ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

คงปฏิเสธกันไม่ได้ว่า เรื่องของการออมเงินเป็นสิ่งจำเป็นที่คุณพ่อคุณแม่ควรปลูกฝังลูกตั้งแต่เล็ก ๆ เพื่อที่โตขึ้น ลูก ๆ จะได้รู้จักการเก็บออม และการบริหารการเงินที่ถูกต้อง ทั้งนี้ เรื่องของการเก็บออมเริ่มจากการที่เราต้องสอนลูกให้รู้จัก “วินัย” ในตัวเองก่อน ต้องแบ่งเงินเก็บในทุก ๆ วัน สำหรับประเด็นนี้ คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องกังวลเลยค่ะ เพราะแค่ปริ้นท์ “ตารางออมเงิน” ของเราแปะไว้ที่ฝาผนัง พร้อมกับทำสัญลักษณ์ว่าวันไหนที่เก็บออมไปแล้ว เพียงเท่านี้ก็ช่วยให้ลูกน้อยมีวินัยทางการเงินแล้วล่ะค่ะ

สารบัญ

  • ตารางออมเงิน เก็บง่ายรายเดือน
    • ตารางออมเงิน 1,000 บาท
    • ตารางออมเงิน 2,000 บาท
    • ตารางออมเงิน 3,000 บาท
    • ตารางออมเงิน 5,000 บาท
    • ตารางออมเงิน 10,000 บาท

ตารางออมเงิน เก็บง่ายรายเดือน

ตารางออมเงิน 1,000 บาท

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางออมเงิน 2,000 บาท

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางออมเงิน 3,000 บาท

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางออมเงิน 5,000 บาท

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางออมเงิน 10,000 บาท

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

การออมเงินไม่ใช่เรื่องยากค่ะ เริ่มจากการที่เรามีวินัยในตัวเองก่อน แต่ถ้ากลัวลืมก็ให้ตารางออมเงินเป็นตัวช่วยเพราะนอกเหนือจากการที่ต้องเก็บออมทุกวันแล้ว ในตารางจะมีการเพิ่มของจำนวนเงินเด็ก ๆ รู้ด้วยว่าวันไหนที่เราจะเพิ่มจำนวนเงินในการเก็บ ซึ่งถ้าเด็ก ๆ ทำได้ รับรองค่ะ ไม่ว่าจะเป็นเงิน 1,000, 5,000, 10,000 หรือจะหลายหมื่น เด็ก ๆ ก็สามารถทำได้แน่นอนค่ะ

วันนี้เรามี แนวทางเก็บเงินให้มีเงินหมื่นไม่เกิน 2 เดือน เพื่อเป็นแนวทางการเก็บเงินแบบง่ายๆสามารถทำได้ทุกเพศทุกวัยตามระดับชั้น เพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเราไปชมกันเลย

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางสำหรับการเก็บเงินหมื่นใน 50 วัน 

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางสำหรับการเก็บเงินให้ได้ 5,000 บาท ใน 50 วัน 

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางสำหรับการเก็บเงินให้ได้ 3,000 บาท ใน 50 วัน 

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางสำหรับการเก็บเงินให้ได้ 1,000 บาท ใน 50 วัน 

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ตารางสำหรับการเก็บเงินให้ได้ 500 บาท ใน 50 วัน


ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน


การออมเงินควรเริ่มต้นเก็บเงินออมแต่ละเดือนเท่าไรดี

สำหรับการเริ่มต้นที่ดี ตัวเลขที่เหมาะสมน่าจะอยู่ที่ 10% ของรายได้ เพราะไม่มากหรือน้อยเกินไป เช่น ถ้าเงินเดือนปริญญาตรีเริ่มต้นที่เดือนละ 15,000 บาท ก็ควรจะหักเงินออกไปออมเดือนละ 1,500 บาท แล้วค่อยใช้ส่วนที่เหลือ 13,500 บาท ช่วงแรกๆ อาจจะทำใจได้ยากสักหน่อย แต่เชื่อเถอะว่า ทำไปสักพักก็จะชินไปเอง  ซึ่งวิธีที่จะช่วยทำให้คุ้นชินกับการออมเงินแบบนี้ก็คือ การใช้บริการหักเงินอัตโนมัติเมื่อมีรายได้เข้ามาในบัญชี โดยตั้งใจให้ระบบหักไปเก็บไว้ในบัญชีเงินฝากอีกบัญชีหนึ่ง หรือจะหักออกไปลงทุนในรูปแบบต่างๆ ก็ขึ้นอยู่กับความพอใจ

ในช่วงภาวะวิกฤตไวรัสโคโรนาแบบนี้  MoneyGuru ขอให้ทุกท่านรักษาสุขภาพและเป็นกำลังใจให้เราผ่านช่วงนี้ไปด้วยกัน ส่วนใครที่มองหาตัวช่วยในการจับจ่ายใช้สอยที่ง่าย สะดวก และทำได้ที่บ้าน เรายังมีบัตรเครดิตอื่นๆ ให้เลือกใช้ เข้ามาเปรียบเทียบบัตรเครดิตได้ทุกวัน

ตารางเก็บเงิน 5000 บาท 2 เดือน

ไม่พลาดทุกเรื่องราวข่าวสำคัญ แค่กดเป็นเพื่อน กับ LINE @MoneyGuruThailand