รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชนิพนธ์บทเพลงใด

ตอนที่ 45 เพลงไทยสากลที่บทร้องมาจากพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวชื่อเพลง : เพลงคำปฏิญาณผู้ขับร้อง : วรนุช อารีย์ผู้ประพันธ์คำร้อง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ผู้ประพันธ์ทำนอง : ครูเอื้อ สุนทรสนานชื่อเพลง : เพลงปลุกไทยผู้ประพันธ์คำร้อง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ผู้ประพันธ์ทำนอง : ครูเอื้อ สุนทรสนานชื่อเพลง : เพลงไทยรวมกำลังผู้ประพันธ์คำร้อง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ผู้ประพันธ์ทำนอง : ครูเอื้อ สุนทรสนานชื่อเพลง : เพลงไทยสามัคคีผู้ขับร้อง : โฉมฉาย อรุณฉานผู้ประพันธ์คำร้อง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ผู้ประพันธ์ทำนอง : ครูเอื้อ สุนทรสนานชื่อเพลง : เพลงไร้รักไร้ผลผู้ขับร้อง : วรนุช อารีย์ มาริษา อมาตยกุล และ ศรีสุดา รัชตะวรรณผู้ประพันธ์คำร้อง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ผู้ประพันธ์ทำนอง : ครูเอื้อ สุนทรสนานความยาว : 30.50 นาทีรายละเอียด : เพลงไทยสากลจากวงดนตรีสากลวงดนตรีของกรมประชาสัมพันธ์ (กรมโฆษณาการ) บทร้องมาจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) พระองค์ท่านทรงเป็นมหากวีของชาติไทย และของโลก มีงานพระราชนิพนธ์มากมายเกินกว่าจะนับได้ มีพระราชนิพนธ์ปลุกใจเรื่องต่างๆ เมื่อหลังสมัย จอมพล ป. พิบูลย์สงคราม และหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ก็ได้ยกเอาพระราชนิพนธ์หลายบทมาทำเป็นเพลงปลุกใจ ผู้ประพันธ์ทำนองที่สำคัญในยุคนั้นมี 2 ท่าน คือ ครูเวช สุนทรจามร และครูเอื้อ สุนทรสนาน มีบางเพลงที่ครูนารถ ถาวรบุตร เป็นผู้ประพันธ์ เพลงพระราชนิพนธ์ 5 เพลงในรัชกาลที่ 6“เพลงคำปฏิญาณ” จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์) ซึ่งใช้นามแผงว่า “ศุกรหัสน์” ได้อัญเชิญพระราชนิพนธ์จากเรื่องพระร่วง ขับร้องนำหมู่โดย วรนุช อารีย์ ประพันธ์ทำนองโดยครูเอื้อ สุนทรสนานในท่อนแรก ขับร้องนำหมู่โดย วรนุช อารีย์  ในทำนองช้าๆใครมาเป็นเจ้าเข้าครอง                             คงจะต้องบังคับขับไสเคี่ยวเข็ญเย็นค่ำกรำไป                              ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนายเขาจะเห็นแก่หน้าค่าชื่อ                            จะนับถือพงศ์พันธุ์นั้นอย่าหมายไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย              ไหนจะอายทั่วทั้งโลกาท่อนที่สอง ขับร้องร่วมกันทั้งหมู่ชาย-หญิงเพราะฉะนั้นชวนกันสวามิภักดิ์                 จงรักร่วมชาติศาสนายอมตายไม่เสียดายชีวา                             เพื่อรักษาอิสระคณะไทยสมานสามัคคีให้ดีอยู่                                จะสู้ศึกศัตรูทั้งหลายได้
ควรคิดจำนงจงใจ                        เป็นไทยจนสิ้นดินฟ้า“เพลงปลุกไทย” (แผ่นเสียงเก่าจากกรมประชาสัมพันธ์) คำร้อง บทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ประพันธ์ทำนองโดย ครูเอื้อ สุนทรสนาน(สร้อย) แม้หวังตั้งสงบ                             จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์ศัตรูกล้ามาประจัญ                                   จะอ้าริปูสลาย(หมู่) พวกเราชาวไทยล้วนใจเด็ด                กล้าเหมือนเพชรไม่ยอมใครง่ายๆถึงจะมีไพรีมามากมาย                             ก็ต่อสู้จนตายไม่อินัง(ช) ถึงเมียสาวลูกอ่อนนอนผ้าอ้อม ชายก็ยอมทิ้งได้ไม่เหลียวหลัง(ญ) แม้ไม่ทิ้งหญิงคงส่งเสียงดัง                 และดันหลังให้ออกนอกเรือนชาน(สร้อย)(ช) เพราะทั้งแม่ทั้งเมียล้วนเลิศไซร้            ผู้ชายไทยใจจึงล้วนกล้าหาญไม่ห่วงแม่ห่วงเมียจนเสียการ                    มีแก่ใจไปราญ รบไพรี(ญ) หญิงถึงจะรักลูกและรักผัว                  ไม่ยอมให้ชายมัวอยู่สูสียุให้ไปยุทธนารบราวี                               และต่อตีเข้มขันป้องกันเมือง(สร้อย)(หมู่) อันพวกเราชายหญิงทั้งหลายไซร้       อยากให้ไทยชื่นชูฟูกระเดื่อง
สละชีพเพื่อผดุงความรุ่งเรือง                    ให้ขึ้นชื่อลือเลื่องจขรไกลเรายอมเสียชีวารักษาสัตย์                          รักษารัฐสีมาที่อาศัยรักษาชาติศาสนาถาวรไว้                           ให้ไทยคงเป็นไทยชั่วดินฟ้า“เพลงไทยรวมกำลัง” คำร้อง บทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)ประพันธ์ทำนองโดย ครูเอื้อ สุนทรสนานไทยรวมกำลังตั้งมั่น                                 จะสามารถป้องกันขันแข็งถึงแม้ว่าศัตรูผู้มีแรง                                 มายุทธแย่งก็จะปลาศไปขอแต่เพียงไทยเราอย่าผลาญญาติ               ร่วมชาติร่วมจิตเป็นข้อใหญ่ไทยอย่างมุ่งร้ายทำลายไทย                        จงพร้อมใจพร้อมกำลังระวังเมือง
ให้นานาภาษาเขานิยม                              ชมเกียรติยศ ฟูเฟื่องช่วยกันบำรุงความรุ่งเรือง                         ให้ชื่อไทยกระเดืองทั่วโลกาช่วยกันเต็มใจใฝ่ผดุง                                บำรุงทั้งชาติศาสนาให้อยู่จนสิ้นดินฟ้า                                   วัฒนาเถิดไทยไชโย“เพลงไทยสามัคคี” คำร้อง บทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ขับร้องนำหมู่โดย โฉมฉาย อรุณฉาน  ประพันธ์ทำนองโดย ครูเอื้อ สุนทรสนานอย่าเห็นแก่ตัวมัวพะวง                             ลุ่มหลงริษยาไม่ควรที่อย่าต่างคนต่างแข่งกันแย่งดี                      อย่าให้ช่องไพรีที่มุ่งร้ายแม้เราริษยากันและกัน                             ไม่ช้าพลันจะพากันฉิบหายระวังการยุยงส่งร้าย                                 นั่นแหละเครื่องทำลายสามัคคีคณะใดศัตรูผู้ฉลาด                                  หมายมาดทำลายให้เร็วรี่ก็ยุแยกให้แตกสามัคคี                               เช่นกษัตริย์ลิจฉวีวงศ์โบราณ
พราหมณ์ผู้เดียวรับใช้ไปยุแหย่             สาระแนยุญาติให้แตกฉานจนเวลาศัตรูจู่ไปราญ                           มัวเกี่ยงกันเสียการเสียนครฉะนั้นไซร้ขอไทยจงร่วมรัก                จงร่วมสมัครสโมสรเอาไว้เผื่อเมื่อมีไพรีรอน                        จะได้สู้ดัสกรด้วยเต็มแรง“เพลงไร้รักไร้ผล” คำร้อง บทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ขับร้องโดย วรนุช อารีย์ มาริษา อมาตยกุล และ ศรีสุดา รัชตะวรรณ ประพันธ์ทำนองโดย ครูเวชสุนทรจามรเรานี้เกิดมาแล้วชาติหนึ่ง                      ควรคำนึงถึงชาติศาสนาไม่ควรให้เสียทีที่เกิดมา                       ในหมู่ประชาชาวไทยแม้ใครตั้งจิตรักตัว                               จะมัวนอนนิ่งอยู่ไฉนควรจะร้อนอกร้อนใจ                          เพื่อให้พรั่งพร้อมทั่วตนชาติใดไร้รักสมัครสมาน                     จะทาการสิ่งใดก็ไร้ผลแม้ชาติย่อยยับอับจน                            บุคคลจะสุขอยู่อย่างไรหัวเรื่อง : เพลงไทยสากลจากอดีต ตอนที่ 45หัวเรื่อง : เพลงไทยสากลระยะแรกเริ่มหัวเรื่อง : รายการเพลงไทยสากลจากอดีต ตอนที่ 45ผู้จัดรายการ : พูนพิศ อมาตยกุลสถานที่จัดเก็บ : //sirindhornmusiclibrary.li.mahidol.ac.th/thai_contemporary_mu/plengthaisakol-45

ข้อใดเป็นพระราชนิพนธ์เพลงของรัชกาลที่ 2

กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถในด้านนี้ไม่น้อยไปกว่าด้านละครและฟ้อนรำ เครื่องดนตรีที่ทรงถนัดและโปรดปรานคือ ซอสามสาย ซึ่งซอคู่พระหัตถ์ที่สำคัญได้พระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีคือ "เพลงบุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลัน (เลื่อน) ลอยฟ้า" แต่ต่อมา ...

บทเพลงที่ รัชกาลที่ 2 พระราชนิพนธ์ขึ้นมีชื่อว่าอะไร

เพลงพระสุบินจึงนับได้ว่าเป็นเพลงอมตะ ยืนยงมาถึงวันนี้ราว ๒๐๐ ปีแล้ว ทั้งๆ ที่เกิดมาจากความฝัน แสดงให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงใฝ่พระราชหฤทัยในการดนตรีอย่างแท้จริง แม้แต่บรรทมก็ยังทรงพระสุบินเป็นเพลงอมตะได้เช่นนี้

รัชกาลที่2 ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาตอนใด

1. บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ที่ 2 มี 4 ตอน คือ - พลายแก้วได้นางพิม - พลายแก้วได้เป็นขุนแผนและขุนช้างได้นางวันทอง - ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างและได้นางแก้วกิริยา

เพลงที่พระมหากษัตริย์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเป็นเพลงประเภทใด

เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่ขณะประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเมื่อเสด็จฯ นิวัติพระนครใหม่ ๆ นั้นเป็นเพลงในแนว "บลูส์" (Blues) ซึ่งเป็นสไตล์หนึ่งของดนตรีแจ๊ส ที่เริ่มเป็นที่นิยมในสหรัฐตั้งแต่ราวปี พ.ศ. 2443 เสียงโน้ตที่แปร่งหูในแนวบลูส์ และช่วงจังหวะที่ขัดธรรมชาติของเพลงในบางครั้ง ได้สร้างมิติใหม่ให้แก่วงการ ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก