ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใบอนุญาต ใหม่ได้ เมื่อ ระยะเวลา พ้น ไป แล้ว กี่ ปี

ปรุฬห์ รุจนธำรงค์

Show

2.7 กรณีผู้รับอนุญาตถูกเพิกถอนใบอนุญาต

          เหตุในการถูกเพิกถอนใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510 มาตรา 96 คือ เรื่องการขาดคุณสมบัติของผู้รับอนุญาต กรณีที่เป็นใบอนุญาตสำหรับยาแผนปัจจุบันตามมาตรา 14 หรือกรณีใบอนุญาตสำหรับยาแผนโบราณตามมาตรา 48

          ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตต้องหยุดการผลิตยา การขายยาหรือการนำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี และจะขอรับใบอนุญาตใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นสองปีนับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต และผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้หรือไม่ก็ได้ สุดแต่จะพิจารณาเห็นสมควร

          เมื่อถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้ว กฎหมายยังใจดีช่วยบรรเทาความเสียหายให้ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตโดยมาตรา 100 กำหนดให้ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตอื่น หรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควรได้ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตหรือวันที่ได้ทราบคำวินิจฉัยของรัฐมนตรี เว้นแต่ผู้อนุญาตจะผ่อนผันขยายระยะเวลาดังกล่าวให้

          ข้อสังเกต

          - กรณีเพิกถอนใบอนุญาต ผู้อนุญาตต้องได้รับคำแนะนำจากคณะกรรมการยาเท่านั้น ไม่มีกรณีฟ้องศาลเหมือนการสั่งพักใช้ใบอนุญาต

          - การถูกเพิกถอนใบอนุญาต เท่ากับว่าในขณะนั้นไม่มีใบอนุญาตอีกต่อไป การฝ่าฝืนมาตรา 96 ไม่มีบทลงโทษทางอาญาเหมือนกับการถูกพักใช้ใบอนุญาต ต้องพิจารณาเรื่องการฝ่าฝืนมาตรา 12, 46 แทน 

          - ถูกเพิกถอนใบอนุญาตพ้นกำหนด 2 ปี แล้วมาขอใบอนุญาตใหม่ ผู้อนุญาตจะให้ใบอนุญาตหรือไม่ก็ได้

          - ถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้วห้ามขายยาให้ประชาชนทั่วไปทันทีในกรณีที่ใบอนุญาตนั้นสามารถขายยาให้แก่ประชาชนทั่วไปได้ แต่ยาที่ยังเหลืออยู่ให้ขายกับผู้รับอนุญาตอื่นเท่านั้น (ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 15, 49)  และต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน อาจผ่อนผันขยายระยะเวลาดังกล่าวได้

          - ขายให้คลินิกแพทย์ โรงพยาบาลไม่เข้าข่ายผู้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้

          - การฝ่าฝืนมาตรา 100 ไม่มีบทลงโทษทางอาญาเหมือนกับการถูกพักใช้ใบอนุญาต ต้องพิจารณาเรื่องการฝ่าฝืนมาตรา 12, 46 แทน

คุณสมบัติ

   ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นเป็นเพียงคุณสมบัติเบื้องต้นที่ควรมีของตัวแทน/นายหน้าประกันภัยเท่านั้น แต่เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทน/นายหน้าประกันภัยมีความเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยและผู้รับประโยชน์ซึ่งเป็นผู้บริโภค ดังนั้นเพื่อเป็นการคุ้มครองผลประโยชน์ของสาธารณชนโดยส่วนรวม จึงได้มีการตรากฎหมายขึ้นมาบังคับใช้สำหรับตัวแทน/นายหน้าประกันภัย โดยอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักงาน คปภ. ซึ่งได้กำหนดคุณสมบัติของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต และตัวแทน/นายหน้าประกันวินาศภัย ดังนี้

คุณสมบัติของตัวแทนประกันชีวิต

-

คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิต ได้มีการบัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ประกันชีวิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 มาตรา 69 ดังนี้

1. ต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ

2. มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย

3. ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

4. ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

5. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

6. ไม่เป็นนายหน้าประกันชีวิต

7. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิตในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

8. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับชั้นปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษา โดยได้สอบผ่านวิชาการประกันชีวิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเป็นผู้สอบความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิตได้ตามหลักสูตรและวิธีการที่ที่นายทะเบียนประกาศกำหนด

ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใบอนุญาต ใหม่ได้ เมื่อ ระยะเวลา พ้น ไป แล้ว กี่ ปี

กรณีตัวแทนประกันชีวิต ต้องการขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซล ไลฟ์ อินชัวรันซ์ (Universal Life Insurance)

-

การกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมสำหรับบุคคลที่ต้องการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ จะต้องเป็นตัวแทนประกันชีวิต นายหน้าประกันชีวิตที่ได้รับการขึ้นทะเบียนตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่นายทะเบียนประกาศกำหนดตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการขึ้นทะเบียนเป็นตัวแทน และนายหน้าขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ (Universal Life Insurance) พ.ศ. 2552 ฉบับลง วันที่ 29 กรกฎาคม 2552 โดยได้กำหนดคุณสมบัติของตัวแทนขายกรมธรรม์ประกันภัยแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ไว้ดังนี้

1. เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้าประกันชีวิตไม่น้อยกว่า 6 เดือน

2. เป็นผู้ขายประกันชีวิตแบบรายบุคคลรายใหม่ ประเภทสามัญหรือประเภทอุตสาหกรรมไม่ต่ำกว่า15 ราย หรือจำนวนเงินเอาประกันภัยไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท ทั้งนี้ไม่รวมการประกันภัยกลุ่มและการประกันภัยแบบชำระเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว

3. เป็นผู้ผ่านการอบรมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ ตามหลักสูตรที่นายทะเบียนกำหนด ไม่เกิน 2 ปีก่อนวันขอขึ้นทะเบียน

4. ไม่มีประวัติการกระทำความผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉล หรือทุจริต ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ กฎหมายว่าด้วยธนาคารพาณิชย์ กฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับธุรกิจทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ ภายในระยะเวลา 3 ปีก่อนวันที่ยื่นคำขอรับความเห็นชอบ

5. ไม่มีประวัติการกระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการต่อต้านการฟอกเงิน และการอุดหนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ

6. ต้องไม่มีประวัติดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลา 3 ปีก่อนวันที่ยื่นคำขอรับความเห็นชอบ

กรณีตัวแทนประกันชีวิต ต้องการขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิตลิงค์ ไลฟ์ อินชัวรันซ์ (Unit Linked Life Insurance)

-

การกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมสำหรับบุคคลที่ต้องการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิตลิงค์จะต้องเป็นตัวแทนประกันชีวิต นายหน้าประกันชีวิตที่ได้รับการขึ้นทะเบียนตาม ประกาศนายทะเบียนเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการขึ้นทะเบียนเป็นตัวแทนและนายหน้าประกันชีวิตเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน (Unit-Linked Life Policy) พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วันที่ 6มิถุนายน พ.ศ. 2559 และตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการออก การเสนอขายกรมธรรม์ประกันภัย และการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทนประกันชีวิต นายหน้าประกันชีวิต และธนาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 13 มีนาคม 2557

กรณีที่เป็นบุคคลธรรมดาต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1) เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิต หรือนายหน้าประกันชีวิต และได้รับอนุญาตให้ขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิตลิงค์

2) เป็นผู้ผ่านการอบรมความรู้เกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิต แบบยูนิตลิงค์ ตามหลักสูตรที่สำนักงานคปภ. ประกาศกำหนด และได้รับความเห็นชอบให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นนักวิเคราะห์การลงทุน หรือผู้แนะนำการลงทุนตามตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

3) ได้รับการขึ้นทะเบียนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่นายทะเบียนกำหนด

กรณีที่เป็นนิติบุคคลต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1) ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์

2) มีพนักงานหรือลูกจ้างที่เป็นนายหน้าประกันชีวิตควบการลงทุนประเภทบุคคลธรรมดาทำหน้าที่เสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุนในนามนิติบุคคลประจำสำนักงานใหญ่อย่างน้อยหนึ่งราย และแต่ละสาขาที่มีการเสนอขายอย่างน้อยหนึ่งราย

ผู้ขอรับความเห็นชอบเป็นตัวแทนประกันชีวิตขายกรมธรรม์ประกันชีวิต แบบยูนิตลิงค์ นอกจากมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(1) ต้องไม่มีประวัติการกระทำความผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉลหรือทุจริตตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุนธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ กฎหมายว่าด้วยธนาคารพาณิชย์ กฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับธุรกิจทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ ภายในระยะเวลา 3 ปีก่อนวันที่ยื่นคำขอรับความเห็นชอบ

(2) ต้องไม่เคยถูกสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เพิกถอนการปฏิบัติงานใดๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์ตามที่ได้รับความเห็นชอบ การขึ้นทะเบียน หรือการอนุญาตใดๆภายในระยะเวลา 3 ปีก่อนวันที่ยื่นคำขอรับความเห็นชอบ

(3) ต้องไม่มีประวัติการกระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการต่อต้านการฟอกเงิน และการอุดหนุนทางการเงินแก่ก่อการร้ายไม่ว่าจะเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ

(4) ไม่มีประวัติดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลา 3 ปีก่อนวันที่ยื่นขอรับความเห็นชอบ

คุณสมบัติของนายหน้าประกันชีวิต

คุณสมบัติของการเป็นนายหน้าประกันชีวิตนั้น สามารถแยกออกเป็น 2 ประเภท คือ นายหน้าประกันชีวิต ประเภทบุคคลธรรมดา และนายหน้าประกันชีวิต ประเภทนิติบุคคล

ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใบอนุญาต ใหม่ได้ เมื่อ ระยะเวลา พ้น ไป แล้ว กี่ ปี

นายหน้าประกันชีวิต ประเภทบุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดาซึ่งจะขอรับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิตจะต้องมีคุณสมบัติตามที่พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 มาตรา 72 กำหนดไว้ดังนี้

1. ต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ

2. มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย

3. ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

4. ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

5. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

6. ไม่เป็นตัวแทนประกันชีวิต กรรมการ ผู้จัดการ พนักงาน หรือลูกจ้างของบริษัทประกันชีวิตใด

7. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิตหรือใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิต ในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

8. ได้รับการศึกษาวิชาการประกันชีวิตจากสถาบันการศึกษาที่นายทะเบียนประกาศกำหนดหรือสอบความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิตได้ตามหลักสูตรที่นายทะเบียนประกาศกำหนด

ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใบอนุญาต ใหม่ได้ เมื่อ ระยะเวลา พ้น ไป แล้ว กี่ ปี

นายหน้าประกันชีวิต ประเภทนิติบุคคล

นิติบุคคลซึ่งจะขอรับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิตจะต้องมีคุณสมบัติตามที่พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 72 และตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการออกใบอนุญาต และการต่ออายุใบอนุญาตให้นิติบุคคลเป็นนายหน้าประกันชีวิต พ.ศ. 2554 ฉบับลงวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. เป็นบริษัทจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือบริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด หรือสถาบันการเงิน

2. มีสำนักงานใหญ่ในประเทศไทย

3. มีวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการเป็นนายหน้าประกันชีวิต

4. มีพนักงานหรือลูกจ้างที่ได้รับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิตตามพระราชบัญญัติประกันชีวิตพ.ศ. 2535 เป็นผู้ทำการแทนนิติบุคคลดังกล่าว

5. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิตในระยะเวลา 5 ปี ก่อนวันขอรับใบอนุญาต

6. มีผู้ถือหุ้นได้ใช้เงินในหุ้นแล้วหรือมีทุนชำระแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาทแล้วแต่กรณี

7. ผู้มีอำนาจลงนามผูกพันนิติบุคคลหรือผู้มีอำนาจในการจัดการกิจการนายหน้าประกันชีวิต อย่างน้อยสองคน ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวิตมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ก่อนวันยื่นคำขอรับใบอนุญาต ต้องเข้ารับการทดสอบความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิตตามที่นายทะเบียนกำหนด

ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอใบอนุญาต ใหม่ได้ เมื่อ ระยะเวลา พ้น ไป แล้ว กี่ ปี

กรณีนายหน้าประกันชีวิต ต้องการขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซล ไลฟ์ อินชัวรันซ์(Universal Life Insurance)

+

กรณีนายหน้าประกันชีวิต ต้องการขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิต ลิงค์ ไลฟ์ อินชัวรันซ์(Unit Linked Life Insurance)

+

ตัวแทน/นายหน้าประกันวินาศภัย

+

คุณสมบัติของนายหน้าประกันวินาศภัย

+

สิทธิการกล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูสิ้นสุดลงเมื่อพ้นระยะเวลาเท่าใด

สิทธิการกล่าวหาตามวรรคหนึ่ง หรือสิทธิการกล่าวโทษตามวรรคสองสิ้นสุดลงเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพดังกล่าวและรู้ตัวผู้ประพฤติผิด การถอนเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษที่ได้ยื่นไว้แล้วนั้นไม่เป็นเหตุให้ระงับการดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้

ใครเป็นผู้เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 มาตรา 34 กำหนดให้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่ ดังนี้ 1. รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภา ซึ่งมีอำนาจหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำกับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพและการพัฒนาวิชาชีพ

การพักใช้ใบอนุญาตกี่ปี

กรณีพักใช้เขียนชัดเจนว่า"พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามเห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี หมายถึง คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยกำหนด ว่า 1 เดือน 2 ปี 3 ปี ก็ได้ แต่สูงสุดต้องไม่เกิน 5 ปี (เพราะใบอนุญาตมีอายุไข 5 ปี)....

ใครมีอำนาจสั่ง พัก เพิก ถอนใบประกอบวิชาชีพ

ม พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดให้คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยการออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการรับรองความรู้ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพ ประกอบกับประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการจัดทำมาตรฐาน