ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

การพัฒนาตนเป็น กระบวนการของ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเราเอง ให้ไปสู่ภาวะที่ ดีกว่าและ เป็นที่ต้องการ มากกว่า แต่กระบวนการ ดังกล่าว ไม่ใช่เรื่องง่ายทั้งนี้เพราะพฤติกรรมมนุษย์นั้นซับซ้อน มีองค์ประกอบ และปัจจัย เกี่ยวเนื่องจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็น ที่ผู้ศึกษา จะต้องทำความรู้จักสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเพื่อที่จะได้จัดการ ให้มีอิทธิพล เชิงบวก หรือหลีกเลี่ยง หากมีอิทธิพลเชิงลบต่อ การพัฒนาตนเอง การศึกษาปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม จะช่วยให้เข้าใจ พฤติกรรมมนุษย์ ได้ดียิ่งขึ้น

ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ประกอบด้วย

  • ปัจจัยพื้นฐานด้านชีวภาพ
    1. พันธุกรรม
    2. การทำงานของระบบในร่างกาย
    3. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
    4. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System)

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

พฤติกรรมมนุษย์

ความหมายของพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรม (Behavior) คือ กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ อาการแสดงออกต่าง ๆ เหล่านั้น อาจเป็นการเคลื่อนไหวที่สังเกตได้หรือวัดได้ เช่น การเดิน การพูด การเขียน การคิด การเต้นของหัวใจ เป็นต้น ส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแล้วก่อให้เกิดพฤติกรรมก็อาจจะเป็นสิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) และสิ่งเร้าภายนอก (External Stimulus)

สิ่งเร้าภายใน ได้แก่ สิ่งเร้าที่เกิดจากความต้องการทางกายภาพ เช่น ความหิว ความกระหาย สิ่งเร้าภายในนี้จะมีอิทธิพลสูงสุดในการกระตุ้นเด็กให้แสดงพฤติกรรม และเมื่อเด็กเหล่านี้โตขึ้นในสังคม สิ่งเร้าใจภายในจะลดความสำคัญลง สิ่งเร้าภายนอกทางสังคมที่เด็กได้รับรู้ในสังคมจะมีอิทธิพลมากกว่าในการกำหนดว่าบุคคลควรจะแสดงพฤติกรรมอย่างใดต่อผู้อื่น

สิ่งเร้าภายนอก ได้แก่ สิ่งกระตุ้นต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่สามารถสัมผัสได้ด้วยประสาททั้ง ๕ คือ หู ตา คอ จมูก การสัมผัส
สิ่งเร้าที่มีอิทธิพลที่จะจูงใจให้บุคคลแสดงพฤติกรรม ได้แก่ สิ่งเร้าที่ทำให้บุคคล เกิดความพึงพอใจที่เรียกว่า การเสริมแรง (Reinforcement) ซึ่งแบ่งออกได้เป็น ๒ ชนิด คือ การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) คือ สิ่งเร้าที่พอใจทำให้บุคคลมีการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้น เช่น คำชมเชย การยอมรับของเพื่อน ส่วนการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) คือ สิ่งเร้าที่ไม่พอใจหรือไม่พึงปรารถนานำมาใช้เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาให้น้อยลง เช่น การลงโทษเด็กเมื่อลักขโมย การปรับเงินเมื่อผู้ขับขี่ยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร เป็นต้น

มนุษย์โดยทั่วไปจะพึงพอใจกับการได้รับการเสริมแรงทางบวกมากกว่าการเสริมแรงทางลบ
วิธีการเสริมแรงทางบวก กระทำได้ดังนี้
๑. การให้อาหาร น้ำ เครื่องยังชีพ เป็นต้น
๒. การให้แรงเสริมทางสังคม เช่น การยอมรับ การยกย่อง การชมเชย ฯลฯ
๓. การให้รางวัล คะแนน แต้ม ดาว เป็นต้น
๔. การให้ข้อมูลย้อนกลับ ( Information Feedback ) เช่น การรับแจ้งว่าพฤติกรรมที่กระทำนั้น ๆ เหมาะสม
๕. การใช้พฤติกรรมที่ชอบกระทำมากที่สุดมาเสริมแรงพฤติกรรมที่ชอบกระทำน้อยที่สุดเป็นการวางเงื่อนไข เช่น เมื่อทำการบ้านเสร็จแล้วจึงอนุญาตให้ดูทีวี เป็นต้น

องค์ประกอบพื้นฐานของพฤติกรรม

ปัจจัยพื้นฐานด้านชีวภาพ
ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา
ปัจจัยพื้นฐานด้านสังคมวิทยา

  • แรงจูงใจ (Motivation)
  • การรับรู้ (Perception)
  • การเรียนรู้
  • เจตคติและความคิดรวบยอด ( Attitude and Concept )
  • การตัดสินใจ (Decision Making)

ที่มา http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/


ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 30,850 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 287,495 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 76,729 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 30,927 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 62,920 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 142,939 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 399,373 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 51,831 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 35,274 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 94,519 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 269,808 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 20,592 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 136,320 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 37,850 ครั้ง

ปัจจัยด้านชีววิทยา มีผลต่อ พฤติกรรมมนุษย์

เปิดอ่าน 321,779 ครั้ง

กลไกลที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบประสาท : (NERVOUS SYSTEM) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของร่างกายเป็นศูนย์บัญชาการ ศูนย์กลางของความรู้สึกนึกคิด และ

พฤติกรรม โดยจะทำหน้าที่เชื่อมต่อและประสานงานระหว่างอวัยวะรับสัมผัสกับสมอง (เกิดการรับรู้) และสมองกับอวัยวะตอบสนอง (เกิดพฤติกรรมตอบสนอง)

ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท (NERVE CELL)

1.ตัวเซลล์ ( CELL BODY)

-โปรโตพลาสซึม (PROTOPLASM) +เนื้อเยื้อ+ นิวเคลียส

2.เดนไดร์ต (DENDRITE) :รับความรู้สึก

3.แอกซอน (AXON)

-ส่งความรู้สึกระหว่างแอกซอนของเซลล์ประสาทตัวหนึ่งกับ เดนไดร์ตของเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่งมีช่องว่าง เรียกว่า ไชแนปส์ (SYNAPSE)

การส่งข่าวสารระหว่างเซลล์ประสาทจะส่งผ่านสารสื่อนำประสาท (NEUROTRANSMITTER)

การส่งข่าวสารภายในเซลล์ประสาทจะส่งผ่านกระแสประสาท (NERVE IMPULSE)

ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ระบบ

1.ระบบประสาทส่วนกลาง (CENTRAL NERVOUS SYSTEM : CNS)

1.1.ไขสันหลัง (SPINAL CORD ) มีหน้าที่นำข้อมูลไปสู่สมอง+นำข้อมูลจากสมองไปอวัยวะตอบสนองควบคุมการทำงานปฎิกริยาสะท้อน(REFLEX)

1.2.สมอง (BRAIN) รับรู้ความรู้สึกควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆการเคลื่อนไหว การออกเสียงพูด การแสดงออกอารมณ์ การใช้ความคิด + สติปัญญา

ส่วนประกอบของสมอง

A.สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN)

-ไฮโปทาลามัส ( HYPOTHALAMUS)

ควบคุมสมดุลย์ของร่างกาย (HOMEOSTASIS) -ทาลามัส (THALAMUS) ศูนย์กลางของการส่งกระแสประสาท

-ซีริบรัม ( CERERUM)

1. ส่วนหน้า (FRONTAL LOBE)

ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว การพูด การเรียนรู้ สติปัญญา อารมณ์ ความคิด บุคลิกภาพ

2.สมองส่วนกลาง (PARIETAL LOBE)

ทำหน้าที่รับสัมผัสจากผิวกาย

3.ส่วนหลัง (OCCIPITAL LOBE )

ทำหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น

4.ส่วนข้าง (TEMPORAL LOBE)

ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน

B. สมองส่วนกลาง (MIDBRAIN)

ทางผ่านของกระแสประสาทจากไขสันหลังไปยังสมองส่วนหน้า

การมองเห็น การได้ยิน

C. สมองส่วนหลัง (HINDBRAIN)

-เมดดัลลา (MEDULLA)ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ การกลืนอาหาร การย่อยอาหาร

-PONS (พอนส์) เชื่อมโยงสมองซีกซ้าย – ซีกขวา กับ ซีรีบรับ

-ซีรีแบลลัม (CEREBELLUM)ควบคุมการทรงตัว+การเคลื่อนไหว+ควบคุมการทำงานปฎิกริยาสะท้อน(REFLEX)

2. ระบบประสาทส่วนปลาย (PERIPHERAL NERVOUS SYSTEM :PNS) แบ่งเป็น

2.1.เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE) เส้นประสาทที่ออกจากไขสันหลังไปทั่วร่างกายตั้งแต่คอลงมามี 31 คู่

2.2.เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE) เส้นประสาทที่ออกจากด้านล่างของสมองไปยังบริเวณใบหน้า ตั้งคอขึ้นไป มีทั้งหมด 12 คู่

3. ระบบประสาทอัตโนมัติ(AUTONOMIC NERVOUS SYSTEM : ANS) ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในและปฏิกิริยาสะท้อน

3.1 ระบบประสาทซิมพาเทติค(SYMPATHETIC NERVOUS SYSTEM)

:กระตุ้นร่างกายให้พร้อมตอบโต้สิ่งเร้า

3.2 ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(PARASYMPATHETEIC NERVOUS SYSTEM)

ควบคุมให้การทำงานของอวัยวะต่างๆที่ถูกกระตุ้นโดยระบบประสาทซิมพาเทติก ให้กลับสู่ภาวะปกติ

กลไกที่ทำหน้าที่ตอบโต้

อวัยวะของร่างกายที่ทำหน้าที่ตอบโต้ หรือ

ตอบสนองต่อสิ่งเร้าประกอบด้วยอวัยวะ 2 ระบบ

1.ระบบกล้ามเนื้อ (MUCULAR SYSTEM)

ปฏิบัติการตามคำสั่งที่ได้รับจากระบบประสาทส่วนกลาง (สมอง + ไขสันหลัง)

แบ่งตามรูปร่างได้ 3 ประเภท

1.1.กล้ามเนื้อลาย

1.2.กล้ามเนื้อเรียบ

1.3.กล้ามเนื้อหัวใจ

2.ระบบต่อม (GLANDULAR SYSTEM)

2.1.ต่อมมีท่อ (DUCT GLANDS):

ต่อมที่หลั่งสารเหลวออกมาแล้วมีท่อเล็ก ๆ ลำเรียงสารเหลวนั้นออกสู่ภายนอก

2.2.ต่อมไร้ท่อ (DUCTLESS GLANDS)

:ต่อมที่ผลิตสารเหลวที่เรียกว่า ฮอร์โมน (HORMONE) ไหลเข้าสู่กระแสเลือดไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยไม่มีท่อ มี 8 ชนิด

A. ต่อมใต้สมอง (PITUITARY GLAND)ผลิตฮอร์โมน :

-GROWTH HORMONE : GH ควบคุมการเจริญเติบโต

-ฮอร์โมนที่ควบคุม หรือกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่นๆ เช่น

:TSH (THYROID STIMULATING HORMONE) กระตุ้นต่อมไทรอยด์

:FSH(FOLLICULAR STIMULATING HORMONE) และ LH (LUTENIZING HORMONE) กระตุ้นการเติบโตของรังไข่และการตกไข่

ปัจจัยใดที่มีผลต่อพฤติกรรมของมนุษย์

การเกิดพฤติกรรมของมนุษย์แต่ละคนเป็นผลมาจากอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ปัจจัยทางด้าน ชีววิทยา ปัจจัยทางด้านสังคมวิทยา ปัจจัยทางด้านจริยธรรมจรรยา และปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ซึ่ง ปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้ล้วนมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนั้นการจะศึกษาให้เข้าใจในพฤติกรรมของ มนุษย์อย่างลึกซึ้งนั้น จะต้องศึกษาและท า ...

ปัจจัยด้านชีวภาพที่สำคัญของมนุษย์มีอะไรบ้าง

ปัจจัยพื้นฐานด้านชีวภาพ.
พันธุกรรม ... .
การทำงานของระบบในร่างกาย ... .
ระบบต่อมต่าง ๆ ( Glandular System ).

ปัจจัยทางชีวภาพหมายถึงอะไร

biological factor. ปัจจัยทางชีวภาพ, องค์ประกอบทางชีวภาพ, สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ, สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมและมีอิทธิพลต่อการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เช่น สาหร่ายเป็นปัจจัยทางชีวภาพของปลา เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

ประจัยใดบ้างที่มีผลต่อมนุษย์

เนื้อหา.
1 อาหาร.
2 ที่อยู่อาศัย.
3 เครื่องนุ่งห่ม.
4 ยารักษาโรค.
5 อ้างอิง.