปเกรดเป็น Chrome, Firefox, Safari หรือ Microsoft Edge เวอร์ชันล่าสุดเพื่อรับประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุด

คุณยังเลือกดำเนินการต่อได้ แต่ฟีเจอร์บางอย่างอาจดูแตกต่างออกไปหรือใช้งานไม่ได้ตามที่คาดไว้

1 ปี จะมีเพียงแค่ครั้งเดียวกับเทศกาลตรุษจีนซึ่งจังหวัดที่มีคนไทยเชื้อสายจีนอยู่เยอะอย่างจังหวัดนครสวรรค์ ก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ 12 วัน 12 คืน กับงาน ประเพณีแห่เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ปากน้ำโพ ประจำปี 2563 เฉลิมฉลองงานเทศกาลตรุษจีนนครสวรรค์ ‘104 ปี อัตลักษณ์ ประเพณี วิถีแห่งศรัทธา’ ระหว่างวันที่ 18 - 29 มกราคมนี้ พบกับการจำลองบรรยากาศอาณาจักรเมืองจีนโบราณขนาดเท่าของจริงบนถนนสายวัฒนธรรม และการแสดงจากศิลปินชื่อดังอีกมายมาย




ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ
ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

ซึ่งขบวนแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพ เชิดสิงโตสุดยิ่งใหญ่อลังการ จะมีการแห่ด้วยกัน 2 ครั้ง คือแห่กลางคืน วันจันทร์ที่ 27 มกราคม เริ่ม 18:00 น. เส้นทางขบวนแห่จะเริ่มจากเทศบาลนครสวรรค์ สิ้นสุดที่ถนนโกสีย์ตลอดเส้นทางรอบตลาดปากน้ำโพ และแห่กลางวัน วันอังคารที่ 28 มกราคม เริ่ม 07:00 น. เส้นทางเริ่มจากแยกสะพานเดชาไปจนถึงถนนถนนโกสีย์ วนรอบถนนสวรรวิถีและสิ้นสุดที่ถนนโกสีย์เช่นกัน

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ
ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ


ซึ่งขบวนก็จะผ่านซอยศรีไกรลาสที่มีการจำลองบรรยากาศอาณาจักรเมืองจีนโบราณ ผ่านตรอกท่าเรือจ้างที่มีการจัดแสดงอุโมงค์ไฟ LED ที่เป็นอีกหนึ่งเทรนด์สุดฮิตในช่วงปีที่ผ่านมาให้ได้ไปถ่ายรูปเก๋ๆ

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมสุดพิเศษอย่าง

  • การแสดงไทย - จีนร่วมสมัย
  • ลานแก้ชงที่ยิ่งใหญ่ ตระการตา ขนาดกว่า 1,600 ตารางเมตร
  • ประติมากรรมทราย บนหาดทรายริมแม่น้ำเจ้าพระยา
  • อิ่มท้องอิ่มใจกับถนนสายวิถีนักชิม วิถีนักช็อป ร้านอาหารเจ้าดัง รวมในที่นี่ที่เดียว
  • พร้อมการแสดงจากศิลปินชื่อดังมากมาย

และสำหรับใครที่นับถือเจ้าแม่กวนอิมสามารถไปสักการะและขอพรในวันตรุษจีนนี้ กับองค์เจ้าแม่กวนอิม องค์ต้นแบบจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่จะประดิษฐาน ณ อาคารพาสาน Landmark ของจังหวัดนครสวรรค์ค่ะ

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

ถือได้ว่าเป็นประเพณีที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมานับ 100 ปี อีกทั้งยังมีความสำคัญต่อชาวนครสวรรค์เป็นอย่างมาก เพราะส่วนหนึ่งก็เป็นเรื่องของความเชื่อในการบูชาเทพเจ้าเพื่อความเป็นสิริมงคลต้อนรับปีใหม่จีน รับรองว่างานนี้ยิ่งใหญ่สมการรอคอยอย่างแน่นอน

วิธีการดำเนินการวิจัยและเก็บข้อมูล เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการศึกษากระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างชาวไทยเชื้อสายจีนกับชุมชนท้องถิ่นในตำบลปากน้ำโพให้แก่ประชาชนท้องถิ่นและหน่วยงานราชการ ห้างร้าน และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ลงพื้นที่เก็บข้อมูลที่ตำบลปากน้ำโพ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ ใช้แบบสอบถาม และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการศึกษากลไกการจัดการทางสังคม โดยมีองค์กรกลางทำหน้าที่เชื่อมประสานกับชาวไทยเชื้อสายจีนกับชุมชนท้องถิ่นในประเพณีการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ ใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย

ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพในปัจจุบัน ที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีน ในด้านเศรษฐกิจ โดยพ่อค้าประชาชนมีรายได้จากการขายของฝากและของที่ระลึก ทำให้เกิดการสืบทอดและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีความเชื่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทำให้เกิดกิจกรรมการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานราชการ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในชุมชนปากน้ำโพ อนุรักษ์และปฏิบัติตามแบบแผนประเพณีที่ชุมชนกำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง และมีการถ่ายทอดสิ่งที่ดีงามให้แก่อนุชนรุ่นหลัง โดยการจัดให้มีการแห่ขบวนเจ้าพ่อ-เจ้าแม่รอบปากน้ำโพในเทศกาลตรุษจีนทุกปี การเผยแพร่ประเพณีความเชื่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพแก่ชุมชนท้องถิ่น มีวิธีการโดยการปลูกฝังความเชื่อที่ถูกสั่งสอนและสั่งสมมาจากบรรพบุรุษที่มีต่อประเพณีความเชื่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพแก่ชุมชนท้องถิ่นในตำบลปากน้ำโพ การเผยแพร่พิธีกรรมการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพแก่ชุมชนท้องถิ่นในตำบลปากน้ำโพ ในรูปพิธีกรรมแบบนามธรรม เผยแพร่โดยผ่านทางร่างทรงเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ ส่วนแบบรูปธรรม เผยแพร่โดยผ่านทางการประกอบพิธีกรรมไหว้เจ้าที่ศาลเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ และขบวนแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ องค์กรกลางทำหน้าที่เชื่อมประสานชาวไทยเชื้อสายจีนกับชุมชนท้องถิ่นในตำบลปากน้ำโพ คือ ในงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพของทุกปี จะมีคณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ เป็นผู้รับผิดชอบการจัดงานแห่ มีการประสานงานกับหน่วยงานของรัฐบาลและพ่อค้าประชาชนในชุมชนปากน้ำโพ จัดประชุมคณะกรรมการจัดงานเพื่อระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายในการบูรณาการการวางแผนการจัดงานและจัดสรรหางบประมาณ มีการสรรหาผู้สนับสนุนในการจัดงาน มีการกระจายความรับผิดชอบในการจัดงาน เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ

 

This research aims to study the knowledge exchange process between the Chinese- Thai population and the local community in Paknampho district. The study focuses on the Paknampho Chinese God Festival which influences the Chinese-Thai population in economic aspect, social aspect, local art and cultural, along with local politics and government. The researcher also studied about social management mechanism which has a social organization connects the Chinese-Thai population and the local community in Paknampho Chinese God Festival.

The research used the method to Qualitative Research. training seminar to study the knowledge exchange process between the Chinese-Thai population and the local community in Paknampho district and training seminar The study group are local people, government sector and local entrepreneur in Pakampho, Muang district, Nakhonsawan. Research is using the Descriptive Statistics which aims to explain only the study group’s information without concerning the other group of population. The methods are frequency distribution, measures of central tendency (Mean, Median, Mode) Measure of Dispersion

The research found of the people think that Paknampho Chinese God Festival influences the Chinese-Thai Population in Nakhonsawan especially in economic aspect because the local entrepreneurs have a good chance to sell the goods and souvenirs. that they got the information about the festival from the advertisement board. that Paknampho Chinese God Festival which influences the Chinese-Thai Population in the art and cultural aspect and promote the tourism. The conclusion from the information above is that the study groups think that the Paknampho Chinese God Festival influences the Chinese-Thai Population in Nakhonsawan in the art and culture aspect. The festival should organize by the committee cooperate with the local government sector and local entrepreneur. The Festival has an impact on the Paknampho population because it is a well-known festival which continues the beautiful culture from the ancestor to the new generation.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

ฉบับ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (2013): มกราคม - มิถุนายน 2556

บท

บทความวิจัย (Research Article)

บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว

ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ําโพ ภาคอะไร

ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพ เป็นประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ใน จังหวัดนครสวรรค์ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อความเป็นสิริมงคล การแห่เจ้านี้เริ่มทำครั้งแรกในพ.ศ. 2475 และได้ปฏิบัติสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบันเป็นประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของชาวนครสวรรค์ โดยในพิธีแห่จะมี 2 รอบ คือรอบกลางคืนในวันชิวซา ...

ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพจัดขึ้นที่จังหวัดอะไร

งานประเพณีแห่เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ปากน้ำโพ สืบสานประเพณี ตรุษจีนปากน้ำโพ" วันที่ 9 พ.ย. 2563. กำหนดจัดงาน เดือนกุมภาพันธ์ สถานที่ บริเวณต้นแม่น้ำเจ้าพระยา และตลาดปากน้ำโพ อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์

วัตถุประสงค์ในการจัดพิธีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่บรรพตพิสัยคืออะไร

“งานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้้าโพ” ในสมัยเริ่มแรกนั้นมีวัตถุประสงค์ในการที่จะน้าองค์ เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ แห่ไปในเส้นทางต่าง ๆ ในเมือง เพื่อให้ประชาชนได้สักการะและเป็นการปัดเป่า ทุกข์ภัย เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่เมือง และชาวเมืองปากน้้าโพ โดยมีการแสดงในขบวนแห่บ้าง เช่น สิงโต ล่อโก้ว ฯ แต่ด้วยเหตุที่การจัดให้มีงานแห่ ...

องค์สมมุติเจ้าแม่กวนอิมคืออะไร

เรียกว่า “ปัวะปวย” ไม้ที่ใช้เสี่ยงทายจะต้องคว่ำอันหงายอันเป็นจำนวน 2 ครั้ง เสี่ยงทายครั้งสุดท้าย ไม้ที่ใช้เสี่ยงทายจะต้องคว่ำทั้ง 2 อัน หรือ “หน่อเส่งเจ๊กอุ้ง” จึงจะเป็นองค์สมมติเจ้าแม่กวนอิมโดยสมบูรณ์ และถูกต้อง