เฉลย ใบงาน เรื่อง การอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์

๑ คำชแ้ี จงสำหรับครู แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์และวิจารณ์ จัดทาขึ้นเพ่ือใช้พัฒนาทักษะการอ่านวิเคราะห์ และวิจารณ์ให้กับนักเรียน โดยสอนแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้นักเรียนศึกษา เพิ่มเติมนอกเวลาเรียน ในรายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ มที ัง้ หมดจานวน ๗ ชุด ดงั น้ี ชดุ ที่ ๑ เรื่อง ความรพู้ น้ื ฐานการอ่านเพือ่ วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์ ชุดที่ ๒ เร่อื ง การวเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์ข่าว ชดุ ท่ี ๓ เรอ่ื ง การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์บทความ ชุดที่ ๔ เรอื่ ง การวิเคราะห์และวจิ ารณ์สารคดี ชุดที่ ๕ เรื่อง การวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์นทิ าน ชุดที่ ๖ เรื่อง การวเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรื่องสัน้ ชุดที่ ๗ เรื่อง การวเิ คราะห์และวิจารณ์บทรอ้ ยกรอง แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ ชุดนเ้ี ป็นชุดท่ี ๑ เรื่อง ความรูพ้ ื้นฐานการอ่านเพ่ือวิเคราะห์และวจิ ารณ์ หลังจากนักเรยี นศึกษา ชุดที่ ๑ น้ีแล้วจะทาให้มีความรู้ ความเขา้ ใจความหมาย องค์ประกอบ และหลักการอ่านวเิ คราะห์และ วิจารณ์ได้ เป็นการเร่ิมต้นเพื่อเปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ สาหรับการอ่านวิเคราะห์และวิจารณ์ของแบบ ฝึกทกั ษะชดุ ต่อไปที่เหลอื อีก ๖ ชดุ ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒, ๓ และ ๔ จานวน ๓ แผน ๆ ละ ๑ คาบ (๕๐ นาที) โดยแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ ประกอบด้วย เน้ือหา กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน และแบบเฉลย เพ่ือให้ครูผู้สอนและนักเรียนได้ตรวจคาตอบได้ อย่างไรก็ตามกิจกรรมบางอย่างมีการใช้คาถาม ปลายเปิด ดังนั้นแนวการเขียนตอบแสดงความคิดของนักเรียนครูผู้สอนควรใช้ดุลยพินิจในการตรวจ คาตอบ เม่อื ตรวจแลว้ ควรแจ้งให้นกั เรียนทราบผลทนั ทีเพอื่ นักเรยี นจะได้มกี าลังใจ และครจู ะได้นาไป พัฒนาการจัดการเรียนการสอนตอ่ ไป

๒ คำชแ้ี จงสำหรับนกั เรียน แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้พ้ืนฐานการอ่านเพื่อวิเคราะห์และวิจารณ์ มีท้ังหมด ๒ ใบความรู้ ๔ กจิ กรรม ใหน้ กั เรยี นอา่ นคาแนะนาการใชแ้ ละปฏิบัติตามขน้ั ตอนดังนี้ ๑. ศึกษาจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๒. อา่ นคาช้แี จงการใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอ่านวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ ให้เข้าใจตามขั้นตอน ๓. ศึกษากรอบเนื้อหาในใบความรู้ ทาความเข้าใจ และต้ังใจทากิจกรรมที่กาหนดให้ ตามลาดับจนครบทกุ กิจกรรม ๔. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน ๑๐ ข้อ ในเวลา ๑๐ นาทีลงในกระดาษคาตอบ แล้ว ตรวจคาตอบจากเฉลยส่งให้ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งแล้วบันทึกคะแนนลงทา้ ยเลม่ ๕. ตรวจคาตอบจากเฉลยทา้ ยแบบฝกึ ทักษะ ๖. นกั เรียนตอ้ งมคี วามซ่ือสตั ย์ และไมแ่ อบดูเฉลยกอ่ นทากิจกรรมในแบบฝกึ ทักษะ

๓ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ หลังจากนกั เรยี นไดเ้ รยี นรูจ้ ากการทาแบบฝึกทักษะการอา่ นวเิ คราะห์และวิจารณ์ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ เร่ือง ความรูพ้ ้นื ฐานการอ่าน เพ่ือวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ เรียบร้อยแลว้ นกั เรยี นมคี วามสามารถ ดงั นี้ ๑. บอกความหมายของการวิเคราะห์ได้ถกู ต้อง ๒. บอกความหมายของการวิจารณไ์ ด้ถูกต้อง ๓. บอกความสาคญั และองค์ประกอบของการวเิ คราะห์ได้ถูกต้อง ๔. บอกกระบวนการวจิ ารณ์ได้ถูกต้อง ๕. วเิ คราะหเ์ รือ่ งทก่ี าหนดใหอ้ ่านไดถ้ ูกต้อง ๖. วจิ ารณเ์ ร่ืองท่ีกาหนดให้อา่ นได้ถูกต้อง

๔ คำชีแ้ จง ใบควำมรู้ ๑ เร่ือง กำรวเิ ครำะห์และวิจำรณ์ ใหน้ ักเรยี นอ่านเน้ือหาในแตล่ ะกรอบ และทากจิ กรรม ๑.๑ – ๑.๔ กรอบที่ ๑.๑ ควำมหมำยกำรวิเครำะห์และวิจำรณ์ วิเคราะห์ หมายถึง แยกแยะออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจ และแลเห็นความสัมพันธ์ ระหวา่ งส่วนตา่ ง ๆ เหล่าน้นั การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาแยกสิ่งใดส่ิงหน่ึงออกเป็นส่วน ๆ เพ่ือทาความเข้าใจ แตล่ ะสว่ นใหแ้ จม่ แจง้ แลว้ ทาความเขา้ ใจต่อไปวา่ แต่ละส่วนสมั พันธ์เก่ยี วเน่อื งกนั อย่างไร การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งซ่ึงอาจจะเป็นวัตถุ ส่ิงของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่าง องค์ประกอบเหล่านน้ั เพือ่ คน้ หาสภาพความเป็นจริง หรือส่งิ สาคญั ของส่ิงทก่ี าหนดให้ วิจารณ์ หมายถงึ การคิดใครค่ รวญโดยใช้เหตผุ ล วจิ ารณ์ ตามพจนานุกรม หมายถงึ ใหค้ าตดั สนิ ส่ิงท่ีกาลังพจิ ารณา การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีท่ีแสดงออกมาน้ัน ให้เห็นว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม มีช้ันเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติงหรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณ์ ส่ิงใดก็ตามจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุมีผล มี หลักเกณฑ์และมีความรอบคอบด้วย ตามปกติแล้ว เม่ือจะวิจารณ์สิ่งใด จะต้องผ่านข้ันตอนและ กระบวนการของการวิเคราะห์สาร วินิจสาร และประเมินค่าสาร ให้ชัดเจนเสียก่อนแล้ว จึงวิจารณ์ แสดงความเหน็ ออกมาอย่างมีเหตุมีผลให้น่าคดิ นา่ ฟงั และเป็นคาวจิ ารณ์ทเี่ ชือ่ ถือได้ การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาคุณค่าของงานเขียนด้วยการอธิบายลักษณะของ บทประพนั ธ์นัน้ ๆ และตดั สินประเมนิ คา่ ว่างานเขยี นน้นั ดเี ด่นหรือบกพรอ่ งอย่างไร เพราะเหตุใด การวิจารณ์ หมายถึง การให้อรรถาธิบายในแง่ต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะของงานเขียนท่ีนา มาวจิ ารณ์พร้อมทั้งประเมินคุณค่าของงานเขยี น โดยใชเ้ กณฑอ์ ย่างใดอย่างหน่ึง ไม่มีอคติ สรุปได้ว่า การวเิ คราะหเ์ ป็นการจาแนก แยกแยะออกเป็นสว่ น ทาให้เกดิ ความเข้าใจชัดเจนใน แต่ละส่วน และเข้าใจวา่ แต่ละส่วนสัมพันธ์กันอย่างไร สาหรับการวิจารณ์เป็นการตัดสิน การพิจารณา ลักษณะงานเขียน และการประเมินคุณค่างานเขียนอย่างมีหลักเกณฑ์ ใช้ความรู้ มีเหตุผล มี ความรอบคอบ และไมม่ อี คติ ทม่ี า : นิภาพร นุเสน (๒๕๔๖) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (๒๕๕๒) สวุ ิทย์ มลู คา และคณะ (๒๕๕๔) ศภุ ลักษณ์ เกตะราช (๒๕๕๕) เกรยี งศกั ด์ิ เจรญิ วงศ์ศักดิ์ (๒๕๕๕)

๕ กจิ กรรม ๑.๑ บอกความหมายของการวิเคราะหแ์ ละการวิจารณ์ (๒ คะแนน) การวเิ คราะห์ หมายถึง (๑ คะแนน) ตอบ........................................................................................................... ............................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ .................................................... ............................................................................................................................. ................................... การวิจารณ์ หมายถึง (๑ คะแนน) ตอบ........................................................................................................... ............................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

