บทขับเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนมีแบบแผนบังคับฉันทลักษณ์เหมือนข้อใด

กลอนเสภา

       กลอนเสภา เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งแต่งเพื่อใช้ขับ เพราะใช้เป็นกลอนขับ จึงกำหนดคำไม่แน่นอน มุ่งการขับเสภาเป็นสำคัญ จึงใช้คำ ๗ คำ ถึง ๙ คำ การส่งสัมผัสนอกเหมือนกับกลอนสุภาพ แต่ไม่บังคับหรือห้ามเสียงสูง ต่ำ ตามจำนวนคำแต่ละวรรค อยู่ในเกณฑ์กลอน ๗-๙ เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน มีแผนผังและตัวอย่างดังนี้

Hits: 4831

Post navigation

ลักษณะคำประพันธ์

            เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นคำประพันธ์ ประเภทกลอนเสภา  ๔๓  ตอน ซึ่งมีอยู่  ๘ ตอนที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดียอดเยี่ยมจากวรรณคดีสมาคม  อันมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์  กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  ทรงเป็นประธานโดยลงมติเมื่อ  พ..๒๔๗๔  และตอน  ขุนช้างถวายฎีกาเป็นหนึ่ง ในแปดตอนที่ ได้รับการยกย่อง

             ลักษณะคำประพันธ์กลอนเสภาเป็นกลอนสุภาพ เสภาเป็นกลอนขั้นเล่าเรื่องอย่างเล่านิทานจึงใช้คำมากเพื่อบรรจุข้อความให้ชัดเจนแก่ผู้ฟัง และมุ่งเอาการขับได้ ไพเราะเป็นสำคัญ สัมผัสของคำประพันธ์ คือ คำสุดท้ายของวรรคต้น ส่งสัมผัสไปยังคำใดคำหนึ่งใน  ๕  คำแรกของวรรคหลังสัมผัสวรรคอื่นและสัมผัสระหว่างบทเหมือนกลอนสุภาพ

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

เสภาเป็นบทกลอนชนิดหนึ่งใช้ขับเพื่อความบันเทิง ได้รับความนิยมในหมู่นักเลงกลอนตั้งแต่สมัยอยุธยา และกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งใน สมัยรัชกาลที่ ๒ และ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ผู้แต่งเสภามักจะเลือกหานิทานนิยายเรื่องเล่าที่ตน เคยรู้จัก มาแต่งเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจจะขับเสภาตอนในก็แต่งขึ้นเองเฉพาะตอนที่ตนขับ   ดังนั้น บางตอนจึงมีผู้แต่งหลายคน แต่ละคนจะมีสำนวนเฉพาะตน และมีรายละเอียดแตกต่างกัน เมื่อมีการรวบรวมบทเสภาเป็นเรื่องเดียว จึงต้องมีการตรวจสอบชำระ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นประธานชำระเรื่องขุน ช้างขุนแผน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ และได้ทรงวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้แต่งด้วย ปรากฏว่า มีผู้แต่ง    หลายคน เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว   สุนทรภู่ ครูแจ้ง และยังไม่ทราบนามผู้แต่งบทเก่าอีกหลายตอน

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอนซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า “ครานั้น” เช่น

ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว
เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า
ห่มดองครองแนบกับกายา
แล้วไปวันทาท่านขรัวมี

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

เสภาเป็นบทกลอนชนิดหนึ่งใช้ขับเพื่อความบันเทิง ได้รับความนิยมในหมู่นักเลงกลอนตั้งแต่สมัยอยุธยา และกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งใน สมัยรัชกาลที่ ๒ และ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ผู้แต่งเสภามักจะเลือกหานิทานนิยายเรื่องเล่าที่ตน เคยรู้จัก มาแต่งเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจจะขับเสภาตอนในก็แต่งขึ้นเองเฉพาะตอนที่ตนขับ   ดังนั้น บางตอนจึงมีผู้แต่งหลายคน แต่ละคนจะมีสำนวนเฉพาะตน และมีรายละเอียดแตกต่างกัน เมื่อมีการรวบรวมบทเสภาเป็นเรื่องเดียว จึงต้องมีการตรวจสอบชำระ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นประธานชำระเรื่องขุน ช้างขุนแผน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ และได้ทรงวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้แต่งด้วย ปรากฏว่า มีผู้แต่ง    หลายคน เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว   สุนทรภู่ ครูแจ้ง และยังไม่ทราบนามผู้แต่งบทเก่าอีกหลายตอน

บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอนซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า “ครานั้น” เช่น

ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว
เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า
ห่มดองครองแนบกับกายา
แล้วไปวันทาท่านขรัวมี

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก