หนังสือรับสภาพหนี้ ฟ้องได้ไหม

1.���ͺ�������ͧ˹ѧ����Ѻ��Ҿ˹�����١˹����˹������ 500000 ��˹ѧ����������������������ѧ����¿�ͧ��ͧ�����ҧ� ˹ѧ�����������ҹ���˹��ж֧���������ö��ͧ��ͧ������

Show

�ͺ  - ˹ѧ����Ѻ��Ҿ˹�� ���ؤ����ͧ˹ѧ����Ѻ��Ҿ˹�� �ӵͺ�����ͧ����ͧ�Ԩ�ó�˹�������˹��ѹ����ѭ������ �� �ѭ�ҫ��͢�� �ѭ�Һѵ��ôԵ �ѭ�ҡ������Թ �繵� ���ص����ѭ�ҡ������Թ�����ؤ��� 10 �� ����ա�����Թ������ѭ���� 9 ������ ���� � ���˹��价ǧ����١˹�� �١˹��֧��˹ѧ����Ѻ��Ҿ˹�������� ���ҧ����������ؤ��� 10 �� �ѧ������дش��شŧ ���������Ѻ���ؤ��� 10 ������Ѻ���ѹ��˹ѧ����Ѻ��Ҿ˹�����

2.��ҿ�ͧ��ͧ�����١˹������շ�Ѿ���Թ�����Թ���Ъ������Ǩ����Ը�㴺�ҧ�����Ҩ����Թ�׹(��ҧ���-��� ����հҹо�����ä��)

�ͺ - ��ÿ�ͧ��ͧ��ըп�ͧ����ͧ���١˹��ͧ��� ����;���������������١˹��ͧ��������ҡ�������ӹҨ��ͧ���������繨���� ���������դӾԾҡ������١˹�����˹�� �¾�����������١˹�����ӾԾҡ�ҡ��仺ѧ�Ѻ�������ҫ���繺ؤ����¹͡�������� �Ӷ������١˹������շ�Ѿ���Թ �����ҧ�� �����ͧ������˹�����ӾԾҡ�����Է�Ժѧ�Ѻ����� 10 �� �ҡ���������Ҵѧ�������������Ҩ�ѧ�Ѻ����ִ��Ѿ������ͧ��㨤�Ѻ ����¡������ջ�Сѹ���ͧ����Ѻ��������§����ͧ��Ѻ

�ҵ�� 193/35  �����ѧ�Ѻ�ҵ�� 193/27 �Է�����¡��ͧ����Դ��鹨ҡ��÷���١˹���Ѻ��Ҿ�����Ѻ�Դ������ѡ�ҹ��˹ѧ��������¡������Сѹ����ҵ�� 193/28 ��ä�ͧ ����ա�˹����ؤ����ͧ�չѺ���ѹ������Ѻ��Ҿ�����Ѻ�Դ��������Сѹ                         

เพจเฟซบุ๊ก สายตรงกฎหมาย ได้ออกโพสต์เปิดเผย ตัวอย่างหนังสือรับสภาพหนี้ ที่ให้ลูกหนี้เซ็นหากลูกหนี้ประสงค์จะทำหนังสือรับสภาพหนี้ ก็เอาไปให้เซ็นได้ ถ้าเซ็นแล้วไม่ชำระหนี้ตามที่เซ็น ก็ไปฟ้องศาลได้


คนที่กู้ยืมเงินกันแล้วไม่ได้ทำสัญญาไว้ หากลูกหนี้ประสงค์จะทำหนังสือรับสภาพหนี้ ก็เอาไปให้เซ็นได้ ถ้าเซ็นแล้วไม่ชำระหนี้ตามที่เซ็น ก็ไปฟ้องศาลได้อันนี้เป็นตัวอย่างคร่าวๆ ถ้าใครจำนวนเงินกู้สูงๆ ควรให้นักกฎหมายหรือทนายดูอีกทีนะครับทนายรัชพล ศิริสาครประธานชมรมสนับสนุนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมเพจ สายตรงกฎหมาย ยึดมั่นความยุติธรรม

แท็กที่เกี่ยวข้อง

ทนายรัชพลข้อกฎหมายNEWS

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

อุตุฯ ประกาศ ฉ.4 เตือน 25-26 ธ.ค.อ่าวไทยคลื่นลมแรง เรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง

24 ธ.ค. 2565

ตร. สั่งใต้สังกัด ยุติให้ข่าวคดีที่นำเสนอสัญชาติ เหตุกระทบความสัมพันธ์

24 ธ.ค. 2565

ทร.คาดร่างที่พบบริเวณจุด "เรือหลวงสุโขทัย" จม น่าจะเสียชีวิตจากการกระแทก

24 ธ.ค. 2565

รวบแล้ว "พัชรินทร์" ผู้ถือหุ้นบริษัท "ตู้ห่าว" อ่วมเจอแจ้งหลายข้อหาหนัก

24 ธ.ค. 2565

ข่าวล่าสุด

อุตุฯ ประกาศ ฉ.4 เตือน 25-26 ธ.ค.อ่าวไทยคลื่นลมแรง เรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง

24 ธ.ค. 2565

เช็กดวงวันเกิด กับ หมอไก่ พ.พาทินี ดวงประจำวันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2565

24 ธ.ค. 2565

ตร. สั่งใต้สังกัด ยุติให้ข่าวคดีที่นำเสนอสัญชาติ เหตุกระทบความสัมพันธ์

24 ธ.ค. 2565

ทร.คาดร่างที่พบบริเวณจุด "เรือหลวงสุโขทัย" จม น่าจะเสียชีวิตจากการกระแทก

24 ธ.ค. 2565

รวบแล้ว "พัชรินทร์" ผู้ถือหุ้นบริษัท "ตู้ห่าว" อ่วมเจอแจ้งหลายข้อหาหนัก

24 ธ.ค. 2565

คลิปเด่น

Previous

Next

กู้ยืมเงิน คือ สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้กู้” ได้ขอยืมเงินจำนวนหนึ่งจากบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้กู้”  และผู้กู้ตกลงจะใช้เงินคืนภายในกำหนดเวลาตามที่ตกลงกันไว้ โดยผู้กู้ยินยอมเสียดอกเบี้ยให้แก่ผู้ให้กู้ตามอัตราที่ตกลงกันไว้ การกู้ยืมเงินจะมีผลสมบูรณ์เมื่อส่งมอบเงินให้กับผู้กู้ และมีหลักฐานในการกู้ยืมเงิน ทั้งนี้การกู้ยืมเงินกันตั้งแต่ 2,000 บาทขึ้นไป จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือที่แสดงข้อความว่าได้มีการกู้เงินกันจริง และได้กู้ยืมเงินกันจำนวนเท่าใด โดยต้องมีการลงลายมือชื่อของผู้กู้เป็นสำคัญ ถ้าการกู้ยืมเงินดังกล่าวไม่ทำเป็นหนังสือ ผู้ให้กู้จะฟ้องร้องบังคับคดีกันไม่ได้

หลักฐานการกู้ยืมเงิน แบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ

1.กรณีจำนวนเงินที่กู้ยืมกัน ไม่เกิน 2,000 บาท กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ต้องทำหลักฐานการกู้ยืมต่อกัน ดังนั้น แม้ตกลงยืมเงินกันด้วยวาจา เมื่อเกิดการผิดข้อตกลงหรือผิดสัญญาก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ตามกฎหมาย

2.กรณีจำนวนเงินที่กู้ยืมกัน เกิน 2,000 บาทขึ้นไป กฎหมายกำหนดให้การกู้ยืมเงินจะต้องมีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน มิเช่นนั้นจะฟ้องร้องให้บังคับคดีต่อกันไม่ได้

หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงินนั้นจะอยู่ในรูปแบบใดก็ได้ แต่ต้องเป็นลายลักษณ์อักษร มีข้อความชัดแจ้งว่ามีการกู้ยืมเงินกันไปเป็นจำนวนเท่าใดและตกลงจะใช้คืนเมื่อใด และที่สำคัญคือต้องมีลายมือชื่อของผู้กู้ยืมเป็นสำคัญด้วย

ดอกเบี้ยกู้ยืมเงิน <

ในการกู้ยืมเงินกฎหมายให้คิดดอกเบี้ยกันได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบกัน กฎหมายได้กำหนดจำกัดอัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินไว้คือ ให้คิดดอกเบี้ยได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 15 ต่อปี (คืออัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน) ยกเว้นกรณีเป็นสถาบันการเงินหรือธนาคาร กฎหมายให้อำนาจเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่าอัตราร้อยละ 15 ต่อปีได้ แต่ต้องเป็นไปตามประกาศข้อกำหนดของธนาคารซึ่งมีกฎหมายรองรับ(พระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน)

กรณีกำหนดดอกเบี้ยไว้เกินอัตราที่กฎหมายกำหนด มีผลคือ

1.เป็นความผิดอาญาฐานเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ ไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475

2.ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมนั้นตกเป็นโมฆะทั้งหมด ฟ้องบังคับไม่ได้เลย (แต่เงินต้นยังคงสมบูรณ์)

หนังสือรับสภาพหนี้ ฟ้องได้ไหม

3.ดอกเบี้ยที่ผู้กู้ยืมชำระไปแล้ว เรียกคืนไม่ได้ (ถือว่าชำระหนี้ตามอำเภอใจ)

แม้ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจะตกเป็นโมฆะ แต่สำหรับดอกเบี้ยผิดนัด ผู้ให้กู้ยืมก็ยังคงบังคับได้

ดังนั้น เนื้อความในเอกสารหลักฐานการกู้ยืมเงิน ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
1. วันที่ที่ทำสัญญากู้เงิน
2. ชื่อ ผู้ขอกู้เงินและผู้ให้กู้เงิน
3. จำนวนเงินที่กู้
4. กำหนดชำระ (จะมีหรือไม่มีก็ได้)
5. ดอกเบี้ย (ไม่เกิน 15% ต่อปี) เเต่ถ้าไม่ได้กำหนดเอาไว้กฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์ มาตรา 7 ได้ใช้ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี
6.ผู้กู้ยืมต้องลงลายมือชื่อ (กรณีลงลายพิมพ์นิ้วมือจะต้องมีพยานรับรองลายนิ้วมือ 2 คน)

การค้ำประกัน หมายถึงการประกันการชำระหนี้ด้วยบุคคลอันเป็นสัญญาประเภทหนึ่ง ซึ่งบุคคลอื่นนอกเหนือจากเจ้าหนี้และลูกหนี้ยอมตกลงกับเจ้าหนี้ว่าหากลูกหนี้ ไม่ชำระหนี้ ตนจะยอมชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ เป็นการเอาความน่าเชื่อถือหรือความมีฐานะทางการเงินของตนเองเข้าประกันจะชำระหนี้ให้ บุคคลนี้เรียกว่า “ผู้ค้ำประกัน” ในทางกฎหมาย ผู้ค้ำประกันหมายถึง “บุคคลหนึ่งที่ยอมรับที่จะชำระหนี้แทนอีกบุคคล หากบุคคลนั้นไม่ชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้

สิทธิของผู้ค้ำประกัน

  • ผู้ค้ำประกันมีสิทธิขอให้เจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อน เว้นแต่ลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย หรือไม่ปรากฏว่าอยู่ที่ใดในราชอาณาจักร
  • ถ้าผู้ค้ำประกันพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้มีทางที่จะชำระหนี้ได้ และการที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้จะไม่เป็นการยาก เจ้าหนี้ต้องบังคับการชำระหนี้เอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อน ซึ่งเป็นกรณีที่ลูกหนี้และผู้ค้ำประกันถูกฟ้องคดีต่อศาลเป็นคดีเดียวกัน ถ้าเจ้าหนี้ฟ้องเฉพาะผู้ค้ำประกันโดยไม่ได้ฟ้องลูกหนี้ด้วย ผู้ค้ำประกันจะเกี่ยงให้เจ้าหนี้ไปบังคับชำระหนี้จากลูกหนี้ก่อนไม่ได้เพราะลูกหนี้เป็นบุคคลนอกคดี
  • ถ้าเจ้าหนี้ยึดถือทรัพย์สินอย่างอื่นของลูกหนี้ไว้เป็นประกัน เมื่อผู้ค้ำประกันร้องขอ เจ้าหนี้จะต้องให้ชำระหนี้เอาจากทรัพย์ซึ่งเป็นประกันนั้นก่อน การยึดถือทรัพย์ของลูกหนี้ไว้เป็นประกันนั้นจะมีขึ้นก่อนหรือหลังการทำสัญญาค้ำประกันก็ได้ แต่หากทรัพย์สินดังกล่าวเป็นของบุคคลภายนอกผู้ค้ำประกันจะร้องขอให้เจ้าหนี้เอาชำระหนี้จาก

การรับสภาพหนี้

คือ การที่ลูกหนี้ได้ยอมรับว่าตนเป็นหนี้ต่อเจ้าหนี้จริง อันเป็นการแสดงเจตนาฝ่ายเดียวของลูกหนี้ โดยจะมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลงเกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น นิติกรรมสัญญา ละเมิด ลาภมิควรได้ สามารถที่ทำหนังสือรับสภาพหนี้ได้

วิธีการรับสภาพหนี้ เช่นทำเป็นหนังสือ ชำระหนี้บางส่วน ชำระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรืออื่นใดๆที่แสดงว่ารับว่าเป็นหนี้ หนังสือรับสภาพหนี้ไม่จำเป็นจะต้องลงลายมือชื่อของเจ้าหนี้ หรือพยานก็ได้ กฎหมายกำหนดเพียงจะต้องลงลายมือชื่อของลูกหนี้ เท่านั้น

การรับสภาพหนี้ต้องกระทำก่อนที่หนี้เดิมจะขาดอายุความซึ่งมีผลทำให้อายุความสะดุดหยุดลงอายุความฟ้องคดี 10 ปี

หนังสือรับสภาพหนี้ฟ้องอาญาได้ไหม

หากในหนังสือรับสภาพหนี้นั้น #เจ้าหนี้ไม่ได้มีข้อความแสดงความประสงค์ที่จะสละสิทธิในการดำเนินคดีอาญาเอาไว้ #ก็ไม่ถือว่าเป็นการยอมความกันในคดีอาญาที่จะทำให้คดีอาญาระงับตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 39(2) #เพราะการยอมความกันโดยถูกต้องตามกฎหมายนั้น #ข้อตกลงจะต้องปรากฏชัดแจ้งว่าผู้เสียหายไม่ติดใจเอาความหรือสละสิทธิ ในการดำเนินคดีอาญา ...

หนังสือรับสภาพหนี้มีผลอย่างไร

หนังสือรับสภาพหนี้ คือ หนังสือที่ลูกหนี้ทำให้แก่เจ้าหนี้รับรองว่าตนเป็นหนี้อยู่จริง ก่อนที่สิทธิ เรียกร้องนั้นจะขาดอายุความ “การทำหนังสือรับสภาพหนี้มีเหตุผลที่ทำขึ้น คือ เพื่อสงวนสิทธิของฝ่ายเจ้าหนี้ มิให้สิทธิเรียกร้องหนี้สินของตนต่อลูกหนี้นั้นต้องขาดอายุความ อีกเหตุผลหนึ่งคือ ใช้เป็นหลักฐานที่ทำขึ้น

หนังสือรับสภาพหนี้ มาตราไหน

มาตรา ๑๙๓/๑๖ หนี้ใดซึ่งตามมูลแห่งหนี้นั้น เจ้าหนี้จะได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้ในเวลาใดเวลาหนึ่งก่อนอายุความครบบริบูรณ์ เพื่อเป็นหลักฐานว่าอายุความสะดุดหยุดลง

หนังสือรับสภาพหนี้ ต้องติดอากร กี่ บาท

หนังสือรับสภาพหนี้ ไม่ใช่ตราสารตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ในประมวลรัษฎากร จึงไม่ต้องปิดอากรแสตมป์