๖ กรอบที่ ๑.๒ ควำมสำคัญกำรวเิ ครำะห์ การวิเคราะห์เป็นรากฐานสาคัญของการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต การคิดวิเคราะห์เป็น พ้ืนฐานของการคิดทั้งมวล บุคคลท่ีมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์จะมีความสามารถในด้านอื่น ๆ เหนือกวา่ บุคคลท่ัวไป ทั้งทางด้านสติปัญญา และการดาเนินชีวิต เป็นทกั ษะท่ีทุกคนสามารถพัฒนาได้ การคิดวเิ คราะห์ จงึ มีความสาคัญท่ีจะทาให้ผูเ้ รยี นเปน็ ผทู้ ีม่ คี วามสามารถในการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์เปน็ สิ่งจาเป็นท่ีต้องสรา้ งเสริมให้เกิดเป็นทักษะหน่ึงของชีวิต เพื่อคนเราจะได้ ใช้ชีวิตอย่างมีความเข้าใจและเข้าถึงวิถีแห่งคุณค่า ทั้งสามารถป้องกันปัญหาและแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ความสาคัญและประโยชน์ของการคิดวิเคราะห์ เพราะการคิดเป็นกระบวนการทางสมองของ ผู้เรียนเป็นกระบวนการเรียนรู้ ถ้าผู้เรียนได้มีวิธีคิดอย่างเป็นระบบที่มีความใคร่ครวญ ไตร่ตรอง แยกแยะ แจกแจงเป็นส่วน จะทาให้ผู้เรียนได้พิจารณาสารจากการฟัง หรือการอ่านประเมินค่าแล้ว สรุปเลือกเฟ้นการนาไปสู่ การตัดสินใจแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสมเป็นพื้นฐานท่สี าคัญท่ีจะ ทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และถ่ายทอดองค์ความรู้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วยการพูด การเขียนสู่ การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ดารงตนอยู่ได้อย่างมีความสุขตามจุดมุ่งหมายของ การพฒั นาประเทศในทสี่ ุด สรุปได้ว่า การคิดวิเคราะห์มีความสาคัญในการเรียนรู้ และการดาเนินชีวิต เป็นพ้ืนฐานของ การคิดทั้งหมด สามารถช่วยในการตัดสินใจ คิดพิจารณาในการป้องกันปัญหาและแก้ปัญหาได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทม่ี า : สวุ ัฒน์ ววิ ัฒนานนท์ (๒๕๕๑) ศวิ กานท์ ปทมุ สูติ (๒๕๕๓) ประพนั ธ์ศริ ิ สเุ สารจั (๒๕๕๖) กจิ กรรม ๑.๒ บอความสาคัญของการวเิ คราะห์ (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................................ ........ .......................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

๗ กรอบที่ ๑.๓ องค์ประกอบกำรวเิ ครำะห์ ๑. ควำมสำมำรถในกำรตีควำม การคิดวิเคราะห์ส่ิงต่าง ๆ ได้ เกิดจากการทาความเข้าใจกับข้อมูลท่ีปรากฏ เร่ิมต้นจาก เราจาเป็นต้องพิจารณาข้อมูลท่ีได้รับเพื่อให้เกิดความเข้าใจด้วยการตีความ โดยการตีความเป็น การพยายามทาความเข้าใจและให้เหตุผลแก่สิ่งท่ีเราต้องการจะวิเคราะห์ เพ่ือแปลความหมาย ท่ีไม่ปรากฏโดยตรง เป็นข้อมูลที่ซ่อนแฝงอยู่ กล่าวคือ ตัวข้อมูลไม่ได้บอกโดยตรงแต่จะต้องทา ความเข้าใจที่มากเกินกว่าสิ่งที่ปรากฏในข้อมูล ในการตีความของแต่ละคนนั้น จะแตกต่างกันไป ตามความรู้ ประสบการณ์ ภมู หิ ลัง และค่านิยมของแตล่ ะบุคคล ๒. ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจในเรือ่ งท่จี ะวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ความรู้เป็นปัจจยั สาคญั มากตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการคิดวิเคราะห์ การที่จะคดิ วิเคราะหไ์ ด้ดี น้ัน จาเป็นต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจพ้ืนฐานในเรอื่ งนน้ั เพราะความรู้จะช่วยในการกาหนดขอบเขตของ การวิเคราะห์ แจกแจงและจาแนกได้ว่าเร่ืองนั้นเก่ียวข้องกับอะไร มีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง มีก่ีหมวดหมู่ จัดลาดับความสาคัญอย่างไร มีเร่ืองใดเกี่ยวข้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และรู้ว่าอะไรเป็น สาเหตุกอ่ ให้เกิดอะไร ๓. ช่ำงมอง ช่ำงสงั เกต ชำ่ งสงสยั และชำ่ งถำม นักคิดเชิงวิเคราะห์จะต้องมีองค์ประกอบทั้งสามนี้ร่วมด้วย คือ ต้องเป็นคนที่ช่างมอง และสังเกต สามารถค้นพบความผิดปกติท่ีซ่อนอยู่ท่ามกลางสิ่งที่ดู อย่างผิวเผินแล้วเหมือนไม่มีอะไร ผิดปกติเกิดข้ึน ต้องเป็นคนทช่ี ่างสงสัย เมื่อเหน็ ความผิดปกติแล้วไมล่ ะเลยไป แต่หยุดพิจารณา ขบคิด ไตร่ตรอง และต้องการสืบสาวราวเร่ืองเพ่ือหาคาตอบ และต้องเป็นคนช่างถาม ชอบตั้งคาถามกับ ตัวเองและคนรอบ ๆ ข้างเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดข้ึน เพ่ือนาไปสู่การคิดเก่ียวกับเร่ืองน้ันต่อไป การต้ังคาถาม จะนาไปสู่การสืบค้นความจริงและเกิดความชัดเจนในประเด็นท่ีต้องการวิเคราะห์ ขอบเขตคาถามที่ เก่ียวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์ จะยึดหลักการตั้งคาถามโดยใช้หลัก ๕ W ๑ H คือ ใคร (Who) ทาอะไร (What) ท่ีไหน (Where) เม่ือไหร่ (When) เพราะเหตุใด เพราะอะไร (Why) อย่างไร (How) คาถามเหล่าน้ีอาจไม่จาเป็นต้องใช้ทุกข้อ เพราะการต้ังคาถามมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจน ครอบคลมุ และตรงประเดน็ ท่ีเราตอ้ งการสืบค้นจึงตอ้ งเลอื กใชค้ าถามให้ตรงประเดน็ ๔. ควำมสำมำรถในกำรหำควำมเช่อื มโยง ควำมสัมพนั ธเ์ ชิงเหตผุ ล นักคิดวิเคราะห์จะต้องมีความสามารถในการหาความเชื่อมโยง สัมพันธ์เชิงเหตุผล สามารถค้นหาคาตอบได้ว่าส่ิงท่ีคิดมีความเก่ียวกับเรื่องใด และเก่ียวข้องอย่างไร เช่น ... สาเหตุที่ ก่อให้เกิดเหตุการณ์น้ี .... อะไรเป็นสาเหตุให้เกิดสิ่งนี้ .... เร่ืองน้ันเชื่อมโยงกับเรื่องน้ีได้อย่างไร .... เรือ่ งนมี้ ใี ครเก่ียวขอ้ งบา้ ง เกยี่ วขอ้ งกันอย่างไร ... เมือ่ เกิดเร่ืองนี้ จะส่งผลกระทบอยา่ งไรบา้ ง

๘ เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (๒๕๔๖) ได้อธิบายถึงองค์ประกอบการคิดวเิ คราะห์มี ๔ ประการ คือ ๑. ความสามารถในการตีความ เราไม่สามารถวิเคราะห์ส่ิงต่าง ๆ ได้ หากไม่เริ่มต้นด้วยการ ทาความเข้าใจข้อมูลที่ปรากฏ เริ่มแรกเราจึงต้องพิจารณาข้อมูลที่ได้รับว่าอะไรเป็นอะไรด้วยการ ตคี วาม การตคี วาม หมายถึงการพยายามทาความเข้าใจ และให้เหตผุ ลแก่สง่ิ ที่เราตอ้ งการจะวเิ คราะห์ เพ่ือแปลความหมายที่ไม่ปรากฏโดยตรงของส่ิงน้ัน เป็นการสร้างความเข้าใจต่อส่ิงที่ต้องการวิเคราะห์ โดยส่ิงนั้นไม่ได้ปรากฏโดยตรง คือ ตัวข้อมูลไม่ได้บอกโดยตรง แต่เป็นการสร้างความเข้าใจที่เกินกว่า สง่ิ ท่ีปรากฏ อนั เป็นการสร้างความเข้าใจบนพื้นฐานของส่ิงที่ปรากฏในข้อมูลท่ีนามาวิเคราะห์ เกณฑ์ที่ แต่ละคนใช้เป็นมาตรฐานในการตัดสิน หรือเป็นไม้เมตรท่ีแต่ละคนสร้างข้ึนในการตีความน้ัน ย่อม แตกตา่ งกันไปตามความรู้ ประสบการณ์ และค่านิยมของแตล่ ะบุคคล ๒. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องท่ีจะวิเคราะห์ เราจะคิดวิเคราะห์ได้ดีน้ันจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องนั้น เพราะความรจู้ ะช่วยในการกาหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ แจกแจง และจาแนกได้ว่าเรื่องน้ันเก่ียวข้องกับอะไร มีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง มีก่ีหมวดหมู่ จัดลาดับ ความสาคัญอย่างไร และรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอะไร การวิเคราะห์ของเราในเรื่องน้ันจะไม่ สมเหตสุ มผลเลยหากเราไม่มคี วามรคู้ วามเข้าใจเรือ่ งน้ัน ๓. ความช่างสังเกต ช่างสงสยั และชา่ งถาม นักคิดเชิงวิเคราะห์ จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบทั้งสาม นี้ร่วมด้วย คือ ต้องเป็นคนช่างสังเกต สามารถค้นพบความผิดปกติท่ามกลางส่ิงท่ีดูอย่างผิวเผินแล้ว เหมือนไม่มีอะไรเกิดข้ึน ต้องเป็นคนที่ช่างสงสัย เม่ือเห็นความผิดปกติไม่ละเลยไป แต่หยุดพิจารณา ขบคิดไตร่ตรอง และต้องเป็นคนช่างถาม ชอบต้ังคาถามกับตัวเองและคนรอบ ๆ ข้างเกี่ยวกับสิ่งที่ เกิดข้ึน เพื่อนาไปสู่การคิดต่อเก่ียวกับเร่ืองน้ัน การตั้งคาถามจะนาไปสู่การสืบค้นความจริงและเกิด ความชัดเจนในประเด็นท่ีต้องการวิเคราะห์ สาหรับขอบเขตคาถามที่เก่ียวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์ จะยึดหลักการตั้งคาถามโดยใช้หลัก ๕ W ๑ H คือ ใคร (Who) ทาอะไร (What) ที่ไหน (Where) เมื่อไร (When) ทาไม (Why) และอย่างไร (How) คาถามเหล่าน้อี าจไม่จาเปน็ ต้องใชท้ ุกข้อ เพราะการ ตั้งคาถามมีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหเ้ กิดความชดั เจน ครอบคลมุ และตรงประเด็นทีเ่ ราต้องการสืบค้น ๔. ความสามารถในการหาความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผล นักคดิ เชิงวเิ คราะห์จะต้องมีความสามารถ ในการหาความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผล สรุปได้ว่า องค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจเร่ืองท่ีจะวิเคราะห์ ความสามารถในการตีความ แปลความ การเป็นคนช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างถาม และการหา ความสัมพันธ์เชงิ เหตุผล ท่มี า : ลกั ขณา สริวัฒน์ (๒๕๔๙) ประพันธศ์ ิริ สเุ สารัจ (๒๕๕๖)

๙ กิจกรรม ๑.๓ บอกองค์ประกอบของการวเิ คราะห์ (๔ คะแนน) ๑. ความสามารถในการตีความ (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ๒. ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองท่จี ะวิเคราะห์ข้อมูล (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ๓. ชา่ งมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และชา่ งถาม (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ๔. ความสามารถในการหาความเช่ือมโยง ความสมั พันธ์เชิงเหตุผล (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

๑๐ กรอบที่ ๑.๔ กระบวนกำรวจิ ำรณ์ เม่ือจะวิจารณ์ส่ิงใดจะต้องผ่านข้ันตอนและกระบวนการของการวิเคราะห์สาร วินิจสาร และ ประเมนิ ค่าสาร ให้ชดั เจนเสยี ก่อนแลว้ จงึ วจิ ารณ์แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุมผี ล การอ่านเพ่ือวิเคราะห์และประเมินค่าสาร หมายถึง การท่ีผู้อ่านสามารถอ่ านสาร อย่างใคร่ครวญ ไตร่ตรองและพินิจพิจารณา สามารถแยกรายละเอียดและส่วนประกอบของงานเขียน นั้น เพ่ือนาไปสู่การตัดสินใจว่างานเขียนน้ันดีหรือไม่ อย่างไร จนกระท่ังสามารถนาความคิดความรู้ที่ ได้ไปใชป้ ระโยชน์ได้ วินิจสาร คือ การพิจารณาด้วยความเอาใจใส่ เพือ่ ให้ไดป้ ระโยชน์ตรงตามวัตถุประสงค์ของ ผู้พนิ จิ การวิเคราะหส์ ารมีข้ันตอนดงั นี้ ๑. พิจารณารูปแบบของการประพันธ์ว่าเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง นิทาน นิยาย สารคดี เร่อื งส้ัน หรือบทความต่าง ๆ ๒. แยกเน้ือเรื่องออกเป็นตอน ๆ ให้ชัดเจนว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ เพราะเหตุใด อย่างไร ๓. พจิ ารณาส่วนประกอบแต่ละส่วนอยา่ งละเอียด ๔. พิจารณากลวิธใี นการนาเสนอ การวนิ ิจสารมีข้นั ตอนดังนี้ ๑. สารวจเน้ือความว่าตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ความรู้ ความคิดเห็น และแสดงออกถึง อารมณห์ รือความรสู้ ึก ๒. สารวจเจตนารมณ์ผู้เขียนจากเน้ือความว่า ผู้เขียนมีเจตนาอย่างไรและให้ข้อคิดเห็น อยา่ งไร ๓. พจิ ารณาสารทสี่ าคัญทส่ี ุดและสารท่สี าคญั รองลงไป กระบวนการอ่านเพอ่ื วิจารณ์มีลาดับขั้นดงั ต่อไปนี้ ๑. การวิเคราะห์และวินิจสาร การอ่านวิเคราะห์และวนิ ิจสารเป็นหัวใจสาคญั ทีจ่ ะนาไปสู่การ อ่านเพ่ือวิจารณ์ การวิเคราะห์และวินิจสารเป็นกระบวนการท่ีเกิดขึ้นในสมองของผู้อ่านอย่างรวดเร็ว ผู้อ่านมักไม่รู้ตัว วิเคราะห์หรือวินิจสารก่อน แต่ในทางหลักวิชาพอจะแยกกระบวนการอ่านวิเคราะห์ และวินจิ สารออกจากกันได้ การวเิ คราะหง์ านเขียนเรมิ่ จากการพิจารณารูปแบบแล้วพจิ ารณาเน้ือเรื่อง เพื่อดูว่ากลมกลืนกับรูปแบบหรือไม่ ต่อไปจึงพิจารณากลวิธีในการเสนอเร่ือง และการดาเนินเร่ือง ตลอดจนพิจารณาสานวนภาษาทผี่ ้เู ขียนใชใ้ นการประพันธ์ โดยพิจารณาว่าผ้เู ขยี นใชภ้ าษาได้เหมาะสม กับระดับ และประเภทของงานเขียนหรือไม่ ส่วนการวินิจสารหรือการตีความจะเร่ิมต้นด้วยการอ่าน ทบทวน เพื่อสารวจว่าเนื้อความตอนใดเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ ตอนใดเป็นข้อคิดเห็น ตอนใด แสดงออกถึงอารมณ์หรือความรู้สึก พิจารณาดูว่าความรู้ ความคิดเห็น อารมณ์หรือความรู้สึกน้ัน ผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร ให้แง่คิดอะไร ผู้เขียนต้องการส่งสารใดมายังผู้อ่าน จากนั้นพิจารณาสารที่ สาคญั ท่สี ดุ ของเรอื่ งนนั้ ๆ ว่าคืออะไร และสารทสี่ าคัญรองลงไปคืออะไร

๑๑ การอ่านวเิ คราะห์และวินิจสาร ข้นั แรกต้องอ่านเน้อื เรื่องให้ละเอียดทกุ ถ้อยคา อ่านอยา่ งพินิจ พิเคราะห์ ไม่มองข้ามความสาคัญของส่วนใด ๆ เลยแม้แต่คาเดียวก็ไม่ควรละเลย และควรอ่าน ตามลาดบั เพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจควรอ่านซา้ หลาย ๆ ครั้ง เพื่อพิจารณารายละเอียดใหช้ ัดเจนอ่านแล้ว ต้องจับเนื้อความให้ได้ครบถ้วน และแยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นเนื้อความสาคัญ ส่วนใดเป็นเนื้อความ รอง ขั้นต่อไปคืออ่านเอารส โดยลองวิเคราะห์ว่าอ่านแล้วมีเสียงหรือท่วงทานองจังหวะอย่างไร ต่อไป จึงวเิ คราะห์ใหเ้ ห็นภาพ จะทาให้ผอู้ ่านมอี ารมณ์รว่ มตามเรื่องจะช่วยใหเ้ ข้าใจเรอื่ งไดล้ ึกซงึ้ ขึน้ ๒. การประเมินค่า เมื่อวเิ คราะห์และวนิ ิจสารแล้ว ข้ันต่อไปเป็นการประเมินค่างานเขยี นหรือ การแสดงทรรศนะเชิงวิพากษ์ การประเมินค่าของงานเขียนต้องอาศัยเหตุผลในการวินิจฉัยจากข้อมูล และเหตุการณ์แวดล้อมหลายด้านมาพิจารณา และตัดสินลงไปว่างานเขียนน้ันดีหรือไม่ มีคุณค่าหรือ เป็นโทษอย่างไร ด้วยการช้ีแจงเหตุผลประกอบการวินิจฉัยได้อย่างแจ่มแจ้ง การประเมินค่างานเขียน สามารถแสดงได้ ๒ ลักษณะ คอื ๒.๑ การประเมินค่าโดยทั่วไป เป็นการแสดงทรรศนะท่ีไม่มีการตัดสินหรือวิพากษ์คุณค่า ของงานเขียนนั้นชัดเจนนกั ผู้วจิ ารณอ์ าจใช้วธิ ีตั้งข้อสังเกตหรือข้อคิดขึน้ มาเป็นการแสดงทรรศนะของ ผู้วจิ ารณ์ร่วมกับผู้เขียน แต่ในขณะเดียวกันการตั้งข้อสังเกตหรือข้อคิดของผู้วิจารณ์ก็จะมีน้าเสียงของ การติหรือชมอยู่ด้วยเสมอ ๒.๒ การประเมินค่าโดยตรง เป็นการแสดงทรรศนะเชิงวิพากษ์ที่ผู้วจิ ารณ์จะต้องมีเหตุผล ชดั เจนที่จะตัดสนิ งานเขยี นท่ีวิจารณว์ ่าดี ไมด่ อี ยา่ งไร ตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไขสว่ นไหน การวิจารณ์งานเขียนแต่ละเร่ือง ผู้วิจารณ์มักจะประเมินค่าท้ัง ๒ ลักษณะ ผู้วิจารณ์จะรู้ด้วย ตนเองวา่ ตอนใดคือการประเมินค่าโดยท่ัวไป และตอนใดถงึ การประเมนิ คา่ โดยตรง ขอ้ สาคัญกค็ ือไมว่ ่า จะประเมนิ คา่ ในลักษณะใดกต็ ้องมเี หตุผลและหลกั ฐานมาประกอบเสมอ สรุปได้ว่า กระบวนการวิจารณ์เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์และวินิจสาร ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญท่ีจะ นาไปสู่การอา่ นเพ่ือวิจารณ์ ต่อจากน้ันจงึ เป็นการประเมินคา่ โดยอาศัยเหตผุ ลในการวินจิ ฉัยจากข้อมูล และเหตุการณ์แวดล้อมหลายด้านมาพิจารณา และตัดสินลงไปว่างานเขียนน้ันดีหรือไม่ มีคุณค่าหรือ เป็นโทษอย่างไร ทั้งนี้การวิเคราะห์สารจะพิจารณารูปแบบของการเขียน แยกเน้ือเรื่องให้ชัดเจนว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ เพราะเหตุใดอย่างไร และพิจารณาส่วนประกอบ รวมท้ังกลวิธีการ นาเสนอ ส่วนการวินิจสารจะเริ่มต้นจากการสารวจว่าเน้ือความตอนใดเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ ความคิดเห็น และแสดงออกถึงอารมณ์หรือความรู้สึก พิจารณาดูว่าผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร ให้แง่คิด อะไร จากนนั้ พิจารณาสารที่สาคัญทส่ี ดุ และสารที่สาคัญรองลงไป ที่มา : นิภาพร นเุ สน (๒๕๔๖) วนั ชยั แย้มจันทรฉ์ าย (๒๕๕๕)

๑๒ กจิ กรรม ๑.๔ ๑. กระบวนการวจิ ารณ์ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ............................................ ............................................................................................................................. ................................... ๒. ขั้นตอนการวิเคราะหส์ ารมีอะไรบา้ ง (๑ คะแนน) ตอบ ........................................................................................................................... ............... ................................................................................................................... ............................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ๓. ขน้ั ตอนการวนิ จิ สารมอี ะไรบ้าง (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

๑๓ กิจกรรม ๒ เรอ่ื ง กำรวเิ ครำะห์และวิจำรณ์ คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องทสี่ ดุ เพยี งข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ ๑. ข้อใดอธิบายความหมายการวิเคราะห์ได้ถกู ต้องที่สดุ ก. การพจิ ารณาเพื่อทาความเข้าใจแต่ละสว่ นให้แจม่ แจ้งว่าแต่ละส่วนสัมพนั ธ์กนั อยา่ งไร ข. การใคร่ครวญโดยใชเ้ หตุผลแยกส่งิ ใดส่งิ หนง่ึ เพอ่ื ทาความเขา้ ใจ และเหน็ ความสมั พนั ธ์ ค. การตดั สนิ สิง่ ทก่ี าลังพิจารณาแยกเป็นสว่ น ๆ เพ่ือทาความเขา้ ใจ และเหน็ ความสมั พันธ์ ง. การพิจารณาแยกสง่ิ ใดสง่ิ หน่งึ เพื่อทาความเขา้ ใจ และเห็นความสมั พนั ธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ๒. การวจิ ารณม์ คี วามหมายตรงกบั ข้อใด ก. การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตผุ ล ข. การตดั สินส่ิงทก่ี าลงั พจิ ารณาอย่างรอบคอบ ค. การพจิ ารณาเทคนิคทแ่ี สดงออกมาโดยใช้ความรู้ มีเหตมุ ีผล มีหลกั เกณฑ์และมี ความรอบคอบ ง. การพิจารณากลวิธีทแ่ี สดงออกมาใหเ้ ห็นว่านา่ สนใจ นา่ คดิ นา่ ติดตาม น่าทว้ งตงิ อย่างไร มอี งค์ประกอบใดบกพร่องอย่างไร อยา่ งชัดเจน ๓. ข้อใดไมใ่ ช่เปน็ ความสาคัญของการวเิ คราะห์ ก. มีความสาคญั ต่อสังคม ช. มีความสาคญั ต่อการเรยี นรู้ ค. เปน็ พืน้ ฐานของการคิดท้ังหมด ง. มคี วามสาคัญต่อการดาเนินชีวติ ๔. ข้อใดกลา่ วถงึ องคป์ ระกอบการวิเคราะห์ไดถ้ ูกต้องท่สี ุด ก. ช่างสงั เกต ชา่ งสงสยั ชา่ งถาม ข. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม ค. ความสามารถในการตีความ เขา้ ใจเร่ืองทจ่ี ะวเิ คราะห์ ช่างถาม ง. ความสามารถตีความ เขา้ ใจเร่อื งทจี่ ะวเิ คราะห์ ชา่ งมอง สงสยั สงั เกต ช่างถาม ความสามารถหาความเช่อื มโยง

๑๔ ๕. ข้อใดกล่าวถึงความสามารถในการตีความ ก. มีความร้คู วามเข้าใจในเรื่องน้นั ข. การทาความเข้าใจกบั ข้อมูลท่ปี รากฏ ค. สามารถคน้ หาคาตอบไดว้ า่ สิ่งท่คี ิดมีความเก่ียวกับเร่อื งใด ง. สามารถคน้ พบความผิดปกติท่ีซ่อนอยู่ท่ามกลางสิง่ ทดี่ ูอย่างผวิ เผนิ แลว้ เหมอื นไม่มอี ะไร ๖. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเก่ยี วกบั องคป์ ระกอบช่างมอง ชา่ งสังเกต ชา่ งสงสยั ชา่ งถาม ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไร เพราะอะไรหรือเพราะเหตใุ ด อย่างไร ข. ความรคู้ วามเข้าใจพืน้ ฐานเพ่อื ช่วยในการกาหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ ค. ความสามารถค้นหาคาตอบไดว้ า่ ส่ิงทค่ี ิดมคี วามเกยี่ วกับเร่อื งใด และเกย่ี วข้องอย่างไร ง. การพยายามทาความเข้าใจและให้เหตผุ ลแกส่ ง่ิ ทีเ่ ราต้องการจะวิเคราะห์ เพ่ือ แปลความหมาย ๗. ขอ้ ใดไม่ใช่กระบวนการวิจารณ์ ก. วินิจสาร ข. ไตร่ตรอง ข. วเิ คราะหส์ าร ค. การประเมินคา่ สาร ๘. “การท่ีผ้อู า่ นสามารถอ่านสารอยา่ งใคร่ครวญ ไตร่ตรอง และพนิ จิ พิจารณา แยกรายละเอียดและ ส่วนประกอบของงานเขยี นได้” เปน็ ความหมายของอะไร ก. วนิ จิ สาร ข. วเิ คราะห์สาร ค. การประเมินคา่ สาร ง. ถกู ทัง้ ข้อ ข และ ข้อ ค ๙. “ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ เพราะเหตใุ ด อยา่ งไร” เป็นข้นั ตอนใดของการวเิ คราะห์สาร ก. พิจารณากลวธิ กี ารนาเสนอ ข. พจิ ารณารูปแบบของการประพันธ์ ค. แยกเนอื้ เรื่องออกเปน็ ตอน ๆ ให้ชดั เจน ง. พจิ ารณาส่วนประกอบแตล่ ะสว่ นอย่างละเอยี ด ๑๐. ขอ้ ใดไม่ใช่ข้ันตอนการวินจิ สาร ก. พิจารณากลวธิ กี ารนาเสนอ ข. พิจารณาสารท่ีสาคัญทส่ี ดุ และสารทส่ี าคัญรองลงไป ค. สารวจเจตนารมณผ์ ูเ้ ขียนจากเน้ือความวา่ มีเจตนาอย่างไร และให้ข้อคดิ เหน็ อยา่ งไร ง. สารวจเนอื้ ความว่าตอนใดเปน็ ขอ้ เทจ็ จริง ความรู้ ความคิดเหน็ และแสดงออกถึงอารมณ์ หรือความรสู้ ึก

๑๕ ใบควำมรู้ที่ ๒ เร่อื ง อำ่ นวเิ ครำะห์และวิจำรณ์ “ผลกระทบกำรใช้ปุ๋ยและสำรเคมีกำรเกษตร” ขอ้ มูลปี ๒๕๔๙ พบว่า ประเทศไทยมีการนาเข้าปยุ๋ และสารเคมีการเกษตร ๓.๖ ล้านตัน เมื่อเข้าส่แู ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ มกี ารกาหนด เปา้ หมายท่จี ะลดการนาเข้าปุ๋ยและสารเคมีการเกษตรให้ไม่เกนิ ปีละ ๓.๕ ลา้ นตนั แตก่ ลับปรากฏว่า ในปแี รกของแผนพัฒนาฯ ในปี ๒๕๕๔ มกี ารนาเข้าปุ๋ยและสารเคมีการเกษตรรวม ๖.๓ ลา้ นตัน คดิ เปน็ มลู คา่ ๙๓,๘๔๔ ลา้ นบาท นอกจากไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายแล้วยงั เกดิ ผลตรงขา้ ม ขอ้ มูลสานักควบคุมโรคจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดลอ้ มปี ๒๕๕๔ จากการตรวจเลอื ด เกษตรกร ๕๓๓,๕๒๔ คน ใน ๗๔ จังหวัด พบว่า อยู่ในระดบั เสยี่ งและไมป่ ลอดภัยร้อยละ ๓๒ และ สรปุ รายงานการเฝ้าระวงั โรคจากสานักระบาดวิทยาฯ มีผู้ปว่ ยไดร้ ับสารพิษจากสารเคมีป้องกนั กาจดั แมลงศัตรูพชื ระหวา่ งปี ๒๕๔๕ – ๒๕๕๔ เฉลี่ยปลี ะ ๑,๘๔๐ ราย และในปี ๒๕๕๔ มผี ู้ป่วยได้รบั สารพิษจากสารป้องกันกาจดั ศตั รพู ชื จากการทางานและสิ่งแวดล้อม (ไมร่ วมสาเหตกุ ารฆ่าตัวตาย) จานวน ๒,๐๔๖ ราย มีผู้เสียชวี ิต ๒ ราย ผู้ป่วยสว่ นใหญ่มอี าชีพทาเกษตรกรรมร้อยละ ๔๑.๐๖ ซึ่งการ ใช้สารเคมีทางการเกษตรนอกจากเป็นต้นทุนทางการเกษตรแล้วยงั มตี ้นทุนดา้ นสาธารณสุขที่ตามมา ภายหลัง ท้ังด้านผ้ผู ลิตและผูบ้ ริโภค รฐั บาลตอ้ งใช้งบประมาณในการดูแลจัดการผลกระทบที่เกดิ ขึ้น ทง้ั ดา้ นสุขภาพอนามัยและสง่ิ แวดลอ้ ม แลว้ ยงั สูญเสียภาษีท่ีควรจะไดร้ บั จากการเติบโตของ อตุ สาหกรรมสารเคมีน้ี อีกด้วย ท่ีมำ : หนังสอื พิมพ์โพสตท์ เู ดย์ โดย พลเดช ปิ่นประทปี ประธานสถาบันชมุ ชนท้องถน่ิ พัฒนา

