โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย

บทที่ 1
บทนำ

ที่มาและความสำคัญ

ในปัจจุบันมีปัญหาอาชญากรรมทางทรัพย์สินเป็นจำนวนมากและพลังงานในตอนนี้ก็มีจำนวนน้อยลงทุกๆวัน โดยจากข้อมูลของเช็คพอยท์ ซิสเต็มส์ อิงค์ กล่าวว่าประเทศไทยมีอัตราการขโมยสูงเป็นอันดับ 2 ของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก กลุ่มของพวกผมจึงจัดทำเครื่องเซ็นเซอร์ป้องกันขโมยขึ้นมา

โดยสัญญาณกันขโมย ทำให้ผู้ที่ใช้งานเซนเซอร์ตรวจจับขโมยมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน นอกจากนี้ยังสามารถลดการใช้พลังงานภายในประเทศได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

1. เพื่อประดิษฐ์กันขโมย
2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. เพื่อฝึกสมาธิและความคิดสร้างสรรค์
4. เพื่อฝึกกระบวนการทำงานกลุ่ม

ขอบเขตของโครงงาน

1. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. ระบบสัญญาณกันขโมย

2. มีด , คัดเตอร์ , กรรไกร ,  ปืนกาว  , แท่งกาว                                                                                                          

3. ดินสอ ไม้บรรทัดไม้ไอติม , ตุ๊กตา

ประโยชน์ที่ได้รับ

1.ผู้ใช้ได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพี่มมากขื้น                                                                     

2.ได้ฝึกกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม                                                                                                         

3.มีความภาคภูมิใจในผลงานที่ทำ

ระบบเตือนอุทกภัย

ความสำคัญและที่มา

เนื่องในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีทางด้านต่างๆได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว และมีการนำเทคโนโลยีมาใช้อำนวยความสะดวกในการช่วยเตือนภัยมากขึ้นและได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเรามากยิ่งขึ้น สืบเนื่องจากทางโรงเรียนของเราได้มีโอกาสเข้าร่วม โครงการอบรมค่ายอิคคิวซัง 1 ปี 2558 ที่ผ่านมานั้น จึงได้เกิดแนวคิดที่จะสร้างระบบเตือนอุทกภัยขึ้นมา เพื่อ ป้องกันพื้นที่บริเวรลุ่มน้ำ ซึ่งภัยธรรมชาติโดยเฉพาะอุทกภัยนั้นเป็นปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาประเทศ และเพิ่มทวีความรุนแรงมากขึ้นในปัจจุบัน และนอกจากนี้ในการเกิดปัญหาอุทกภัยในแต่ละครั้งมักนำมาซึ่งความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชนเป็นจำนวนมาก

เพื่อจะได้เตรียมแผนรับมือจากผลกระทบและความเสียหายของการเกิดอุทกภัยได้ทันเวลา ทางโรงเรียนของเราจึงได้คิดประดิษฐ์ ระบบเตือนอุทกภัยขึ้นมาโดยใช้ GoGo Board ในการควบคุมและประมวลผล

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทำการตรวจวัดปริมาณน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ หรือระดับน้ำในลำน้ำ
  • เพื่อเตือนภัยการเฝ้าระวังน้ำท่วมจะยังมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือน้ำท่วมได้ทันเวลาไม่ก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประโยชน์ที่ได้รับสามารถรับมือน้ำท่วมได้ทันเวลาไม่ก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน ของประชาชนในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำและพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย

ขั้นตอน และวิธีการทำโครงงาน

  • วางแผน
  • จัดหาอุปกรณ์
  • ลงมือปฏิบัติ
  • สังเกตการณ์
  • วิเคราะห์ว่าระบบเตือนภัยที่ประดิษฐ์ขึ้นมานั้นว่าใช้ได้จริงหรือไม่และมีวิธรการแก้ไขปัญหาอย่างไร

ระยะเวลาและแผนงานในการดำเนินงานโครงงาน

  • ระยะเวลาที่ใช้ทั้งหมด ประมาณ  10 เดือน ตั้งแต่ โครงงานถูกอนุมัติ
  • แผนงานในการทำโครงงาน (ตัวอย่างตารางแผนงาน)
กิจกรรม ระยะเวลา ผลที่ได้รับ
เดือนที่
1-2 3 4 5 6-7 8 9-10
1.สมาชิกพูดคุยปรึกษาถึงเรื่องที่จะทำโครงงานและเสนอให้อาจารย์ดูและสมัครส่งข้อเสนอโครงงาน 10 ส.ค.-2 ก.ย.2558 เกิด ทักษะการคิดการแก้ไขปัญหามีโอกาสแสดงความสามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โรงเรียนและชุมชนได้รับประโยชน์จากโครงงานสิ่งประดิษฐ์ที่นักเรียนสร้างขึ้น
2.จัดทำโมเดลแบบจำลองโครงงานระบบเตือนภัยอุทกภัย 1-31ต.ค.
2558
3.ส่งรายงานความก้าวโครงงานหน้าครั้งที่ 1 1-30 พ.ย.๒๕๕๘
4.เขียนคำสั่งควบคุมและทดลองการทำงานในพื้นที่จริง 1-31
ธ.ค.
2558
5.เริ่มใช้งานระบบจริง 1ม.ค.-
31 พ.ค.
2559
6.เข้าค่ายอิคคิวซัง ๓
Show & Share ผลงานสิ่งประดิษฐ์
1-30
มิ.ย.
2559
7. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ …ก.ค.2559

ภาพหรือแผนผังหรือไดอะแกรมหรือแนวคิด/ของผลงาน

โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย

วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณในการทำโครงงาน (ไม่รวมค่าจ้าง)

ลำดับ รายการ จำนวนเงิน
1 Gogo Board 3,000
2 เซ็นเซอร์ Ultrasonic 150
3 ตู้ปลา,กล่องพลาสติก 1,000
4 หลอด LED 120
5 สายไฟ 100
6 ลำโพง 2 ตัว 200

การทดสอบโครงงาน และเก็บผลการทดสอบ

  • สมมติฐาน  เครื่องเตือนภัยสามารถแจ้งเตือนให้รู้ล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมแผนรับมือจากผลกระทบและความเสียหายของการเกิดอุทกภัยได้ทันเวลา
  • ตัวแปรต้น แผงควบคุม GoGo Bord และ อุปกรเสริมที่ใช้ควบคุมระบบเตือนอุทกภัย
  • ตัวแปรตาม ระบบเตือนอุทกภัย มีประสิทธิภาพในการแจ้งเตือนทำให้ประชาชนรู้ล่วงหน้าก่อนเกิดอุทกภัย
  • ตัวแปรควบคุม ระบบเตือนอุทกภัย

แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้

จากโครงงานระบบเตือนอุทกภัย นี้สามารถนำไปขยายผลและสร้างเป็นระบบเตือนภัยแบบจริงได้ในอนาคต และสามารถนำไปติดตั้งตามหมู่บ้านหรือพื้นที่ ที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยได้

ตารางเก็บข้อมูล

ประมวลภาพกิจกรรม

โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย
โครงงาน เซ็นเซอร์ เตือนภัย

วีดิทัศน์