การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

ที่มา : ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 75/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 14) ฉบับลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 และประกาศแนวปฏิบัติ ที่ นป. 5/2561 เรื่อง แนวทางการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีในตลาดทุนและการผ่อนผันการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีในตลาดทุน ฉบับลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

ฉบับลงวันที่ 7 ตุลาคม 2563

นายรพี สุจริตกุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยว่ารายงานทางการเงินมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีซึ่งมีบทบาทสำคัญในการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือ และเมื่อมาตรฐานสากลเปลี่ยนแปลงไป ก.ล.ต. จึงต้องปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกัน โดยหลักเกณฑ์การหมุนเวียนผู้สอบบัญชีใหม่นี้ จะกำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องหมุนเวียนผู้สอบบัญชีเมื่อปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 7 รอบปีบัญชี โดยจะต้องมีการเว้นวรรค 5 รอบปีบัญชี จากเดิมที่จะต้องหมุนเวียนผู้สอบบัญชีเมื่อปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 5 รอบปีบัญชี และต้องมีการเว้นวรรค 2 รอบปีบัญชี โดยจะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562

ทั้งนี้เพื่อช่วยลดผลกระทบในช่วงแรกของการบังคับใช้เกณฑ์ใหม่ (ปี 2562 – 2566) ก.ล.ต. มีแนวทางผ่อนผันการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี โดยจะอนุญาตให้ระยะเวลาเว้นวรรคผู้สอบบัญชีรายเดิมมีระยะเวลาน้อยกว่า 5 รอบปีบัญชีได้ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 รอบปีบัญชี และในกรณีผู้สอบบัญชีสังกัดสำนักงานสอบบัญชีขนาดเล็ก ก.ล.ต. จะอนุญาตให้สามารถขอผ่อนผันการปฏิบัติหน้าที่ผู้สอบบัญชีเกินกว่า 7 รอบปีบัญชีได้ แต่ต้องไม่เกิน 9 รอบปีบัญชี ซึ่งหากผู้สอบบัญชีได้รับการผ่อนผัน ก็จะถือว่าบริษัทจดทะเบียนดังกล่าวได้รับการผ่อนผันด้วย

นอกจากนี้ ก.ล.ต. ได้ออกแนวปฏิบัติสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทสามารถพิจารณาแต่งตั้งบุคคลที่มีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่ผู้สอบบัญชี และสนับสนุนให้ผู้สอบบัญชีดำรงความเป็นอิสระได้อย่างแท้จริง

ก.ล.ต.ปรับเกณฑ์หมุนเวียนผู้สอบบัญชีตามมาตรฐานสากล บริษัทจดทะเบียนต้องเปลี่ยนผู้สอบบัญชีเมื่อครบ 7 ปี และเว้นวรรคผู้สอบบัญชีรายเดิม 5 ปี จากเดิมเปลี่ยนเมื่อครบ 5 ปี และเว้นวรรค 2 ปี คาดส่งเสริมความเป็นอิสระ และสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ลงทุนในการใช้รายงานทางการเงินในการตัดสินใจลงทุน เริ่มบังคับใช้ 1 ม.ค.62

นายรพี สุจริตกุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยว่า “รายงานทางการเงินมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีซึ่งมีบทบาทสำคัญในการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือ และเมื่อมาตรฐานสากลเปลี่ยนแปลงไป ก.ล.ต. จึงต้องปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกัน โดยหลักเกณฑ์การหมุนเวียนผู้สอบบัญชีใหม่นี้ จะกำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องหมุนเวียนผู้สอบบัญชีเมื่อปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 7 รอบปีบัญชี โดยจะต้องมีการเว้นวรรค 5 รอบปีบัญชี จากเดิมที่จะต้องหมุนเวียนผู้สอบบัญชีเมื่อปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 5 รอบปีบัญชี และต้องมีการเว้นวรรค 2 รอบปีบัญชี โดยจะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562”

  • กรมอุตุฯเตือน 24-26 ธ.ค. เจออากาศหนาวเย็นอีกระลอก ต่ำสุด 8-10 องศา
  • เทศกาลไหว้ขนมบัวลอยของชาวจีน 2565 ตรงกับวันไหน ที่มา ความเชื่อ
  • ราชกิจจาฯออกประกาศ ห้ามรถ 10 ล้อขึ้นไป วิ่งช่วงปีใหม่ 6 ถนนสายหลัก

ทั้งนี้ เพื่อช่วยลดผลกระทบในช่วงแรกของการบังคับใช้เกณฑ์ใหม่ (ปี 2562 – 2566) ก.ล.ต. มีแนวทางผ่อนผันการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี โดยจะอนุญาตให้ระยะเวลาเว้นวรรคผู้สอบบัญชีรายเดิมมีระยะเวลาน้อยกว่า 5 รอบปีบัญชีได้ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 รอบปีบัญชี และในกรณีผู้สอบบัญชีสังกัดสำนักงานสอบบัญชีขนาดเล็ก ก.ล.ต. จะอนุญาตให้สามารถขอผ่อนผันการปฏิบัติหน้าที่ผู้สอบบัญชีเกินกว่า 7 รอบปีบัญชีได้ แต่ต้องไม่เกิน 9 รอบปีบัญชี ซึ่งหากผู้สอบบัญชีได้รับการผ่อนผัน ก็จะถือว่าบริษัทจดทะเบียนดังกล่าวได้รับการผ่อนผันด้วย

นอกจากนี้ ก.ล.ต. ได้ออกแนวปฏิบัติสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทสามารถพิจารณาแต่งตั้งบุคคลที่มีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่ผู้สอบบัญชี และสนับสนุนให้ผู้สอบบัญชีดำรงความเป็นอิสระได้อย่างแท้จริง

สินเชื่อเงินด่วน แบบใช้หมุนเวียนเพื่อธุรกิจ (Overdraft) เป็นบริการให้กู้เบิกเงินเกินบัญชี เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเสริมสภาพคล่องในการทำธุรกิจ โดยวิธีใช้วงเงินคือการเบิกเงินออกจากวงเงินที่ธนาคารอนุมัติ ซึ่งลูกค้าสามารถถอนหมดเต็มจำนวน หรือทยอยถอนบางส่วนออกจากบัญชีกระแสรายวัน และสามารถชำระหนี้ทั้งจำนวนหรือบางส่วนก็ได้ โดยการนำเงินฝากเข้าบัญชีกระแสรายวันที่มีวงเงิน OD โดยธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากยอดภาระหนี้กู้เบิกเกินบัญชีคงเหลือที่ปรากฎในบัญชีกระแสรายวัน ณ สิ้นวัน

หมายเหตุ : ทั้งนี้หากลูกค้าไม่มีการถอนเงินออกจากบัญชีกระแสรายวันที่ผูกกับวงเงิน OD จะไม่มีการคิดดอกเบี้ยกับลูกค้า

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

วันนี้ - 16 ธ.ค. 2565

ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล (WHAIR) เสนอขายผู้เป็นผู้ถือหน่วยเดิม 2, 6 - 9 ธ.ค. 65, บุคคลทั่วไป 14 - 16 ธ.ค. 65 นี้

โอกาสในการลงทุนโรงงานและคลังสินค้าสำเร็จรูปในนิคมอุตสาหกรรมชั้นนำในทำเลยุทธศาสตร์ EEC
ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล (WHAIR)

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

WHAIR เป็นกองทรัสต์ที่ลงทุนในสิทธิการเช่า
ในสิทธิการเช่าในอาคารโรงงานสำเร็จรูป (Ready Built Factory) และคลังสินค้าสำเร็จรูป (Ready Built Warehouse) ระยะเวลา 30 ปี และสิทธิ
ในการต่ออายุสัญญาเช่าทรัพย์สินอีก 30 ปี
โดยอยู่ภายใต้การบริหารของ
ดับบลิวเอชเอ กรุ๊ป
ซึ่งเป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งของประเทศไทย

วัตถุประสงค์ของการเพิ่มทุน ของกองทรัสต์ WHAIR

กองทรัสต์จะนำเงินไปลงทุนทรัพย์สินเพิ่มเติม ทรัพย์สินหลักที่กองทรัสต์จะเข้าลงทุนในการ
เพิ่มทุนครั้งที่ 3 ประกอบด้วยสิทธิการเช่า
ในทรัพย์สินประเภทอาคารโรงงานสำเร็จรูปและ
คลังสินค้าสำเร็จรูปจำนวน 14 หลัง จาก 7 โครงการดังต่อไปนี้

โครงการทำเลที่ตั้งรูปแบบการลงทุน1. นิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ อีสเทิร์นซีบอร์ด 1อ.ปลวกแดง จ.ระยองสิทธิการเช่าที่ดินและสิทธิการเช่าอาคาร 30 ปี นับจากวันเริ่มต้นระยะเวลาเช่าและสิทธิในการ
ต่อสัญญาอีก 30 ปี2. นิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 1อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี3. นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง)อ.ปลวกแดง จ.ระยอง4. นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค กบินทร์อ. กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี5. ดับบลิวเอชเอ โลจิสติกส์พาร์ค 1อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี6. ดับบลิวเอชเอ โลจิสติกส์พาร์ค 2อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี7. ดับบลิวเอชเอ โลจิสติกส์พาร์ค 4อ.ปลวกแดง จ.ระยอง

คลิกและเลื่อนเพื่อดูข้อมูล

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

จุดเด่นของกองทรัสต์ WHAIR

  • WHAIR ลงทุนในโรงงานและคลังสินค้าสำเร็จรูป ซึ่งกว่า 90% ตั้งอยู่ในพื้นที่
    เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ (“EEC”)
    ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา
    ด้วยความพร้อมด้านการคมนาคม การขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน การจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ และความเชื่อมโยงกับศูนย์กลางเศรษฐกิจอื่น
    ในประเทศ รวมถึงการสนับสนุนจากทางภาครัฐ
  • ทรัพย์สินของ WHAIR ทั้งหมด ตั้งอยู่ใน
    นิคมอุตสาหกรรมของ ดับบลิวเอชเอ กรุ๊ป (“WHA Group”) ซึ่งเป็นผู้นำในการพัฒนานิคม ด้วยส่วนแบ่งการตลาด
    มากกว่า 40% ทำให้มีระบบสาธารณูปโภค
    เพียบพร้อม ครอบคลุมระบบไฟฟ้า ระบบน้ำเพื่ออุตสาหกรรม ระบบบำบัดน้ำเสีย และทีมงานของนิคมอุตสาหกรรมที่ WHA Group เป็นผู้ดูแล
  • บริหารงานโดย WHA Group หนึ่งในผู้นำการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าของประเทศไทย ซึ่งมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการบริหารอสังหาริมทรัพย์
    โดยเฉพาะด้านการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม และการให้บริการสาธารณูปโภคต่างๆมากว่า 20 ปี
  • กองทรัสต์ WHAIR มีผลการดำเนินงานที่มั่นคงท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาด
    โควิด-19(1)
  • ประมาณการจ่ายประโยชน์ตอบแทนอยู่ที่ประมาณ 0.64 บาทต่อหน่วย ภายหลังการลงทุนในทรัพย์สินในการเพิ่มทุนครั้งที่ 3(2)

หมายเหตุ :

(1) กองทรัสต์ WHAIR มีผลการดำเนินงานที่มั่นคงโดยพิจารณาจากอัตราการเช่า ณ สิ้นปี 2563 2564 และ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565 ที่
ร้อยละ 90.7
ร้อยละ 91.1 และร้อยละ 89.4 ตามลำดับ

(2) ประมาณการจ่ายประโยชน์ตอบแทนและ
เงินลดทุนที่คาดว่าผู้ถือหน่วยทรัสต์จะได้รับ
สำหรับงวด 12 เดือน ที่ 0.64 บาทต่อหน่วย

เป็นเพียงการอ้างอิงจากงบกำไรขาดทุนและ
การจ่ายประโยชน์ตอบแทนตามสถานการณ์สมมติสำหรับปีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566

ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566 สอบทานโดยบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด และไม่อาจรับรองผลได้ ผู้ลงทุนสามารถ
ดู
รายละเอียดงบกำไรขาดทุนและการจ่ายประโยชน์ตอบแทนตามสถานการณ์สมมติสำหรับปีตั้งแต่
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่
31 ธันวาคม พ.ศ. 2566 พร้อมรายละเอียดสมมติฐานที่สำคัญ และการวิเคราะห์ความผันผวน (Sensitivity Analysis) เพิ่มเติมในหนังสือชี้ชวน

ข้อมูลการจองซื้อ

กองทรัสต์ WHAIR จะเปิดให้นักลงทุนรายย่อย/1,2 จองซื้อได้ตามรายละเอียดดังนี้

  • นักลงทุนรายย่อยผู้เป็นผู้ถือหน่วยเดิม
    จองซื้อวันที่ 2, 6 - 9 ธ.ค. 65
  • นักลงทุนรายย่อยผู้เป็นประชาชนทั่วไป
    จองซื้อวันที่ 14 - 16 ธ.ค. 65

หมายเหตุ :

/1 การจัดสรรขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้จัดการ
การจัดจำหน่าย เงื่อนไขการจัดจำหน่าย
เป็นไปตามที่กำหนดในร่างหนังสือชี้ชวน

/2 ผู้จัดจำหน่ายหน่วยทรัสต์ขอสงวนสิทธิที่จะปฏิเสธการจองซื้อหน่วยทรัสต์เพิ่มเติมใน กรณีที่ผู้จองซื้อเป็นสัญชาติอื่นใดที่มิใช่สัญชาติไทย อย่างไรก็ดี รายชื่อสัญชาติของผู้ถือหน่วยทรัสต์เดิมที่ไม่ได้รับการเสนอขายหน่วยทรัสต์จะถูกประกาศผ่านเว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทยก่อนวันจองซื้อหน่วยทรัสต์

สามารถจองซื้อผ่าน

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต
การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต

หมายเหตุ :

การจองซื้อผ่านเว็บไซด์ K-My Invest

  • สำหรับนักลงทุนรายย่อยผู้เป็นผู้ถือหน่วยเดิมสามารถจองซื้อ ตั้งแต่เวลา 9.00 น. ของวันที่
    2 ธันวาคม 2565 ถึงเวลา 15.00 น.

    ของวันที่ 9 ธันวาคม 2565
  • สำหรับนักลงทุนรายย่อยผู้เป็นประชาชนทั่วไป สามารถจองซื้อ ตั้งแต่เวลา 9.00 น. ของวันที่
    14 ธันวาคม 2565 ถึงเวลา 16.00 น.
    ของวันที่
    16 ธันวาคม 2565
  • เปิดจองตลอด 24 ชั่วโมงยกเว้นเวลา 23:30 - 00:05 น. หรือตามดุลยพินิจของธนาคารฯ

การจองซื้อผ่านเว็บไซด์ K-My Invest สามารถเลือกชำระได้ 2 วิธี ได้แก่

  1. จ่ายด้วย K PLUS สามารถชำระได้ 30 ล้านบาทต่อวัน (ไม่กินวงเงิน Bill Payment) หากต้องการจองซื้อมากกว่านี้ สามารถมาทำรายการ

    ในวันต่อไปในช่วงการจองซื้อ
  2. จ่ายด้วย mobile banking ธนาคารอื่น
    12 ธนาคาร
    (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

    ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)

    ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
    ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน)
    และธนาคารออมสิน)
    วงเงินการชำระเงินขึ้นอยู่กับข้อกำหนด
    ของธนาคารนั้นๆ (ซึ่งหากเลือกว่าชำระเงิน
    ผ่านช่องทางอื่นที่ไม่ใช่ K PLUS แต่สุดท้าย
    มาใช้ K PLUS จ่ายจะมีวงเงินการทำรายการได้ สูงสุดตามวงเงิน Bill Payment ของลูกค้า)
    ค่าธรรมเนียมการโอน / ชำระเงิน ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละธนาคาร

เงื่อนไขการจองซื้อ

จะต้องเป็นลูกค้าของธนาคารกสิกรไทยที่มี
สัญชาติไทย และได้ลงทะเบียนฺพิสูจน์ตัวตน
ที่ระดับ IAL 2.3 แล้ว เช่น การลงทะเบียน NDID,

การเปิดบัญชี K-eSaving, การสมัคร Line BK,
และการทำแบบประเมิน CRR

บริการ NDID บริการยืนยันตัวตนรูปแบบดิจิตัล

สอบถามเพิ่มเติมที่

K-contact Center :

การหมุนเวียนผู้สอบบัญชี กลต
02-888-8888
กด 819

ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม

Filing : https://market.sec.or.th/public/ipos/
IPOSEQ01.aspx?TransID=444008&lang=th

คำเตือน

  • ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไข ผลตอบแทน และความเสี่ยง
    ก่อนตัดสินใจลงทุน
  • กองทรัสต์ฯ อยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 และ พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
    การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์และการเปิดเผย
    ข้อมูลต่างๆ อยู่ภายใต้ข้อกำหนดแห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
    พ.ศ. 2535
  • การเสนอขายหน่วยทรัสต์ในครั้งนี้มิได้เป็นการเสนอขายหน่วยทรัสต์ต่อนักลงทุนรายย่อยหรือประชาชนเป็นการทั่วไป เนื่องจาก
    ความต้องการจากกลุ่มนักลงทุนข้างต้นเพียงพอต่อมูลค่าการเสนอขายรวมในครั้งนี้แล้ว และสามารถกระจายหน่วยทรัสต์ในวงกว้าง
    ได้อย่างเพียงพอ
  • ผู้จัดการการจัดจำหน่ายขอสงวนสิทธิ์ ในการ
    ปิดรับจองซื้อก่อนวันครบกำหนดระยะเวลาการจองซื้อในกรณีที่มีผู้จองซื้อของซื้อหน่วยทรัสต์ครบตามจำนวนหน่วยทรัสต์ที่เสนอขาย
    ก่อนครบกำหนดระยะเวลาการจองซื้อ
  • กองทรัสต์ WHAIR มีลักษณะคล้ายกองทุนรวมที่ลงทุนในทรัพย์สินทางเลือกเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงที่ระดับ 8
  • ทั้งนี้ ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย
    หน่วยทรัสต์และร่างหนังสือ ชี้ชวนที่ www.sec.or.th หรือ www.wha-ir.com

คำถามที่พบบ่อย

ใครซื้อหุ้นกองทรัสต์นี้ได้บ้าง

ผู้ถือหน่วยทรัสต์เดิม (PPO) และนักลงทุนทั่วไป
ซึ่งเป็นลูกค้าของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เท่านั้น

กองทรัสต์ต่างกับหุ้นกู้อย่างไร

  1. กองทรัสต์ไม่ใช่ตราสารหนี้
  2. กองทรัสต์ไม่มีวันครบกำหนดอายุเหมือน
    ตราสารหนี้
  3. กองทรัสต์ไม่มีกำหนดการคืนเงินต้น
    เมื่อครบกำหนดเหมือนตราสารหนี้
  4. กองทรัสต์ไม่มีกำหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่เหมือนตราสารหนี้

ต้องใช้เอกสารใดประกอบการจองซื้อบ้าง

วิธีการจองซื้อ

  1. จองซื้อออนไลน์ผ่าน K-My Invest
  2. จองซื้อผ่านสาขาของธนาคารกสิกรไทย

บุคคลธรรมดาที่ประสงค์จะจองซื้อได้ที่สาขาของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

  1. ใบจองซื้อหน่วยทรัสต์ (เซ็นลายเซ็นจุดแรก และเซ็นจุดที่สองในกรณี CRR< PRR) (กรณีลูกค้าต้องการนำหน่วยทรัสต์เข้าบัญชี 600
    ต้องกรอกข้อมูล FATCA ในใบจองซื้อด้วย)
  2. สำหรับบุคคคลธรรมดาสัญชาติไทย :
    สำเนาบัตรประชาชนพร้อมลายเซ็นรับรอง
    สำเนาถูกต้อง
  3. สำเนาหน้าแรกของสมุดบัญชีธนาคาร
    กรณีผู้จองซื้อขอรับเงินค่าจองซื้อหน่วยทรัสต์คืนโดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร โดยชื่อของบัญชีธนาคารดังกล่าวต้องตรงกับชื่อผู้จองซื้อ
  4. KYC / CDD กรณีเป็นลูกค้าใหม่ของธนาคาร
  5. ทำแบบประเมิน Client Suitability Test
    (ในกรณียังไม่เคยทำแบบประเมินความเสี่ยงหรือ แบบประเมินความเสี่ยงเดิมมีอายุเกิน 2 ปี)
  6. แบบสอบถาม FATCA ของ TSD (เฉพาะกรณีลูกค้าต้องการนำหน่วยทรัสต์เข้าบัญชี 600)

หมายเหตุ :

ผู้จองซื้อสามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินการ
จองซื้อแทนได้ (เฉพาะกรณีเป็นลูกค้า KBank
ที่เคยทำ KYC / CDD) และ Suitability test

แบบประเมินความเสี่ยงเดิมมีไม่อายุเกิน 2 ปี)
โดยต้องมีเอกสารมอบอำนาจอย่างถูกต้อง
โดยผู้จองซื้อจะต้องแนบเอกสารประกอบการจองซื้อเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้รับมอบอำ นาจยื่นต่อตัวแทนจำหน่ายหน่วยทรัสต์ดังต่อไปนี้สำหรับกรณีผู้จองซื้อมอบอำนาจให้ผู้รับมอบอำนาจมาทำรายการแทน

  1. หนังสือมอบอำนาจจากผู้จองซื้อ พร้อมปิดอากรแสตมป์ 30 บาท โดยระบุชื่อผู้รับมอบอำนาจที่มาจองแทน
  2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้มอบอำนาจ พร้อมลงนามสำเนาถูกต้อง โดยลายมือชื่อนั้น
    จะต้องตรงกับลายมือชื่อที่ลงนามในเอกสาร
    ที่เกี่ยวข้องกับการจองซื้อทุกฉบับ
  3. สำเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอำนาจ
    พร้อมลายเซ็นรับรองสำเนาถูกต้อง

นิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยสามารถจองซื้อได้ที่สาขาของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

  1. ใบจองซื้อหน่วยทรัสต์ (เซ็นลายเซ็นจุดแรก และเซ็นจุดที่สองในกรณี CRR< PRR) (กรณีลูกค้าต้องการนำหน่วยทรัสต์เข้าบัญชี 600
    ต้องกรอกข้อมูล FATCA ในใบจองซื้อด้วย)
  2. สำเนาหนังสือแสดงความเป็นนิติบุคคล หรือสำเนาหนังสือรับรองที่ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ที่ออกไม่เกิน 3 เดือนก่อนวันจองซื้อ

    พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้องโดยผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสำคัญของนิติบุคคล (ถ้ามี)
  3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุ
    (แล้วแต่กรณี) ของผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลดังกล่าว พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้อง
  4. หนังสือมอบอำนาจพร้อมปิดอากรแสตมป์
    30 บาท และสำเนาบัตรประชาชนของผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจ พร้อมลงนามรับรอง
    (ถ้ามี)
  5. สำเนาหน้าแรกของสมุดบัญชีธนาคาร
    กรณีผู้จองซื้อขอรับเงินค่าจองซื้อหน่วยทรัสต์คืนโดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร โดยชื่อของบัญชีธนาคารดังกล่าวต้องตรงกับชื่อผู้จองซื้อ
  6. KYC / CDD กรณีเป็นลูกค้าใหม่ของธนาคาร
  7. ทำแบบประเมิน Client Suitability Test
    (ในกรณียังไม่เคยทำแบบประเมินความเสี่ยงหรือ แบบประเมินความเสี่ยงเดิมมีอายุเกิน 2 ปี)
  8. แบบสอบถาม FATCA ของ TSD (เฉพาะกรณีลูกค้าต้องการนำหน่วยทรัสต์เข้าบัญชี 600)

จองซื้อกองทรัสต์ผ่าน ช่องทางออนไลน์
K-My Invest และ ชำระเงินผ่าน K-Plus
มีเงื่อนไขอะไรบ้าง

  • จะต้องเป็นลูกค้าของธนาคารกสิกรไทยที่มีสัญชาติไทย และที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
  • ได้ลงทะเบียนพิสูจน์ตัวตนที่ระดับ IAL 2.3 แล้ว เช่น การลงทะเบียน NDID, การเปิดบัญชี
    K-eSaving, การสมัคร Line BK,
    และ
    การทำแบบประเมิน CRR
  • กรณีเลือกจ่ายชำระผ่าน K PLUS ทำรายการได้สูงสุด 30 ล้านบาทต่อวัน (รวมธุรกรรมจองซื้ออื่นๆ ที่ผ่าน K-My Invest (ถ้ามี) แต่ไม่นับรวมวงเงิน Bill Payment) และต้องชำระเงินผ่าน
    K PLUS ภายใน 10 นาที หลังยืนยันรายการ
    จองซื้อ มิเช่นนั้นรายการจะยกเลิกอัตโนมัติ
  • กรณีเลือกจ่ายชำระผ่าน จ่ายด้วย mobile banking ธนาคารอื่น 11 ธนาคาร ได้แก่
    ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน)
    ธนาคารเพื่อการเกษตร
    และสหกรณ์การเกษตร
    ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน)
    และธนาคารออมสิน
    วงเงินการชำระเงินขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของธนาคารนั้นๆ
    (รวมถึงสามารถจ่ายด้วย K PLUS ได้ ซึ่งหากเลือกว่าชำระเงินผ่านช่องทางอื่นที่ไม่ใช่ K PLUS แต่สุดท้ายมาใช้ K PLUS จ่ายจะมีวงเงิน
    การทำรายการได้สูงสุดตามวงเงิน
    Bill Payment ของลูกค้า) และต้องชำระภายใน
    10 นาที ไม่เช่นนั้นรายการจองจะยกเลิกโดยอัตโนมัติ หากทำ QR / Barcode การชำระเงินหาย จะไม่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่ได้ ต้องรอให้บิลหมดอายุ ค่าธรรมเนียมการโอน / ชำระเงิน

    ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละธนาคาร (อาจมีหรือไม่มี)

ไม่ได้เป็นลูกค้าของ KBank ถ้าจองซื้อหน่วยทรัสต์ผ่านช่องทางออนไลน์ K-My Invest
ต้องทำอย่างไร

ในกรณีที่ยังไม่ใช่ลูกค้า KBank สามารถเป็นลูกค้า KBank ได้โดยการเปิดบัญชี e-saving ที่ https://kbank.co/2AdhTHz และไปยืนยันตัวตน
ที่ตู้ ATM หรือตัวแทนธนาคารโดยไม่ต้องไปสาขา (เช่น ถ้าเปิดบัญชีช่วง 20:00 น. ของวันที่ 1 ถึง 6:00 น. ของวันที่ 2 จะใช้ได้หลัง 6:00 น.
ของวันที่ 2)

กรณีจองซื้อผ่านสาขาสามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินการจองซื้อแทนได้ หรือไม่

ผู้จองซื้อสามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินการ
จองซื้อแทนได้ เฉพาะกรณีเป็นลูกค้า KBank
ที่เคยทำ KYC / CDD และ suitability test

(กับ KBank และอายุไม่เกิน 2 ปี) โดยต้องมีเอกสาร
มอบอำนาจอย่างถูกต้อง โดยผู้จองซื้อจะต้องแนบเอกสารประกอบการจองซื้อเพิ่มเติม
เพื่อให้ผู้รับ
มอบอำนาจยื่นต่อตัวแทนจำหน่ายหุ้นดังต่อไปนี้

  1. หนังสือมอบอำนาจฉบับจริง ที่ลงนามถูกต้อง
    ครบถ้วนพร้อมปิดอากรแสตมป์ 30 บาท
  2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุ
    (แล้วแต่กรณี) ของผู้มอบอำนาจ พร้อมลงนามสำเนาถูกต้อง โดยลายมือชื่อนั้นจะต้องตรงกับ
    ลายมือชื่อที่ลงนามในเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
    การจองซื้อทุกฉบับ
  3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับ
    มอบอำนาจ พร้อมลงนามสำเนาถูกต้อง

วิธีเลือกรับหลักทรัพย์ของกองทรัสต์ WHAIR สามารถเลือกรับหลักทรัพย์
ได้กี่แบบ

สามารถเลือกรับหลักทรัพย์ได้ 3 วิธี คือ

  1. รับเป็นแบบไร้ใบ (Scripless) **
    (เป็นที่นิยมมากที่สุด)
  2. รับเป็นใบทรัสต์
  3. นำเข้า บัญชี 600 เท่านั้น

สามารถขายกองทรัสต์ก่อนครบกำหนดได้หรือไม่

หากนักลงทุนประสงค์จะขายหน่วยทรัสต์
ก็สามารถทำได้โดยการขายผ่านตลาดหลักทรัพย์ฯ
เช่นเดียวกับหุ้นสามัญ ทั้งนี้ ราคาซื้อขาย หรือ สภาพคล่องในการซื้อขายผ่านตลาดหลักทรัพย์
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ณ ขณะนั้น


ลงทุน

ลงทุนอื่นๆ