เซ็นสัญญาออมสินแล้วกี่วันได้เงิน

การยื่นกู้ (14)

กรณีที่มีปัญหาข้อมูลเครดิตและต้องการขอสินเชื่อกับธนาคารนั้น ปัจจุบันสถานะบัญชีต้องปกติ ไม่อยู่ระหว่างถูกฟ้องร้องดำเนินคดี หรืออยู่ระหว่างประนอมหนี้ แนะนำให้ผู้กู้ไปตรวจสอบเครดิตกับบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด ก่อน จากนั้นนำเอกสารดังกล่าวพร้อมเอกสารการปิดบัญชีเข้าไปปรึกษากับเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคารต่อไป

กรณีไม่มีหนังสือรับรองเงินเดือน หรือสลิบเงินเดือน ให้ลูกค้าเตรียมเอกสาร ดังนี้
-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-เอกสารการรับเงินเดือน หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย (50ทวิ)
-เอกสารนำส่งเงินประกันสังคม ย้อนหลัง 12 เดือน

แนะนำให้ลูกค้าเตรียมเอกสาร

-สลิปเงินเดือนย้อนหลัง 3 เดือน
-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-หลักฐานอื่น อาทิค่าผ่อนรถ ค่าบัตรเครดิต
เข้ามาติดต่อสาขาที่สะดวก เพื่อขอคำปรึกษาและให้เจ้าหน้าที่ทำการประเมินวงเงินกู้เบื้องต้น จากนั้นจึงมองหาบ้านในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ก่อนยื่นขอสินเชื่อกับธนาคารอีกครั้ง

สามารถติดต่อได้ที่ธอส.ทุกสาขา หรือ www.ghbanksmart.com

ผู้กู้ทำการเพิ่มชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมในโฉนดก่อนทำการยื่นขอสินเชื่อหรือให้เจ้าของโฉนดมาเป็นผู้กู้ร่วมด้วย (ก่อนโอนกรรมสิทธิ์หรือเพิ่มชื่อฯแนะนำให้ลูกค้าเตรียมเอกสารส่วนตัวและเอกสารแสดงรายได้มาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อทำการประเมินวงเงินกู้เบื้องต้นก่อนเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการหากกู้ไม่ได้ลูกค้าจะได้ไม่เสียเงินฟรี)

หลักประกันที่จะซื้อหรือปลูกสร้างต้องมีลักษณะเป็น โฉนดที่ดิน(นส.4จ) หรือ นส.3ก หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด(อช.2) ธนาคารไม่รับพิจารณาหลักประกันเป็นที่ดิน สปก. และที่ดินเขตป่าสงวน

กรณีกู้ปลูกสร้างบ้านบนที่ดินของตนเองผู้กู้จะต้องมีกรรมสิทธิ์ในหลักประกันของบ้านที่จะทำ ทั้งนี้หลักประกันต้องมีศักยภาพในการใช้เป็นที่อยู่อาศัย คือมีทางสาธารณะตัดผ่าน สาธารณูปโภคครบเช่นไฟฟ้าและน้ำประปาเข้าถึง

เอกสารส่วนตัว

– บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
– ทะเบียนบ้าน
– สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ใบมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ (หากมี)
– สำเนาใบเปลี่ยนแปลงชื่อ – สกุล (หากมี)
– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนคู่สมรส(หากมี)

เอกสารแสดงรายได้

กรณีอาชีพประจำ

– หนังสือรับรองเงินเดือน/หนังสือรับรองสิทธิสวัสดิการ
– สลิบเงินเดือน หรือหลักฐานการรับเงินเดือน ย้อนหลัง 3 เดือน
– Statement เงินฝากย้อนหลัง 6 เดือน
– หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)

กรณีอาชีพอิสระ

-Statement เงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน
-หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)
-สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนพาณิชย์/ทะเบียนบริษัท/ทะเบียนนิติบุคคล
-หลักฐานการเสียภาษีเงินได้
-ภาพถ่ายกิจการ 3-4 ใบ
-สำเนาใบประกอบวิชาชีพ
-สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าสั่งซื้อสินค้า
-หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่นๆ (พร้อมตัวจริง)

เอกสารหลักประกัน

– สำเนาหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะแห่งชาติ และหนังสือรับรองยอดคงเหลือ (กรณีกู้ซื้อ)
– สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน และสำเนาสัญญาจำนองกับสถาบันการเงินเดิม (กรณีไถ่ถอนจำนองย้ายฯ)
– ใบเสร็จการผ่อนชำระ หรือบัญชีหมุนเวียน ย้อนหลัง 1 หรือ 2 ปี (กรณีไถ่ถอนจำนองย้ายฯ)
– หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคาร
– สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดินฉบับกรมที่ดิน
– สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก./หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด (อช.2) ทุกหน้า (กรณีซื้อทรัพย์มือสองต้องรับรองสำเนาโดยเจ้าพนักงานที่ดิน)
– ใบอนุญาตปลูกสร้าง/ต่อเติม
– แบบแปลน/พิมพ์เขียว
– ใบประมาณการปลูกสร้าง/สัญญาว่าจ้างก่อสร้าง

ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการยื่นกู้ มีรายละเอียดดังนี้

ค่าธรรมเนียมการยื่นกู้ กู้ใหม่และกู้เพิ่ม
– วงเงินกู้ไม่เกิน 500,000 บาท ไม่เก็บค่าธรรมเนียม
– วงเงินกู้เกิน 500,000 บาท คิดค่าธรรมเนียมร้อยละ 0.1 ของวงเงินทำนิติกรรม

ค่าใช้จ่ายในการประเมินราคาหลักประกัน
– วงเงินขอกู้ไม่เกิน 500,000.- ค่าธรรมเนียม 1,900.- / แห่ง
– วงเงินขอกู้ 500,001-3,000,000.- ค่าธรรมเนียม 2,800.- / แห่ง
– วงเงินขอกู้เกิน 3,000,000.- ค่าธรรมเนียม 3,100.- / แห่ง

ค่าจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม(คิดเหมา) ค่าธรรมเนียม 1,000.- / ราย

ค่าธรรมเนียมที่สำนักงานที่ดิน ค่าจดจำนอง ร้อยละ 1 ของวงเงินกู้

ค่าโอนกรรมสิทธิ์ ร้อยละ 2.5 ของราคาประเมิน หรือราคาซื้อขาย โดยใช้ราคาที่สูงกว่าเป็นเกณฑ์ ค่าอากร ร้อยละ 0.5 ตามราคาซื้อขาย แต่ไม่ต่ำกว่าราคาประเมิน

ธนาคารจะพิจารณาจากเกณฑ์รายได้ หลักประกัน LTV ภาระหนี้สินที่มี รวมถึงประวัติข้อมูลเครดิตต้องปกติ

40 ปี แต่ระยะเวลาการกู้เมื่อรวมกับอายุผู้กู้ต้องไม่เกิน 70 ปี

-กรณีลูกค้ารายย่อยทั่วไปพิจารณาวงเงินให้กู้ไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และราคาซื้อขาย

-กรณีลูกค้าสวัสดิการ พิจารณาวงเงินให้กู้ไม่เกิน 90-100% ของราคาประเมิน และราคาซื้อขาย

  • อายุ 20 ปี ขึ้นไป
  • อายุงาน 1 ปี ขึ้นไป
  • มีรายได้แน่นอนเพียงพอต่อการผ่อนชำระเงินกู้
  • เงินงวดผ่อนชำระไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้สุทธิ
  • มีหลักฐานแสดงรายได้ที่น่าเชื่อถือ
  • ผู้กู้ร่วมได้แก่ บิดา-มารดา คู่สมรส บุตร พี่-น้อง และ/หรือบุคคลอื่นได้ไม่เกิน 1 คน
  • ต้องมีรายได้เพียงพอในการผ่อนชำระ และร่วมพักอาศัยจริง
  • ประวัติข้อมูลเครดิต ต้องเป็นสถานะปกติ

ไม่สามารถขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินเปล่าได้ แต่สามารถขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคารในคราวเดียวกันได้

ธอส. ให้สินเชื่อเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

  • เพื่อซื้อบ้านพร้อมที่ดินหรือห้องชุด
  • ซื้อที่ดินเปล่าพร้อมปลูกสร้างอาคาร
  • เพื่อปลูกสร้างอาคารบนที่ดินของตนเอง
  • เพื่อต่อเติมขยายซ่อมแซมอาคาร
  • เพื่อชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
  • เพื่อไถ่ถอนจำนองจากสถาบันการเงินอื่น
  • เพื่อซื้ออุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวเนื่องในการอยู่อาศัย
  • สินเชื่อสำหรับผู้ประกอบการ
  • สินเชื่อเพื่อคนไทยในต่างประเทศ

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะ NPL หรือลูกหนี้ ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร (M 21) (8)

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND และ Line GHB Buddy

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้นๆ

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL

ลูกค้าที่อยู่ระหว่างการประนอมหนี้และยังมีสถานะเป็น NPL สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมมาตรการ M21 ได้ 

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

มาตรการ M21 สามารถลงทะเบียนผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND ได้ช่องทางเดียว

ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี (นับตั้งแต่วันที่ทำสัญญาครั้งแรก จนถึงวันที่ยื่นคำร้องเข้าร่วมมาตรการ)

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะ NPLหรือลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้ มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร (M17 และ M22) (7)

ธนาคารจะโทรศัพท์แจ้งผลการอนุมัติ ตามเบอร์โทรศัพท์ที่ลูกค้าลงทะเบียนเข้ามา

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้น ๆ

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL และลงทะเบียนผ่านช่องทางที่กำหนดเท่านั้น

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ทาง www.bot.or.th/debtfair ของธปท. หรือลงทะเบียนใน “มหกรรมร่วมใจแก้หนี้สัญจร” เท่านั้น

มาตรการ M17 ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) หรือเป็นลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้มาตรการ / หรือปรับโครงสร้างหนื้กับธนาคาร

มาตรการ M22 ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี (นับตั้งแต่วันที่ทำสัญญาครั้งแรก จนถึงวันที่ยื่นคำร้องเข้าร่วมมาตรการ)

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้สถานะNPLหรือลูกหนี้ที่ยังมีสถานะเป็น NPL ที่อยู่ระหว่างการใช้ มาตรการ/ปรับโครงสร้างหนี้กับธนาคาร ปี 2565 (M20) (7)

ธนาคารจะแจ้งผลการอนุมัติผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND และ Line GHB Buddy

สามารถชำระเงินงวดมากกว่าที่กำหนดไว้ได้ โดยธนาคารจะนำเงินที่ชำระเกินไว้ไปตัดดอกเบี้ยค้างชำระของลูกค้า (ถ้ามี)

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนร่วมมาตรการได้ทุกบัญชีตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของมาตรการนั้นๆ

มาตรการนี้ธนาคารให้สิทธิเฉพาะลูกค้าที่มีสถานะเป็น NPL เท่านั้น

เอกสารยืนยันรายได้ เช่น สลิปเงินเดือน หนังสือรับรองเงินเดือน ภาพถ่ายกิจการ หรือ Statement เป็นต้น 

ลูกค้าสามารถลงทะเบียนผ่าน  Application GHB ALL BFRIEND ได้ช่องทางเดียวเท่านั้น

ลูกหนี้ที่มีสถานะเป็น NPL (DPD มากกว่า 90 วันขึ้นไป) และลูกหนี้ต้องกู้เงินจากธนาคารมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2  ปี (ทำสัญญากู้เงินก่อนปี 2564)

สินเชื่อ (6)

ธนาคารใช้วิธีการคำนวณจากยอดเงินต้นคงเหลือ คูณด้วยอัตราดอกเบี้ยเงินกู้(%) คูณจำนวนวันในเดือน (30 หรือ 31 วัน) หารด้วยจำนวนวันในหนึ่งปี (365 หรือ 366 วัน)

ลูกค้ารายย่อยสามารถขอลดอัตราดอกเบี้ยในการผ่อนชำระได้ หลังจากผ่อนชำระครบกำหนดระยะเวลา 3 ปี โดยต้องมีประวัติการผ่อนชำระสม่ำเสมออย่างน้อย 24 เดือน และไม่อยู่ระหว่างประนอมหนี้

ลูกค้าสวัสดิการ สามารถขอเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยได้หลังจากครบกำหนดการใช้ดอกเบี้ยปีที่ 2

แต่ต้องตรวจสอบจากบันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงินอีกครั้ง เนื่องจากบางโครงการจะกำหนดข้อห้ามเช่น ห้ามปิดบัญชี หรือเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยภายในระยะเวลากี่ปี

ไม่แตกต่าง อัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับโครงการที่ลูกค้าเลือกใช้

กรณีขอเลขที่บ้านใหม่

-ใบคำขอเลขที่บ้าน
-ใบอนุญาตปลูกสร้าง
-เอกสารการขอใช้น้ำ-ไฟฟ้า

กรณีปลูกสร้างอาคารทดแทนหลังเดิมแต่ไม่ต้องการเปลี่ยนเลขที่บ้าน(กรรมสิทธิ์ในบ้านและที่ดินเป็นของบุคคลอื่นและไม่ได้กู้ร่วม)

-ใบรับรองอนุญาตปลูกสร้าง ทด.13 หรือ ทด.14 (ต้องได้รับการรับรองจากสำนักงานเขตหรืออบต.ในพื้นที่ ไม่สามารถใช้เฉพาะเอกสารขออนุญาตรื้อถอนได้)

ธนาคารจะจ่ายเงินงวดให้แก่ลูกค้าก่อนมีผลงานการก่อสร้าง แต่ธนาคารจะบวกดอกเบี้ยเพิ่มร้อยละ 0.50 ต่อปี จนกว่าจะรับเงินงวดสุดท้ายแล้วเสร็จ

ธนาคารจะจ่ายเงินงวดให้แก่ผู้กู้ โดยต้องมีผลงานการก่อสร้างอย่างน้อย 20%

Refinance (3)

กรณีไถ่ถอนมายังธอส.ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อที่อยู่อาศัยเท่านั้น กรณีเป็นสินเชื่อส่วนบุคคล หรือเพื่ออุปโภคบริโภค ไม่สามารถไถ่ถอนมายังธอส.ได้

การไถ่ถอนจำนองมายังธอส. ต้องเป็นการไถ่ถอนจากสถาบันการเงิน เช่น ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต หรือสถาบันการเงินอื่น การเคหะแห่งชาติ บริษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) หรือบริษัทนิติบุคคลเฉพาะกิจ บตท. เท่านั้น

หากเป็นกรณีทำสัญญาขายฝากต้องมีการทำสัญญาและจดจำนองที่กรมที่ดินด้วย

กรณีไถ่ถอนจำนองย้ายสถาบันการเงินมายัง ธอส. วัตถุประสงค์เดิมต้องเป็นการกู้เพื่อที่อยู่อาศัยเท่านั้น ธนาคารจะพิจารณาจากประวัติการกู้ย้อนหลัง 24 เดือน โดตยต้องมีสถานะบัญชีปกติจากสถาบันการเงินเดิม เพื่อประกอบการพิจารณาค่ะ

การประนอมหนี้ (3)

ผู้กู้ร่วมคนใด คนหนึ่ง สามารถเข้ามาติดต่อขอประนอมหนี้ได้

หากไม่มีผู้กู้ร่วมสามารถมอบอำนาจได้ โดยให้ญาติที่อยู่ในเมืองไทยเข้ามาติดต่อกับทางธนาคาร โดยใช้หนังสือสอบมอบอำนาจ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาหนังสือเดินทาง เข้ามาติดต่อธนาคาร

1. เอกสารส่วนบุคคล
– บัตรประชาชน
– สำเนาทะเบียนบ้าน
– สำเนาทะเบียนสมรส ใบหย่า ใบมรณะบัตร (แล้วแต่กรณี)

2. เอกสารรายได้ (เพื่อพิจารณาความสามารถในการประนอมหนี้)
2.1 อาชีพประจำ หนังสือรับรองเงินเดือนตัวจริง สลิปเงินเดือน ย้อนหลัง 3 เดือน บัญชีเงินฝากย้อนหลัง 6 เดือน
2.2 อาชีพอิสระ เจ้าของกิจการ หรือ ค้าขาย หนังสือจดทะเบียนบริคณห์สนธิ หนังสือจดทะเบียนการค้า บัญชีเงินฝากย้อนหลัง 12 เดือน หรือ เอกสารที่เกี่ยวกับการประกอบของตนเอง เช่น สัญญาเช่าแผง เช่าร้าน ตัวอย่างใบสั่งสินค้า

3. เอกสารแสดงภาระหนี้ต่างๆ เช่น ใบแจ้งหนี้บัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล สัญญากู้เงินต่างๆ

-กรณีทรัพย์หลักประกันอยู่ในเขต กทม.และปริมณฑล สามารถติดต่อได้ที่ งานบริหารหนี้ ฝ่ายบริหารหนี้ กทม.และปริมณฑล (ธอส.สำนักงานใหญ่) หมายเลขโทรศัพท์ 02-202-1770-5

-กรณีทรัพย์หลักประกันตั้งอยู่ในเขตต่างจังหวัด ติดต่อได้ที่งานบริหารหนี้สาขา สาขาในจังหวัดที่ทรัพย์ตั้งอยู่ หรือ ฝ่ายบริหารหนี้ภูมิภาค (ธอส.สำนักงานใหญ่) อาคาร 2 ชั้น 2 หมายเลขโทรศัพท์ 02-202-1742-3 ค่ะ

การชำระเงินงวด (2)

ผู้กู้สามารถชำระเงินงวดได้ที่ธนาคารอาคารสงเคราะห์ทุกสาขา ตู้รับชำระหนี้เงินกู้(LRM) ตู้ ATM เครื่องชำระหนี้เงินกู้ไร้เงินสด(QR Non Cash Payment) และ Mobie Application GHB ALL

หักเงินงวดจากบัญชีเงินฝาก ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารกรุงเทพฯ ธนาคารกรุงไทยฯ ธนาคารไทยพาณิชย์

ชำระเงินงวดผ่านตัวแทนรับชำระหนี้เงินกู้โดยใช้บัตร GHB Pay Card หรือใบเสร็จรับเงินที่มีแถบบาร์โค๊ด อาทิ

– เคาน์เตอร์เซอร์วิส
– pay @ post เคาน์เตอร์ที่ทำการไปรษณีย์
– เทสโก โลตัส
– ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธกส.)
– เอ็มเปย์ สเตชั่น
– เคาน์เตอร์ Big C
– TOT
– ทรู มันนี่ เอ็กซ์เพลส
– Cenpay เคาน์เตอร์ เซ็นทรัล, B2S ,แฟมิลี่มาร์ท,Top Supermarkets , ร้านมัทซึโมโตะ, ร้านไทวัสดุ, ออฟฟิชเมท, เพาเวอร์บาย, โรบินสัน, และร้านซุปเปอร์สปอร์ต

ผู้กู้จะต้องชำระเงินงวดไม่ต่ำกว่าที่ธนาคารกำหนดตามสัญญากู้เงินเป็นประจำทุกเดือน หากเดือนใดไม่ได้ชำระเดือนถัดมาผู้กู้จะต้องชำระเงินงวดพร้อมกัน 2 ยอด งวด คือ เงินงวดในเดือนที่ผ่านมาและเงินงวดเดือน

ปัจจุบัน กรณีเดือนใดผู้กู้ชำระเงินงวดเกินกว่าที่ธนาคารกำหนด เงินส่วนที่เกินจะถูกนำไปตัดชำระเงินต้นทั้งจำนวน ไม่ถือเป็นชำระเงินงวดของเดือนถัดไป

  • กรณีมีจำนวนวันค้างขำระ (DPD) ไม่เกิน 30 วัน ถือว่าสถานะบัญชีปกติ
  • กรณีมีจำนวนวันค้างชำระ (DPD) ตั้งแต่ 31 วันขึ้นไป ธนาคารจะมีหนังสือแจ้งเตือนเพื่อให้ชำระหนี้
  • กรณีจำนวนวันค้างชำระ (DPD) ตั้งแต่ 91 วันขึ้นไป (สำหรับผู้กู้ที่กู้เงินก่อนวันที่1 มี.ค. 2564) และจำนวนวันค้างชำระ (DPD) เกิน 45 วัน (สำหรับผู้กู้ที่กู้เงินหลังวันที่ 1 มี.ค 2564) ธนาคารจะมีหนังสือแจ้งการปรับอัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราดอกเบี้ยผิดนัด (ปัจจุบันเท่ากับอัตราดอกเบี้ยร้อยละ XXX บาท บวกเพิ่มร้อยละ 3 ต่อปี )
  • กรณีจำนวนวันค้างชำระ (DPD) ตั้งแต่ 91 วันขึ้นไป (สำหรับผู้กู้ที่กู้เงินก่อนวันที่ 1 มี.ค. 2564) และจำนวนวันค้างชำระ (DPD) ตั้งแต่ 61 วันขึ้นไป (สำหรับผู้กู้ที่กู้เงินหลังวันที่ 1 มี.ค 2564) ธนาคารมีความจำเป็นต้องมีหนังสือบอกกล่าวบังคับจำนอง

คนไทยในต่างประเทศ (1)

ผู้กู้ร่วมคนใด คนหนึ่ง สามารถเข้ามาติดต่อขอประนอมหนี้ได้

หากไม่มีผู้กู้ร่วมสามารถมอบอำนาจได้ โดยให้ญาติที่อยู่ในเมืองไทยเข้ามาติดต่อกับทางธนาคาร โดยใช้หนังสือสอบมอบอำนาจ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาหนังสือเดินทาง เข้ามาติดต่อธนาคาร

Load More

กี่วันถึงจะได้เงินออมสิน

ในการยื่นกู้สินเชื่อแต่ละประเภทใช้เวลาในการอนุมัติต่างกันหรือไม่ ใช้หลักเกณฑ์อะไรในการพิจารณา ระยะเวลาการพิจารณาสินเชื่อใช้เวลาโดยประมาณ 3-4 สัปดาห์ ขึ้นอยู่ความพร้อมของเอกสารและปริมาณงานของสาขาที่ทำการยื่นกู้

เงินโควิดออมสินหมดเขตวันไหน

ระยะเวลาด้าเนินโครงการ ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 หรือจนกว่าจะครบวงเงินโครงการ Page 6 การเข้าเมนูขออนุมัติสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ผ่าน MyMo.

สินเชื่อสร้างงานสร้างอาชีพกี่วันอนุมัติ

เมื่อลูกคายื่นสมัครสินเชื่อแลว จะไดรับการแจงผลการพิจารณาสินเชื่อ ผาน SMS / Push Notification ภายใน 3 วันทําการ กรณีผานการอนุมัติสินเชื่อ ตองกดสัญญาบน MyMo ภายใน 7 วัน

ขอสินเชื่อใช้เวลากี่วัน

การอนุมัติเงินกู้แต่ละแบงก์จะใช้เวลาเร็วช้าต่างกัน แต่โดยทั่วไปแล้วการอนุมัติสินเชื่อจะใช้เวลาประมาณ 7 - 20 วันทำการ(เฉลี่ยประมาณ 2-3 สัปดาห์) แต่ก็มีบางธนาคารที่อาจแจ้งผลอนุมัติเบื้องต้นได้ภายใน 3 วันหลังจากได้รับเอกสารและประเมินรายได้เบื้องต้น หรือบางธนาคารอาจใช้เวลาอนุมัตินานเป็นเดือนหรือ 2 เดือนก็มี เช่นในกรณีที่มี ...