๑๖ จากข้อมูลเรอ่ื ง “ผลกระทบการใช้ป๋ยุ และสารเคมีการเกษตร” สามารถตอบคาถามด้าน การวิเคราะห์ได้ดังนี้ ๑. หนว่ ยงานใดเปน็ ผใู้ ห้ขอ้ มูลรายงานการตรวจเลอื ดเกษตรกร ตอบ สานักงานระบาดวทิ ยา ๒. ผู้ป่วยท่ไี ด้รับสารเคมีป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพชื ระหว่างปี ๒๕๔๕ – ๒๕๕๔ สว่ นใหญป่ ระกอบ อาชีพอะไร (๑ คะแนน) ตอบ ประกอบอาชพี เกษตรกร ๓. สถานการณ์ในข้อความนี้ เป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นท่ีไหน ตอบ ประเทศไทย ๔. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงสูญเสยี งบประมาณมากมายทเี่ กี่ยวข้องกบั สารเคมีดา้ นการเกษตร ตอบ เน่ืองจากจะตอ้ งมตี น้ ทนุ ด้านสาธารณสุขในการดแู ลรกั ษาผ้ปู ่วยจากการใชส้ ารเคมี และ งบประมาณในการดแู ลผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กิดข้ึนจากการใชส้ ารเคมี ดา้ นสขุ ภาพอนามยั และ สงิ่ แวดลอ้ ม และเสียภาษีทีจ่ ะได้รับจากการเตบิ โตของอตุ สาหกรรมสารเคมีดว้ ย ๕. ประเทศไทยมีการนาเข้าปุ๋ยและสารเคมีทางการเกษตรรวม 6.3 ล้านตันเมอ่ื ไหร่ (๑ คะแนน) ตอบ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔

๑๗ จากข้อมลู เรอ่ื ง “ผลกระทบการใช้ปุ๋ยและสารเคมีการเกษตร” สามารถตอบคาถามดา้ น การวจิ ารณ์ได้ดังนี้ ๑. จุดม่งุ หมายของผู้เขียนคืออะไร ตอบ ให้รจู้ ักระมดั ระวงั และป้องกันการใชส้ ารเคมจี ากการเกษตร เพื่อไมใ่ ห้เกิดอนั ตรายตอ่ รา่ งกาย และสิง่ แวดล้อม เป็นการลดต้นทนุ ของรัฐบาลในการดูแลรักษาดา้ นสาธารณสุขและ สิง่ แวดล้อม ๒. จงแสดงขอ้ มลู ทเ่ี ป็นขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ มูลแสดงความคดิ เหน็ ตอบ ข้อมูลทเ่ี ปน็ ข้อเท็จจริง คือ มีผูป้ ่วยได้รบั สารพษิ จากสารเคมีป้องกันกาจดั แมลงศตั รูพชื ระหว่างปี ๒๕๔๕ – ๒๕๕๔ เฉลย่ี ปลี ะ ๑,๘๔๐ ราย และในปี ๒๕๕๔ มีผู้ปว่ ยไดร้ บั สารพิษจาก สารปอ้ งกันกาจดั ศัตรูพืชจากการทางานและสงิ่ แวดล้อม (ไม่รวมสาเหตุการฆ่าตวั ตาย) จานวน ๒,๐๔๖ ราย มีผเู้ สยี ชีวติ ๒ ราย ผูป้ ่วยส่วนใหญม่ อี าชีพทาเกษตรกรรมร้อยละ ๔๑.๐๖ ข้อมูลท่เี ปน็ การแสดงความคดิ เหน็ คือ การใชส้ ารเคมีทางการเกษตรนอกจากเปน็ ต้นทนุ ทางการเกษตรแล้วยังมี ต้นทุนดา้ นสาธารณสขุ ที่ตามมาภายหลงั ท้ังดา้ นผ้ผู ลิตและผบู้ ริโภค รัฐบาลตอ้ งใช้งบประมาณในการ ดูแลจัดการผลกระทบทเี่ กิดข้ึน ทั้งดา้ นสุขภาพอนามยั และส่งิ แวดล้อม แลว้ ยังสูญเสยี ภาษีทคี่ วรจะ ได้รับจากการเตบิ โตของอุตสาหกรรมสารเคมนี ี้อีกดว้ ย ๓. ข้อคิดที่ได้คืออะไร ตอบ การใช้สารเคมดี า้ นการเกษตร หากหลกี เลยี่ งไม่ได้ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง และ ป้องกันตนเอง ใช้ให้ถกู ต้องตามคาแนะนาของผ้เู ชีย่ วชาญ เพ่อื ไม่ให้รา่ งกายได้รับอันตราย แตถ่ า้ เป็นไปได้ควรใชป้ ยุ๋ หรอื น้ายาต่าง ๆ ดา้ นการเกษตรในรปู แบบชีวภาพ เพอ่ื ลดปัญหาสารเคมตี กค้าง และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม ๔. นกั เรยี นสามารถนาความรู้หรอื ขอ้ คิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั อย่างไรบ้าง ตอบ นาไปประยุกตใ์ ช้โดยใหค้ าแนะนาผูป้ กครอง พ่ีน้องเกษตรกร รจู้ กั ระมดั ระวงั ในการใช้ สารเคมดี า้ นการเกษตร และนาความร้ทู ไี่ ดจ้ ากโรงเรียนดา้ นการผลติ ปยุ๋ ชีวภาพไปใชใ้ นการปลกู พืชที่ บา้ น รวมทงั้ นาไปใช้กบั การทาไรท่ านาท่ีบา้ นดว้ ย

๑๘ กิจกรรม ๓ เร่อื ง กำรวเิ ครำะห์ คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นอา่ นเรื่อง “กวา่ จะได้รับความสาเร็จ” แล้วทากิจกรรม ๓ และ ๔ ตามลาดับ “กวำ่ จะได้รบั ควำมสำเรจ็ ” สรุ ิยเทพ ไชยมงคล : ผรู้ วบรวม ความสาเร็จนั้นประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการแสวงหาความพร้อมใน ทุก ๆ ด้าน ความขยันขันแข็ง การเรียนรู้จากความพ่ายแพ้ ความเด็ดเด่ียวแน่วแน่ และการยืนหยัดไม่ ท้อถอย ความสาเร็จเป็นผลลัพธ์ท่ีได้จากการนาปัจจัยเหล่าน้ีมาผสมผสานกัน ขาดไม่ได้แม้แต่ปัจจัย เดียว นอกจากนี้ถ้าหากมีปัจจัยใดโดดเด่นมากเกินไปก็อาจทาให้ความสาเร็จเป็นไปได้ยากข้ึน ใน บรรดาปัจจัยทั้งหลายส่ิงสาคัญท่ีสุดก็คือ การรู้จักปรับตัวกับความกล้า ขณะเดียวกันความสาเร็จก็ใช่ ว่าจะได้มาฟรี ๆ มันต้องแลกมาด้วยส่ิงอื่น แม้ความสาเร็จแค่เพียงเล็กน้อยก็ยังต้องแลกมาด้วย สิ่งต่าง ๆ มากมาย จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่ความสาเร็จอันย่ิงใหญ่นั้น ต้องแลกมาด้วยสิ่งท่ีคนท่ัวไป คาดคิดไม่ถึง ถ้าหากในโลกนี้มีสิ่งของที่สามารถเปล่ียนหินเป็นทองได้จริงก็คงจะยากลาบากมาก กว่าจะหามันมาได้ เราจึงต้องอดทนและยืนหยัดต่อไป เมื่อเราเดินผ่านอุโมงค์ยาวที่มืดมิดและ ยากลาบากแล้ว ก็จะได้พบว่าจากเดิมที่เป็นคนธรรมดาเรียบง่ายเหมือนกับเม็ดทรายน้ัน เราได้เติบโต เป็นไขม่ กุ ล้าค่าโดยไม่รตู้ ัว ทม่ี า : สรุ ยิ เทพ ไชยมงคล ผรู้ วบรวม (๒๕๕๓)

๑๙ ๑. ใครเปน็ ผ้รู วบรวม (๑ คะแนน) ตอบ ......................................................................................................................................... . ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ๒. เร่ือง “กวา่ จะได้รบั ความสาเรจ็ ” ปจั จัยทีท่ าใหป้ ระสบความสาเร็จมอี ะไรบา้ ง (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ...................................................................................... .......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ๓. เพราะเหตุใดส่ิงสาคัญทีส่ ุดของปจั จัยความสาเร็จในข้อท่ี ๒ คอื การรจู้ กั ปรับตัวกับความกลา้ ให้ เหตผุ ลพร้อมกับอธิบายให้ชดั เจน (๒ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................... ..................................................................... ๔. ผลลพั ธข์ องความสาเรจ็ ได้มาอยา่ งไร (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................... ...................................................................... ๕. ผรู้ วบรวมจัดทาขึน้ ปี พ.ศ. ใด (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................. ...................................................................

๒๐ กิจกรรม ๔ เร่อื ง กำรวิจำรณ์ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นเนอ้ื หา “กวา่ จะไดร้ ับความสาเร็จ” แล้วตอบคาถามต่อไปน้ี (๔ คะแนน) ๑. จุดมงุ่ หมายของผู้เขยี นคืออะไร (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ................................... ๒. จากขอ้ ความที่กลา่ วว่า “จากเดิมท่ีเป็นคนธรรมดาเรยี บงา่ ยเหมอื นกบั เมด็ ทรายนั้น เราได้เติบโต เปน็ ไข่มุกล้าค่าโดยไม่รตู้ วั ” นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดจึงไดเ้ ปรยี บเปรยข้อความดงั กลา่ วกบั ความสาเร็จ (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ๓. ข้อคิดท่ีไดจ้ ากเร่ือง “กวา่ จะไดร้ บั ความสาเรจ็ ” คืออะไร (๑ คะแนน) ตอบ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................ ................ ๔. นกั เรียนสามารถนาความรู้หรอื ข้อคดิ ที่ได้ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั อยา่ งไรบา้ ง (๑ คะแนน) ตอบ ..................................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

๒๑ แบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝึกทักษะชุดท่ี ๑ เร่อื ง ควำมรพู้ นื้ ฐำนกำรอำ่ นเพอ่ื วิเครำะหแ์ ละวจิ ำรณ์ คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งข้อเดยี ว โดยกาเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ ๑. ขอ้ ใดอธบิ ายความหมายการวิเคราะหไ์ ด้ถูกต้องทส่ี ดุ ก. การพจิ ารณาเพื่อทาความเข้าใจแต่ละสว่ นให้แจม่ แจ้งวา่ แต่ละส่วนสัมพันธ์กนั อย่างไร ข. การใคร่ครวญโดยใชเ้ หตุผลแยกสิ่งใดส่ิงหนง่ึ เพ่อื ทาความเขา้ ใจ และเหน็ ความสัมพันธ์ ค. การตัดสนิ สงิ่ ท่กี าลงั พิจารณาแยกเปน็ ส่วน ๆ เพ่ือทาความเข้าใจ และเห็นความสมั พันธ์ ง. การพิจารณาแยกสิ่งใดสง่ิ หนงึ่ เพ่ือทาความเขา้ ใจและเห็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสว่ นต่าง ๆ ๒. การวจิ ารณม์ ีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ข. การตดั สนิ ส่ิงทก่ี าลงั พิจารณาอยา่ งรอบคอบ ค. การพจิ ารณาเทคนิคท่แี สดงออกมาโดยใช้ความรู้ มีเหตุมีผล มหี ลักเกณฑ์และ มีความรอบคอบ ง. การพิจารณากลวธิ ีท่แี สดงออกมาใหเ้ ห็นว่าน่าสนใจ นา่ คิด น่าตดิ ตาม นา่ ท้วงติงอย่างไร มีองค์ประกอบใดบกพร่องอย่างไร อยา่ งชัดเจน ๓. ขอ้ ใดไม่ใช่ความสาคัญของการวิเคราะห์ ก. เป็นพน้ื ฐานการคิดทั้งหมด ข. เปน็ รากฐานสาคญั ของการดาเนินชวี ิต ค. เป็นพืน้ ฐานของการตีความ และแปลความ ง. ทาใหผ้ เู้ รียนเป็นผู้ทีม่ ีความสามารถในการเรียนรู้ ๔. ข้อใดกล่าวได้ถกู ต้องเกีย่ วกบั องค์ประกอบชา่ งมอง ช่างสงั เกต ชา่ งสงสัย ชา่ งถาม ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไร เพราะอะไรหรอื เพราะเหตุใด อยา่ งไร ข. ความรู้ความเข้าใจพน้ื ฐานเพ่อื ช่วยในการกาหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ ค. ความสามารถคน้ หาคาตอบไดว้ า่ ส่งิ ทค่ี ิดมคี วามเกย่ี วกับเรื่องใด และเก่ยี วข้องอย่างไร ง. การพยายามทาความเขา้ ใจและใหเ้ หตผุ ลแก่ส่งิ ที่เราต้องการจะวิเคราะห์ เพื่อแปล ความหมาย

๒๒ ๕. ขอ้ ใดไมใ่ ช่กระบวนการวจิ ารณ์ ก. วินิจสาร ข. ไตร่ตรอง ค. วิเคราะห์สาร ง. การประเมินค่าสาร อา่ นข้อความขา้ งต้นแล้วตอบคาถามขอ้ ๖ – ๗ สถำนกำรณ์ปญั หำขยะมลู ฝอย ขยะหรือมลู ฝอย หรอื ของเสยี เปน็ เหตุสาคัญประการหนง่ึ ท่ีก่อใหเ้ กดิ ปัญหาสงิ่ แวดล้อมและมี ผลตอ่ สุขภาพอนามัย มูลฝอย หรือของเสียกาลังมีปริมาณเพ่มิ มากขึ้นทุกปี เพราะสาเหตุจากการเพ่ิม ของประชากร การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ และทางอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาที่สาคัญของชุมชนซ่ึง ต้องจัดการและแก้ไขปริมาณกากของเสียและสารอันตราย ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกลู และสารพิษที่ ปนเป้ือนอยู่ในแหล่งน้า ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้างอยู่ในอาหาร ทาให้ประชาชนท่ัวไป เส่ียงต่ออันตรายจากการเป็นโรคตา่ ง ๆ เชน่ โรคมะเร็ง และโรคผดิ ปกตทิ างพนั ธุกรรม เป็นต้น ปัญหา ขยะล้นเมืองถือเป็นปัญหาสาคัญของประเทศไทย และเป็นปัญหาเรื้อรังท่ีมีมานานข้อมูลจาก กรมอนามัยพบว่า ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ประเทศไทยมีขยะเกิดข้ึนประมาณ ๔๑,๕๓๒ ตัน/วันหรือกว่า ๑๕ ล้านตัน/ปี โดยร้อยละ ๓๐ เป็นขยะที่นาไปรีไซเคิลได้ แต่กลับมีการรีไซเคิลนามาใช้ประโยชน์จริง เพียง ๑ ใน ๔ เท่าน้ัน จึงเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนควรจะช่วยกันแก้ไขก่อนจะมีปัญหาอ่ืนๆ ตามมา ดังเช่นเหตกุ ารณ์ไฟไหม้บอ่ ขยะท่ีเพง่ิ เกิดขน้ึ ที่มำ : หนงั สอื พิมพโ์ พสต์ทูเดย์ โดย พลเดช ปิ่นประทปี ประธานสถาบนั ชุมชนท้องถน่ิ พัฒนา http://www.thaihealth.or.th/Content/26357 ๖. ขอ้ มลู “สถานการณป์ ญั หาขยะมูลฝอย” ข้อใดกลา่ วถงึ ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน ก. ประชาชน, ทง้ิ ขยะ, ประเทศไทย ข. กรมอนามยั , ตรวจพบโรค, ประเทศไทย ค. กรมอนามยั , รายงานข้อมูลขยะ, ประเทศไทย ง. ประชาชน, จดั การกับกากของเสยี และสารอนั ตราย, ชุมชน

๒๓ ๗. ข้อมูล “สถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอย” ข้อใดกล่าวถงึ เมอ่ื ไหร่ อยา่ งไร ทาไม ก. ปี พ.ศ. ๒๕๕๗, ก่อให้เกดิ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มและมีผลต่อสุขภาพอนามัย, สาเหตุจากขยะ หรอื มูลฝอย หรือของเสีย ค. ปี พ.ศ. ๒๕๕๗, ชุมชนตอ้ งจัดการและแก้ไขปรมิ าณกากของเสยี และสารอันตราย, สาเหตุ จากขยะหรือมลู ฝอย หรอื ของเสยี ท่ีมปี รมิ าณมาก ข. ปี พ.ศ. ๒๕๕๗, ประชาชนทว่ั ไปเส่ยี งต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่าง ๆ เชน่ โรคมะเร็ง และโรคผิดปกตทิ างพันธุกรรม, สาเหตุจากปัญหาขยะ ง. ปี พ.ศ. ๒๕๕๗, มีขยะเกิดขึน้ ประมาณ ๔๑,๕๓๒ ตนั /วนั , สาเหตุจากการเพิ่มของ ประชากร การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และทางอุตสาหกรรม อา่ นข้อความข้างต้นแล้วตอบคาถามขอ้ ๘ – ๑๐ คดิ บวกย่อมได้บวก “คนมองโลกในแงด่ ี มักมีโอกาสดีกว่าคนอื่นเสมอ เพราะเมื่อมองทุกอย่างเป็นบวก ก็ช่วยให้มี สุขภาพจิตดี ความคิดโปร่งใส ทาอะไรก็ดูจะสบาย ๆ กว่าคนอืน่ แต่ท่ีน่าสนใจก็คือผลจากการวิจัยท่ี ชใ้ี ห้เห็นว่าคนมองโลกในแง่ดียังมีแนวโนม้ ว่าจะมอี ายุยนื ยาวกว่าคนอ่ืนได้ด้วย การวิจัยท่วี ่านั้นนากลุ่ม คนที่อายุ ๒๐ ปีข้ึนไป ๑ กลุ่มที่มีความคิดทางบวก เป็นคนอารมณ์ดี อีกกลุ่มหน่ึง ซึมเศร้า ไม่มี ความเช่ือม่ันตนเอง ในอีก ๔๐ ปีต่อมา คืออายุ ๖๐ ปีข้ึนไป ปรากฏว่าคนมองโลกในแง่ดีนั้นมีคนที่ อายุยืนยาวมากกว่ากลุ่มหลังถึง ๔๒% คนท่ีมีความคิดเชิงบวก อารมณ์มักไม่ค่อยแปรปรวน ไม่รู้สึก กระวนกระวาย ในเร่ืองจิตวิทยาบอกไว้วา่ คนท่ีมีการคิดบวกจะทาให้มีโอกาสมีสุขภาพดี และสุดท้าย ตามมาดว้ ยความสาเร็จและความสุข” (ทม่ี า : http://www.kidbuak.com/Good%20idea1.html) ๘. เจตนาของผเู้ ขียนเรื่อง “คิดบวกย่อมได้บวก” คอื อะไร ก. ตอ้ งการให้มีอายยุ ืน ข. ต้องการให้มีสุขภาพจิตดี ค. ตอ้ งการใหม้ องโลกแงด่ ี ง. ต้องการให้ประสบความสาเรจ็ และมคี วามสุข

๒๔ ๙. ขอ้ ใดกล่าวถึงลักษณะนิสัยของคนคิดบวกไดถ้ ูกต้องท่สี ดุ ก. มีเมตตา ข. ปรับความคดิ ตามผู้อน่ื ค. คนคิดบวกมสี ุขภาพจติ ดี ง. ย้ิมแย้ม แจ่มใส ไมโ่ กรธ ไม่เกลยี ด รจู้ ักให้อภัย ๑๐. สาระสาคญั ของเร่ือง “คิดบวกย่อมได้บวก” คือข้อใด ก. คนมองโลกในแงด่ ีมักมีโอกาสดกี วา่ คนอ่ืนเสมอ ข. คนทมี่ กี ารคดิ บวกจะทาให้มีโอกาสมสี ขุ ภาพดี และตามมาดว้ ยความสาเร็จและความสุข ค. ผลจากการวิจยั ที่ช้ใี หเ้ หน็ ว่าคนมองโลกในแง่ดียังมีแนวโนม้ วา่ จะมีอายยุ นื ยาวกวา่ คนอ่ืน ง. คนมองโลกในแงด่ นี ั้นมีคนทอ่ี ายยุ นื ยาวมากกวา่ คนท่ีซมึ เศรา้ ไม่มีความเชื่อมนั่ ในตนเอง ถงึ ๔๒%

๒๕ ภำคผนวก

๒๖ เฉลยกิจกรรม ๑.๑ บอกความหมายของการวิเคราะห์และการวิจารณ์ (๒ คะแนน) การวเิ คราะห์ หมายถงึ ตอบ การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาแยกสิง่ ใดสิง่ หน่งึ ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความ เข้าใจแตล่ ะสว่ นให้แจ่มแจ้ง แลว้ ทาความเข้าใจต่อไปว่า แต่ละส่วนสัมพนั ธ์เกี่ยวเนอื่ งกันอย่างไร การวจิ ารณ์ หมายถงึ ตอบ การวิจารณ์ หมายถึง การใครค่ รวญพจิ ารณา เทคนิคหรือกลวธิ ีท่ีแสดงออกมา ให้เหน็ วา่ น่าคิด นา่ สนใจ น่าติดตาม องคป์ ระกอบใดมีคุณคา่ นา่ ชมเชย หรือบกพร่องอย่างไร โดยใช้ความรู้ มเี หตุมผี ล มหี ลักเกณฑ์และมีความรอบคอบ หมำยเหตุ : ในกรณที นี่ ักเรียนตอบไม่ตรงคาถามท่ีเฉลยให้อยู่ในดุลยพินจิ ของครูผู้สอน เฉลยกจิ กรรม ๑.๒ บอกความสาคัญของการวิเคราะห์ (๑ คะแนน) ตอบ การวิเคราะห์ มคี วามสาคัญทาให้ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการเรียนรู้ มีความสามารถ ดา้ นสตปิ ญั ญาและการดาเนินชวี ิต หมำยเหตุ : ในกรณที ่ีนักเรยี นตอบไม่ตรงคาถามทเี่ ฉลยให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน

๒๗ เฉลยกจิ กรรม ๑.๓ บอกองค์ประกอบของการวิเคราะห์ (๔ คะแนน) ๑. ความสามารถในการตคี วาม (๑ คะแนน) ตอบ โดยต้องทาความเขา้ ใจในขอ้ มลู เหตุการณ์ สถานการณ์ หรอื สงิ่ ทีเ่ ราตอ้ งการ วเิ คราะห์ ซึ่งอาจมีข้อมูลบางอย่างไม่ปรากฏความชดั เจนหรือไมบ่ อกมาโดยตรงเป็นการแฝงซ่อนอยู่ การตคี วามจะขนึ้ อยกู่ ับความรู้ ประสบการณ์ ภูมหิ ลัง และค่านิยม ๒. ความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องท่จี ะวิเคราะหข์ ้อมลู (๑ คะแนน) ตอบ การวเิ คราะหจ์ าเป็นทจี่ ะต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งที่จะวิเคราะห์ ทาให้เกิด ประสิทธิภาพในการวเิ คราะห์ และความรู้จะเปน็ สง่ิ กาหนดขอบเขต การจาแนก แยกแยะ และการ หาความสมั พนั ธ์กนั ๓. ชา่ งมอง ชา่ งสังเกต ชา่ งสงสัย และช่างถาม (๑ คะแนน) ตอบ ชา่ งมอง ช่างสงั เกต ชา่ งสงสัย และชา่ งถาม เพราะบางครั้งอาจมีส่งิ ผดิ ปกติอยใู่ น ข้อมลู เหตุการณ์ หรอื สถานการณ์ หากพบส่งิ ผิดปกติควรทจ่ี ะหยุดเพ่ือพจิ ารณา ไตร่ตรอง ขบคิด และค้นหาขอ้ เท็จจริง ด้วยความสงสัย และความเปน็ คนชา่ งถาม ด้วยการตั้งคาถามให้กับตัวเองเพ่ือ การสืบเสาะหาความเปน็ จริง หรือขอ้ เท็จจรงิ ในสง่ิ ท่จี ะวิเคราะห์ ในหลักของคาถามท่ีวา่ ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไร อย่างไร และเพราะอะไร ๔. ความสามารถในการหาความเชือ่ มโยง ความสัมพันธเ์ ชิงเหตผุ ล (๑ คะแนน) ตอบ ความสามารถในการหาความเช่ือมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตผุ ล สามารถค้นหา คาตอบไดว้ า่ สิ่งท่ีคิดมคี วามเก่ียวกับเรือ่ งใด และเกยี่ วขอ้ งอยา่ งไร หมำยเหตุ : ในกรณีที่นักเรียนตอบไมต่ รงคาถามทีเ่ ฉลยให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน

๒๘ เฉลยกจิ กรรม ๑.๔ ๑. กระบวนการวจิ ารณป์ ระกอบดว้ ยอะไรบ้าง (๑ คะแนน) ตอบ กระบวนการวิจารณ์ ประกอบดว้ ย กระบวนการวเิ คราะหส์ าร วนิ จิ สาร และประเมินคา่ สาร ๒. ขั้นตอนการวิเคราะหส์ ารมีอะไรบ้าง (๑ คะแนน) ตอบ การวิเคราะหส์ ารมีขัน้ ตอน ดงั นี้ ๑) พจิ ารณารูปแบบของการประพนั ธว์ ่าเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง นทิ าน นยิ าย สารคดี เรือ่ งส้ัน หรือบทความตา่ ง ๆ ๒) แยกเน้ือเร่ืองออกเป็นตอน ๆ ให้ ชัดเจนว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมือ่ ไหร่ อย่างไร ทาไม ๓) พิจารณาสว่ นประกอบแตล่ ะส่วนอย่าง ละเอียด ๔) พจิ ารณากลวธิ ใี นการนาเสนอ ๓. ขน้ั ตอนการวนิ จิ สารมีอะไรบา้ ง (๑ คะแนน) ตอบ การวินจิ สาร มีขัน้ ตอนดังน้ี ๑) สารวจเน้ือความว่าตอนใดเปน็ ข้อเท็จจริง ความรู้ ความ คดิ เห็น และแสดงออกถงึ อารมณ์หรือความรู้สกึ ๒) สารวจเจตนารมณ์ผเู้ ขยี นจากเนือ้ ความว่า ผูเ้ ขยี น มเี จตนาอยา่ งไรและให้ข้อคดิ เห็นอย่างไร ๓) พิจารณาสารท่ีสาคญั ทสี่ ุดและสารทสี่ าคญั รองลงไป หมำยเหตุ : ในกรณีที่นักเรียนตอบไมต่ รงคาถามท่ีเฉลยให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน

๒๙ เฉลยกิจกรรม ๒ เรื่อง กำรวเิ ครำะห์และวิจำรณ์ ขอ้ ที่ คาตอบ ๑ง ๒ค ๓ก ๔ง ๕ข ๖ก ๗ข ๘ง ๙ค ๑๐ ก

๓๐ เฉลยกิจกรรม ๓ เรื่อง กำรวิเครำะห์ คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นอ่านเน้อื หาใบความรู้ ๒ “กวา่ จะได้รับความสาเรจ็ ” แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี (๖ คะแนน) ๑. ใครเปน็ ผรู้ วบรวม (๑ คะแนน) ตอบ สุรยิ เทพ ไชยมงคล ๒. เรอ่ื ง “กวา่ จะได้รบั ความสาเร็จ” ปจั จัยทที่ าใหป้ ระสบความสาเรจ็ มีอะไรบ้าง (๑ คะแนน) ตอบ ปจั จัยทท่ี าให้ประสบความสาเร็จ ไดแ้ ก่ การแสวงหาความพร้อมในทกุ ๆ ดา้ นความขยนั ขันแข็ง การเรียนรู้จากความพา่ ยแพ้ ความเดด็ เดยี่ วแนว่ แน่ และการยืนหยดั ไมท่ อ้ ถอย ๓. เพราะเหตใุ ดส่ิงสาคัญท่สี ุดของปจั จยั ความสาเร็จในข้อท่ี ๒ คือ การรูจ้ ักปรบั ตัวกับความกลา้ ใหเ้ หตผุ ลพร้อมกับอธบิ ายให้ชดั เจน (๒ คะแนน) ตอบ เพราะการปฏิบัตกิ ารทุกสง่ิ ทใ่ี หบ้ รรลเุ ป้าหมายยอ่ มมีอุปสรรค และปญั หาเกิดขน้ึ ระหว่าง การปฏิบัติ เราจงึ ตอ้ งปรบั ตัวและมีความกลา้ คือ หากเจอสถานการณ์ที่ทาใหผ้ ลทจ่ี ะปฏบิ ตั ิการ ตอ่ ไปไมเ่ ปน็ ไปตามคาดหวัง จะต้องกล้าท่จี ะเปลี่ยนแปลงการกระทาบางอย่างทน่ี อกเหนอื จาก ท่คี ิดไวห้ รือวางแผนไว้เพอ่ื ผลลัพธ์สดุ ท้ายของการปฏบิ ตั ิงานท่ีสาเรจ็ พรอ้ มกบั ปรบั ตัวใหไ้ ด้ สภาพแวดลอ้ มอน่ื ๆ ทจ่ี ะมาคุกคามหรือเปน็ อุปสรรคกับความสาเรจ็ ซงึ่ ความสาเรจ็ ได้มาจาก ความอดทน การแสวงหา ความเด็ดเด่ยี ว ความรู้จักกับความพา่ ยแพ้ และการไม่ท้อถอย โดยความสาเร็จจาเปน็ ตอ้ งใช้เวลาจะมากจะน้อยขน้ึ อยู่กบั ความยากง่ายของการปฏิบัติ และสภาพแวดลอ้ มด้วย ดังน้ันเราจะต้องร้จู กั ปรับตัวเราเอง และมคี วามกล้าท่จี ะเผชญิ และกลา้ ที่จะเปล่ียนแปลง ๔. ผลลัพธ์ของความสาเรจ็ ได้มาอย่างไร (๑ คะแนน) ตอบ ผลลพั ธ์ของความสาเรจ็ ไดม้ าจากการนาปัจจัยความสาเร็จทปี่ ระกอบดว้ ย การแสวงหา ความพร้อมในทุก ๆ ดา้ น ความขยันขันแขง็ การเรยี นรู้จากความพ่ายแพ้ ความเด็ดเดยี่ วแน่วแน่ และการยนื หยัดไม่ท้อถอยมาผสมผสานกัน ขาดไม่ไดแ้ ม้แตป่ ัจจยั เดียว และไมม่ ปี ัจจัยใดโดดเดน่ มากเกินไป ๕. ผู้รวบรวมจดั ทาขึน้ ปี พ.ศ. ใด (๑ คะแนน) ตอบ ปี พ.ศ.๒๕๕๓

๓๑ หมำยเหตุ : ในกรณีทีน่ ักเรยี นตอบไมต่ รงคาถามทเ่ี ฉลยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน เฉลยกิจกรรม ๔ เร่ือง กำรวิจำรณ์ คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นอา่ นเนอ้ื หาใบความรู้ ๒ “กว่าจะได้รบั ความสาเรจ็ ” แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ (๔ คะแนน) ๑. จดุ มุง่ หมายของผูเ้ ขียนคืออะไร (๑ คะแนน) ตอบ สงิ่ ทจี่ ะทาใหป้ ระสบความสาเร็จ ๒. จากข้อความที่กลา่ วว่า “จากเดมิ ที่เปน็ คนธรรมดาเรยี บง่ายเหมือนกบั เม็ดทรายน้นั เราไดเ้ ติบโต เป็นไขม่ ุกลา้ คา่ โดยไมร่ ้ตู วั ” นักเรียนคิดว่าเพราะเหตใุ ดจงึ ไดเ้ ปรยี บเปรยข้อความดังกลา่ ว กับความสาเร็จ (๑ คะแนน) ตอบ เมด็ ทรายกว่าจะมาเปน็ ไข่มกุ ได้ต้องใช้ระยะเวลานานในการที่ตอ้ งฝังตวั เองไมใ่ ห้เจอ กับสภาพแวดล้อมภายนอก และอากาศภายนอกท่จี ะมาทาลายไมใ่ หเ้ ม็ดทรายกลายเปน็ ไข่มุกได้ ดงั นัน้ หากเมด็ ทรายใดท่ที นต่อสภาพแวดล้อมภายนอกไม่ได้ก็ไม่สามารถกลายมาเปน็ ไข่มุก จงึ เปรยี บเสมอื นกับการอดทน มุ่งม่ัน พยายาม ปฏบิ ตั กิ ับส่งิ ต่าง ๆ ให้สาเรจ็ ภายใตส้ ภาวะแวดล้อม ทเ่ี ปน็ ปญั หา ๓. ขอ้ คิดทไี่ ดจ้ ากเรอ่ื ง “กวา่ จะได้รบั ความสาเรจ็ ” คอื อะไร (๑ คะแนน) ตอบ ความอดทน ความสม่าเสมอ ความขยนั ความมงุ่ มัน่ ต้งั ใจ ความแน่วแน่ และการแสวงหา เพอื่ ใหเ้ กิดความสาเร็จตามเป้าหมายทีว่ างไว้ โดยมคี วามสามารถในการปรับตัว และความกล้า ผสานกับการกระทาข้างต้นดว้ ย ๔. นกั เรยี นสามารถนาความรูห้ รือข้อคิดทไ่ี ดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันอย่างไรบ้าง (๑ คะแนน) ตอบ การท่เี ราจะทาสิง่ ใด ๆ ก็ตาม เราควรจะมเี ปา้ หมายในการทาสงิ่ นน้ั และตอ้ งฝา่ ฟัน ต้ังใจ ขยัน อดทน แสวงหา ดว้ ยความไม่ท้อถอย ฝ่าฟันสถานการณ์ต่าง ๆ ไปใหไ้ ดด้ ว้ ยความกล้า และการปรับตัวที่ดกี บั สถานการณ์ตา่ ง ๆ จนกว่าจะได้รบั ความสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีเราตั้งไว้ หมำยเหตุ : ในกรณีทนี่ ักเรียนตอบไมต่ รงคาถามท่ีเฉลยให้อย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน

๓๒ เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรอ่ื ง ควำมรู้พื้นฐำนกำรอ่ำนเพอ่ื วเิ ครำะหแ์ ละวิจำรณ์ ข้อที่ คาตอบ ๑ง ๒ค ๓ค ๔ก ๕ข ๖ค ๗ง ๘ค ๙ค ๑๐ ข

๓๓ บรรณำนุกรม เกรียงศักดิ์ เจรญิ วงศศ์ ักด์.ิ (๒๕๕๕). กำรคิดเชงิ วพิ ำกษ์. พมิ พ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : ซคั เซส มเี ดีย จากดั . คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน, สานักงาน. (๒๕๕๒). หนังสอื เรยี น รำยวิชำพน้ื ฐำน ภำษำไทย หลกั ภำษำ และกำรใชภ้ ำษำเพือ่ กำรสอ่ื สำร ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี ๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. ________. (๒๕๕๓). หนังสอื เรียน รำยวิชำพนื้ ฐำน ภำษำไทย หลักภำษำ และกำรใชภ้ ำษำ เพื่อกำรส่ือสำร ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๕. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. ________. (๒๕๕๔). หนังสอื เรยี น รำยวิชำพน้ื ฐำน ภำษำไทย หลักภำษำ และกำรใช้ภำษำ เพ่ือกำรส่ือสำร ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๖. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว. ฆนทั ธาตทุ อง. (๒๕๕๔). สอนคิด : กำรจดั กำรเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นำกำรคดิ . พิมพ์คร้ังที่ ๒. กรงุ เทพฯ : เพชรเกษมการพมิ พ์. ชยั วัฒน์ สทุ ธิรัตน.์ (๒๕๕๕). เทคนคิ กำรใช้คำถำมพัฒนำกำรคดิ . กรุงเทพฯ : วีพรนิ ท์ (๑๙๙๑) นภิ าพร นเุ สน. (๒๕๔๖). กำรอ่ำน. ลาปาง : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏลาปาง. ประพนั ธ์ศริ ิ สุเสารัจ. (๒๕๕๖). กำรพฒั นำกำรคิด (พมิ พค์ ร้งั ที่ ๕ ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ห้างหนุ้ ส่วนจากัด ๙๑๑๙ เทคนคิ พริน้ ติ้ง. ลักขณา สริวัฒน์. (๒๕๔๙). กำรคดิ . กรงุ เทพฯ : โอ.เอส. พริ้นต้งิ เฮ้าส์. วนั ชยั แย้มจนั ทร์ฉาย. (๒๕๕๕, ๑๔ ตลุ าคม). กำรวิจำรณ์. [ระบบออนไลน์]. http://www.kroobannok.com/blog/53660. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๖). วีระ สุดสังข์. (๒๕๕๐). กำรคดิ วิเครำะห์ คิดอยำ่ งมีวจิ ำรณญำณ และคดิ สรำ้ งสรรค์. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาส์น. สุริยเทพ ไชยมงคล. (๒๕๕๓). เรือ่ งเลก็ ๆ ควำมหมำยใหญ่ ๆ : ชุดชีวติ ท่ีมีควำมหมำย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ INSPRIE. สวุ ัฒน์ ววิ ัฒนานนท์. (๒๕๕๑). ทกั ษะกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์ และเขยี น. พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : เฟ่ืองฟ้า. สวุ ทิ ย์ มูลคา และคณะ. (๒๕๕๔). กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ทเี่ นน้ กำรคิด. กรงุ เทพฯ : อี เค บุ๊คส.์ ศิวกานท์ ปทุมสูต.ิ (๒๕๕๓). คมู่ อื กำรอ่ำนคดิ วเิ ครำะห์. กรงุ เทพฯ : นวสาสน์ การพมิ พ์.

๓๔ ศภุ ลกั ษณ์ เกตะราช. (๒๕๕๕, ๒๐ กนั ยายน). กำรวิเครำะห์และวนิ ิจสำร. [ระบบออนไลน์]. http://supalack.blogspot.com/2012/09/blog-post_8599.html. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖). หน่วยท่ี ๓ กำรวิเครำะหแ์ ละกำรประเมินค่ำสำรจำกกำรอำ่ น. [ระบบออนไลน์]. https://sites.google.com/site/kanjanathai2556/. (วนั ท่คี ้นขอ้ มูล ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖). piyawan-on. (๒๕๕๗, ๔ พฤศจิกายน). ส่ิงแวดลอ้ มไทยในยี่สบิ ปขี ้ำงหน้ำ. [ระบบออนไลน์]. http://www.thaihealth.or.th/Content/26357. (วันทีค่ น้ ข้อมลู ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗).