พระพุทธ ศาสนา กับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอ เพียง และการพัฒนาประเทศ แบบ ยั่งยืน

พระพุทธศาสนา ม.๔-๖ หน่วยที่ ๔ พระพทุ ธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยืน

พระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบย่ังยืน ๑. พระพุทธศาสนากบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๑ ความหมายของระบบเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดาริเรือ่ ง ระบบเศรษฐกจิ แบบพอเพียง (Self Sufficiency Economic) ไว้ดงั น้ี

พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยนื “เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ขอย้าว่าเปน็ ทั้งเศรษฐกจิ หรือความประพฤติท่ที า้ อะไรเพื่อใหเ้ กิดผล โดยมีเหตแุ ละผล คอื ผลเกดิ มาจากเหตุ ถา้ เหตดุ ี คดิ ดี ผลท่ีออกมา คอื สิ่งที่ติดตามเหตุ การกระทา้ ก็จะเปน็ การกระทา้ ท่ีดี และผลของการกระทา้ นัน้ ก็จะเป็นการกระท้าที่ดี ดี แปลว่า มปี ระสทิ ธิผล ดี แปลวา่ มีประโยชน์ ดี แปลว่า ทา้ ให้มีความสุข”

พระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบย่ังยนื “Self Sufficiency (พ่งึ ตนเอง) คือ พอเพียงแกต่ นเอง แตค่ วามจริงเศรษฐกิจพอเพยี งน้ีกวา้ งขวางกวา่ Self Sufficiency นนั่ หมายความว่า ผลิตอะไรทม่ี พี อทีจ่ ะใช้ ไมต่ ้องไปซ้อื ของคนอ่นื อยไู่ ดด้ ว้ ยตวั เอง”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยนื “ความพอเพยี งน้กี แ็ ปลว่า ความพอประมาณและความมเี หตุผล...”

พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยัง่ ยนื “พอเพียงนีม้ คี วามหมายกวา้ งขวางย่งิ กวา่ อกี (คือกว้างกว่าพึง่ ตนเอง) คา้ ว่า “พอ” ก็คือเพียงนีก้ ็พอ ดงั นน้ั คนเราถ้าพอในความตอ้ งการก็มีความโลภน้อย เม่ือโลภนอ้ ยก็เบียดเบียนคนอื่นนอ้ ย คนเราก็อยเู่ ป็นสขุ ”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพัฒนาประเทศแบบยง่ั ยนื “การจะเปน็ เสอื นนั้ ไม่สา้ คญั สา้ คัญอยู่ทีเ่ รามี เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน หมายความวา่ อ้มุ ชูตัวเองได้ ใหม้ คี วามพอเพยี งกบั ตัวเอง...”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพัฒนาประเทศแบบย่งั ยนื สรุปความหมาย ของเศรษฐกจิ พอเพียงไดว้ ่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหน่ึง ๆ ในการผลิตสินค้า และบริการทุกชนิด เพ่ือเล้ยี งสงั คมนั้น ๆ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งพ่งึ พาปัจจยั ตา่ ง ๆ ท่เี ราไม่ได้เปน็ เจา้ ของ

พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยนื ๑.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนากบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาทใ่ี ช้กบั หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง มีดังนี้ ๑) มตั ตญั ญตุ า คอื ความเปน็ ผู้รจู้ กั ประมาณตนเอง ๒) สันตฏุ ฐี ปะระมัง ธะนัง คือ ความมกั น้อยเปน็ ทรพั ย์อย่างประเสริฐ ๓) อตั ตา หิ อตั ตะโน นาโถ คอื ตนน่ันแล เป็นท่พี งึ่ ของตน ๔) มชั ฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ๘ ประการ ๕) ธมั มญั ญตุ า และอตั ถัญญุตา คือ ร้จู ักใช้เหตผุ ลในการดาเนนิ ชีวิต

พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยัง่ ยืน ๑.๓ แนวทางปฏิบตั ิตามระบบเศรษฐกิจพอเพียง การด้ารงชพี แบบพอเพยี ง คือ การร้จู ักคา้ วา่ “พอ” ในการด้าเนินชีวติ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ดังตอ่ ไปนี้ ๑) ลด ละสง่ิ ชัว่ ใหห้ มดส้นิ ไป ๒) ละ เลกิ การแกง่ แย่งผลประโยชน์และแข่งขนั ในทางการค้าขายกนั อยา่ งรุนแรง ๓) ไม่หยุดนิ่งทจ่ี ะหาทางให้ชวี ิตหลดุ พน้ จากความทุกข์ยาก ขวนขวายใฝห่ าความรู้ ให้เกดิ มีรายได้จนถงึ ขัน้ พอเพยี ง ๔) ประหยัดตัดทอนค่าใชจ้ า่ ยในทกุ ดา้ น ลด ละความฟมุ่ เฟอื ย ๕) ประกอบอาชีพด้วยความสจุ รติ ยตุ ธิ รรม

พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื ๒. พระพทุ ธศาสนากับการพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยืน ๒.๑ ความหมายของการพัฒนา คาว่า “พัฒนา” เป็นคาท่ีแปลมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า Development ซ่ึงหมายถึง ความเจรญิ เติบโตไปในทิศทางท่ดี ี หรือการสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ ส่วนพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้คานิยามของคาว่า “พัฒนา” เอาไวว้ ่า ความเจริญ ทาใหเ้ จรญิ โดยสรุปความหมายของการพัฒนาจึงหมายถึง “การท้าให้มีความเจริญ หรือ การสร้างสรรคใ์ ห้เกิดความเปล่ียนแปลงไปในทศิ ทางทพี่ ึงประสงค์”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบย่ังยืน ๒.๒ ทีม่ าของการพัฒนาแบบยัง่ ยนื คาว่า “การพัฒนาแบบย่ังยืน” มาจากคาที่ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Sustainable Development สาเหตุ เกิดจากชาวโลกช้ันนา โดยเฉพาะนักคิด นักวิชาการ หรือนักปราชญ์ใน ประเทศตะวันตกได้ตระหนักร่วมกันว่า การพัฒนาของชาวโลกท่ีผ่านมานั้นมีทิศทางท่ีผิด จึงนามนษุ ยชาติเขา้ ไปสู่หนทางแหง่ ความทกุ ข์ และความเสอ่ื มอย่างน่าวิตก

พระพุทธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพัฒนาประเทศแบบย่งั ยนื ๒.๓ ความหมายของการพัฒนาแบบยง่ั ยืน การพัฒนาแบบยั่งยืน คือ การพัฒนาท่ีไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมาอีก ในอนาคต การพฒั นาที่ยง่ั ยืน คือ การพฒั นาทส่ี นองความตอ้ งการของปจั จบุ นั โดยไมท่ าให้ ประชาชนรุ่นต่อไปในอนาคตต้องประนีประนอมยอมลดความสามารถของเขาในการท่ีจะสนอง ความต้องการของเขาเอง

พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื ๒.๔ ลกั ษณะท่ัวไปของการพฒั นาแบบย่ังยนื ในการพฒั นาแบบยัง่ ยนื เชิงพุทธนน้ั ควรมีลักษณะท่วั ไป ดังต่อไปน้ี - คนสัมพันธก์ บั คนอยา่ งมคี วามสขุ - คนสมั พันธ์กับสังคมอย่างมคี วามสุข - คนสมั พันธก์ บั ธรรมทจ่ี ริงแท้อย่างรูเ้ ทา่ ทัน - คนสัมพนั ธ์กบั สง่ิ แวดลอ้ มอย่างเออื้ เฟอื้ เกอื้ กลู กัน - คนสมั พนั ธ์กบั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมสี ติ

พระพุทธศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน 

            คำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง"  หมายถึง เศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้ เน้นการผลิตและการบริโภคแบบพออยู่พอกินเป็นหลัก ซึ่งไม่ได้เน้นกำไรสุทธิหรือความร่ำรวยเป็นเป้าหมายสูงสุด เป็นระบบเศรษฐกิจที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันของเราทรงดำริขึ้นมา เพื่อแสวงหาทางออกจากวิกฤษตเศรษกิจให้กับสัมคมไทย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ " การที่พึ่งตนเองได้"  

            เศรษฐกิจพอเพียงนี้ เน้นให้คนในชุมชนพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพอเพียง ไปจนถึงขั้นการแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและเสริมทักษะทางวิชาการที่หลากหลาย ใช้ชุมชนดำรงอยู่ได้ด้วยการยึดหลักแห่งความถูกต้องดีงาม มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นต้น

         วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหลักของเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ  ความสงบสุขของผู้คนในสังคม ประชาชนมีกินมีใช้อย่างเพียงพอแก่ความต้องการ ที่สำคัญต้องไม่ทำตนและผู้อื่นเดือนร้อน ซึ่งสอดคร้องกับหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาหลายประการ ดังนี้

1 หลักธรรมการพึ่งพาตนเอง ( อตฺตา หิ อตฺต โน นาโถ)

2 หลักธรรมความรู้จักพอประมาณ (อตฺตญฺญุตา)  

3 หลักธรรมเรื่องราวความสันโดษ ( สนฺตุฏฺฐิ ปรมํ ธนํ)

4 หลักธรรมความเป็นผู้รู้จักใช้เหตุผลในการดำเนินชีวิต (ธมฺมญฺญุตา อตฺถญฺญุตา) 

5 หลักธรรมเรื่องทางสายกลาง หรือ ความพอดี (มชฺฌิมปฏิปทา)

6 หลักธรรมเรื่องความไม่โลภมาก (อโลภ) 

            การอาศัยหลักธรรมทางพุทธศาสนาบูรณาการทางเศรษฐกิจ คือหลักเศรษฐกิจสายกลาง หรือเศรษฐกิจมัชฌิมา หรือเป็นหลักคำสอนที่เป็นหัวใจที่สำคัญ หรือคุณค่าทางจริยธรรมอยู่ตรงที่การดำรงชีวิต ด้านการหาเลี้ยงชีพอย่างถูกต้องเรียกว่า สัมมาอาชีวะ หรือสัมมาเศรษฐกิจ คำว่า “เศรษฐกิจ” มาจากคำสองคำรวมกันคือคำว่า เศรษฐ แปลว่า ดีเลิศ และว่า กิจ แปลว่า การประกอบการ เมื่อนำคำสองคำมารวมกันจึงได้ความว่า การประกอบกิจการงานเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่าย จ่าย แจก การบริโภค และการใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ผลดี ส่วนคำว่าพอเพียงหมายาถึง พออยู่พอกิจ ความเหมาะสม หรือ ความพอดี และเมื่อร่วมกันจึงได้ความว่า การผลิตจำหน่าย และบริโภคอย่างพอเหมาะพอดี อย่างประเสริฐ 

            แนวคิดหลักของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การนำคำสอนทางพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางในการประสานกลมกลืนกับวิธีชีวิตของชาวบ้านที่เป็นเกษตรกรอย่างชาญฉลาด และเป็นรูปธรรม หลักจริยธรรมดังกล่าวคือ หลักการเดินสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา ระดับโลกิยธรรม คือธรรมที่เหมาะแก่ชาวบ้านทั่วไปได้แก่ ความเป็นรู้จักพอในการบริโภคใช้สอยทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ชีวิตแบบไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ ซึ่งมีลักษณะเป็นการเน้นการลด ละ เลิก อบายมุข ด้วยการประพฤติตามหลักเบญจศีล และ เบญจธรรม ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการเป็นวิถีพุทธ

            เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักที่เรียกว่า “ความรู้จักประมาณในการบริโภค (โภชาเนมัตตัญณุตา ) และหลักการไม่เบียดเบียนกัน ความไม่เบียนในพระพุทธศาสนา หมายถึง การไม่ทำร้ายชีวิตสัตว์ทั้งปวง ( อหิงสา สัพพ ปาณานัง ) ซึ่งรวมอยู่ในระบบนิเวศด้วย นับว่าเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ เป็นเศรษฐศาสตร์ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตอย่างแท้จริง 

            สัมมาอาชีวะ เป็นหัวใจของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ สัมมาอาชีวะมักมาคู่กับสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะ สัมมากัมมันตะคือการประกอบอาชีพที่สุจริต ไม่มีโทษ ไม่ผิดศีลธรรม เป็นงานที่หามาด้วยหยาดเหงื่อแรงงานของตนเองตามหลักการหาทรัพย์ที่ดีในพระพุทธศาสนา คือ การขยันทำงาน ( อุฏฐานะสัมปทา ) ประหยัดอดอม ( อารักขสัมปทา ) รู้จักคบเพื่อนที่ดี ( กัลยาณมิตตตา ) และเลี้ยงชีวิตอย่างเหมาะสม ( สมชีวีตา ) การเลี้ยงชีวิตอย่างเหมาะสมตรงกับ คำว่า สัมมาอาชีวะในมรรคแปด 

        สัมมอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีวิตที่เหมาะสม ถูกต้อง แปลอีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งขยายความได้ว่า การเลี้ยงชีวิตก็คือการดำเนินชีวิตด้วยการผลิต การจำหน่าย และการใช้สอย คำว่า พอเพียง ก็คือ อย่างเหมาะสม ถูกต้อง สัมมาอาชีวะเป็นชีวิตที่ประสบความสำเร็จ

        อาชีวสมบัติ หมายถึง การเลี้ยงชีวิตหรือมีอาชีพที่ดี ซึ่งตรงกันข้ามกับการเลี้ยงชีวิตที่ไม่ดีเรียกว่า อาชีววิบัติ เป็นการประกอบอาชีพที่ไม่ดี อันจะนำชีวิตและจิตใจของเราใกล้เข้าไปสูหายนะ ฟฟอาชีพวิบัติแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

 1 อาชีพวิบัติโดยงานคือ งานชนิดนั้นไม่ดีอยู่ในตัวของมันเอง เช่น การปล้นฆ่า การลักทรัพย์ การค้าของเถื่อน ค้าอาวุธ ค้าสารเสพติด ค้ามนุษย์ เป็นต้น

        2 อาชีพวิบัติโดยการกระทำ คือ งานดีแต่คนทำชั่ว เช่น งานราชการเป็นงานดี แต่ช้าราชการทุจริตคอรัปชั่น งานไม่เสียแต่เสียที่คนทำ

        วิธีแก้ไข คือ เราจะต้องเลือกงานที่สุจริตและทำด้วยความตั้งใจไม่คดโกง ดังนั้น จะเก็บได้ว่าเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ หรือเศรษฐศาสตร์แนวพุทธอย่างชัดเจน

ความสอดคล้องระหว่างเศรษฐศาสตร์แนวพุทธและเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

        1 ทั้งสองทฤษฏีมุ่งเน้นคุณภาพชีวิต และ คุณค่าของมนุษย์เป็นเบื้องต้น เพื่อปูทางไปสู่เป้าหมายที่สูงขึ้นไปกล่าวคือ สวรรค์และพระนิพพานในที่สุด

        2 ทฤษฎีทั้งสองเน้นสัมมาเศรษฐกรรม คือ เป็นเศรษฐกิจเชิงจริยธรรมที่มีเป้าหมายในการผลิต การบริโภค การสร้างงาน เป็นต้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตมนุษย์ทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึงสังคม ชุมชน ระบบนิเวศน ์และ ชาวโลกโดยทั่วไปด้วย

        3 ทฤษฎี ทั้งสองนั้นเน้นความเป็นเศรษฐกิจแบบองค์รวม กล่าวคือ ทั้งสองเป็นระบบการพัฒนาชีวิตของปัจเจกบุคลควบคู่กันไปกับการพัฒนาสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยมีจริยธรรมคือความเมตตา ความเกื้อกูลสงเคราะห์ ความสามัคคี ความไม่เห็นแก่ตัว ดังคำกล่าวว่า มนุษย์อยู่ดี ชุมชนอยู่ได้ ธรรมชาติยั่งยืน

        4 ทฤษฎีทั้งสองเน้นคุณภาพชีวิตของสรรพสัตว์ ซึ่งหมายถึงมนุษย์และสัตว์ทั้งหมดซึ่งต่างก็รักชีวิตของตนเอง

        5 ทฤษฏีทั้งสองเป็นระบบเศรษฐกิจแบบมัชฌิมาที่มีสัมมาอาชีวะเป็นหัวใจสำคัญ ซึ่งสามารถโยงไปสู่การที่พระพุทธศาสนามีท่าทีปฏิเสธความสุดโต่ง 2 ด้าน คือ การหมกมุ่นในกามสุขอย่างเดียว และ การทรมานตนเองในรูปแบบต่าง ๆ เหมือนกับศาสนาเชนของศานดามหาวีระที่นิยมการเปลือยกาย เป็นต้น

        6 ทฤษฎีทั้งสองไม่ได้เป็นเศรษฐกิจแบบระบบปิด ที่รัฐบาลของ เผด็จการนิยมทำกันด้วยการปิดประเทศของตนเอง เพื่อต้องการตัดการติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศ ด้วยเหตุผลทางการเมือง เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่เศรษฐกิจแบบทุนนิยมและบริโภคนิยม ที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมการบริโภคที่ไร้ขอบเขตจนเกิดการทำลายธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เกิดก่อให้เกิดพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ 

พระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงช่วยพัฒนาประเทศได้อย่างไร

ถ้าคนไทยปฏิบัติตามระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ก็จะส่งผลให้เกิดภาวะ “เศรษฐกิจงอกงาม ธรรมงอกเงย คนก็มีความสุข” ไม่เบียดเบียนใครให้เดือดร้อน ไม่มุ่งทำลายทรัพยากรธรรมชาติ และฝึกให้มนุษย์ตระหนักรู้ ถึงศักยภาพในความสามารถที่พึ่งพาตนเองได้ สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” คือ “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”

พุทธเศรษฐศาสตร์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสอดคล้องกันอย่างไร

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา กล่าวได้ว่าเป็นหลัก เศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ ที่มุ่งให้มนุษย์จำกัดหรือความอยากหรือความต้องการของตนเอง แทนการกระตุ้นตัณหา หรือความอยากเพื่อให้เกิดการบริโภคมากขึ้น(บริโภคนิยม) เนื่องจากพระพุทธศาสนาเห็นว่าความต้องการของ มนุษย์นั้นไม่มีขีดจำกัดแต่ขณะเดียวกัน ...

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาข้อใดบ้างที่เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตามค าสอนพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับสัปปุริสธรรม 7 ประการคือ ความรู้จักเหตุ เป็นผู้รู้จักผล ผู้รู้จักตน ผู้รู้จักประมาณ ผู้รู้จักกาลเวลา ผู้รู้จักองค์กรและรู้จักเลือกบุคคล ซึ่งสอดคล้องกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3 ด้านคือ ความพอประมาณ เป็นผู้รู้จักประมาณและรู้จักตน ความมีเหตุผล เป็นผู้จัก เหตุและเป็นผู้รู้จักผล และการมี ...

การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนาทําได้อย่างไร

ตามแนวคิดทางพุทธศาสนาการพัฒนาตนเป็นการเรียนรู้และการปฏิบัติเพื่อไปสู่ความพอดี หรือการมี ดุลยภาพของชีวิต มีความสัมพันธ์อันกลมกลืนระหว่างการด าเนินชีวิตของบุคคล กับสภาพแวดล้อมและมุ่งการ กระทาตนให้มีความสุขด้วยตนเอง รู้เท่าทันตนเอง เข้าใจตนเองมากกว่าการพึ่งพาอาศัยวัตถุ จึงเป็นแนวทางการ พัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน หลักการพัฒนาตน ...