Fill color เป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่อะไร

Bucket Fill Tool เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราเติมสีภาพในบริเวณติดกันและมีค่าสีใกล้กันเคียงกันกับบริเวณที่เราคลิกเม้าส์ได้ ทำให้เราได้สีที่มีระดับความเข้มเท่ากันทั้งภาพ เราสามารถเติมสีด้วย Bucket Fill Tool ดังนี้

  1. คลิกเลือก Bucket Fill Tool
  2. กำหนดค่าของการเติมสีด้วย Bucket Fill Tool ใน Tool Options

Opacity กำหนดค่าความโปร่งแสงของสีที่เทลงไป


Mode กำหนดโหมดในการผสมสีระหว่างสีที่เทลงไปกับสีของภาพเดิม


o Fill Type การเลือกสีที่ใช้ มีให้เลือก 3 แบบ คือ


o FG color fill กำหนดให้เทสีโฟร์กราวนด์ลงในภาพ


o BG color fill กำหนดให้เทสีแบคกราวนด์ลงในภาพ


o Pattern fill กำหนดให้เทสีเป็นภาพลวดลายลงในภาพ ซึ่งสามารถเลือกลักษณะของภาพแพทเทิร์นได้


Affected Area กำหนดลักษณะการเลือกพื้นที่สำหรับเทสี มี 2 ลักษณะ คือ Fill Similar colors จะเป็นการใช้ค่าความต่างสีในการเลือกพื้นที่ที่จะเทสีลงไปในภาพ และ Fill whole selection จะเป็นการเทสีลงในพื้นที่ทั้งหมดที่เลือก โดยไม่คำนึงถึงความต่างสีในภาพ


Finding Similar Color จะสามารถกำหนดค่าได้เมื่อเลือกลักษณะการเทสีแบบ Fill Similar color


o Fill transparent areas ถ้าคลิกเช็คบ็อกซ์ที่อ็อบชั่นนี้จะทำให้สามารถเทสีลงในพื้นที่ที่เป็น Transparent ที่ไม่มีการเติมสีได้ด้วย


o Sample Merge ถ้าคลิกเช็คบ็อกซ์ที่อ็อบชั่นนี้ โปรแกรมจะคำนวณความต่างสีของภาพในทุกเลเยอร์ที่มีอยู่ หากไม่ทำการเช็คบ็อกซ์ โปรแกรมจะทำการคำนวณความต่างสีเฉพาะในลเยอร์ที่ใช้งานอยู่เท่านั้น


o Threshold กำหนดความแตกต่างของค่าสี


Fill by เลือกองค์ประกอบที่ใช้ในการคำนวณค่าการเทสี (โดยการเทสีทั่วไปให้เลือก Composite ซึ่งเป็นค่า Default อยู่แล้ว การเลือกตัวเลือกอื่น อาจจำเป็นต้องศึกษาเรื่องค่าสีเพิ่มเติม)

  1. คลิกเทสีลงบนภาพ

สารบัญ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • หลักการสร้างงานกราฟิก
  • การกำหนดมุมมองภาพ
  • การซูมย่อ-ขยายภาพ
  • การเปลี่ยนขนาดของภาพ
  • การปรับหมุนภาพ
  • การทำงานกับสี
  • การเลือกสี
  • การเทสีด้วย Bucket Fill Tool
  • การเทสีแบบไล่เฉดสีด้วย Blend Tool
  • การระบายสีด้วย Painting Tool
  • การวาดเส้นด้วย Ink Tool
  • การลบภาพที่ไม่ต้องการ
  • การย้อนกลับการทำงานทีละขั้นตอน
  • การย้อนกลับการทำงานในหลายขั้นตอน
  • การตัดภาพเฉพาะส่วน

การทำงานเกี่ยวกับสี (Color)
การวาดเส้น (Line)
การสร้างวัตถุสี่เหลี่ยม,การสร้างวัตถุวงรี/วงกลม
การวาดรูปด้วย Pencil,การวาดรูปด้วย Brush
การนำภาพจากแหล่งอื่นมาใช้งาน

การทำงานเกี่ยวกับสี (Color)

กราฟิกต่างๆ ที่สร้างด้วย Flash ประกอบด้วยสี 2 ส่วน คือ

  • ส่วนที่เป็นโครงร่างของเส้น เรียกว่า Stroke Color
  • สีที่ของพื้นที่ภายในวัตถุ เรียกว่า Fill Color

การควบคุมเกี่ยวกับสี มีหลักพื้นฐาน ดังนี้

  • ถ้าต้องการปรับค่าสีของ Stroke, Fill เป็นค่าสีมาตรฐาน ก็คลิกที่ Default Color ซึ่งจะได้สีของ Stroke เป็นสีดำ และสีของ Fill เป็นสีขาว
  • สำหรับวัตถุที่เป็นทรงเรขาคณิตต่างๆ หากไม่ต้องการให้มีสีพื้น หรือสีเส้น ก็สามารถใช้ปุ่ม No Color ในการควบคุมไม่ให้แสดงสีที่ต้องการ โดยจะต้องคลิกที่ Stroke หรือ Fill Color ก่อน จึงจะคลิกที่ปุ่ม No Color
  • ปุ่ม Swap Color ใช้ในการสลับสีของ Stroke เป็น Fill Color และกลับสี Fill เป็น Stroke Color
  • การเลือกสี ให้คลิกที่ช่องสี ซึ่งจะปรากฏกรอบเลือกสี ดังนี้ (Stroke และ Fill Color มีลักษณะการทำงานลักษณะเดียวกัน)

นอกจากนี้การควบคุมเกี่ยวกับสี ยังต้องอาศัยบัตรฟังก์ชันงาน (Panel) หลายบัตรด้วย ได้แก่

Panel Fill สำหรับเติมสีวัตถุ

Panel Mixer ควบคุมทั้ง Fill และ Stroke Color

Panel Swatches แสดงตารางสี

การเลือกสีเพิ่มเติม

การเลือกสีเพิ่มเติม จะอาศัยปุ่ม โดยเมื่อคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏกรอบสี ดังนี้

การวาดรูปด้วย Brush

Brush Mode - ลักษณะการระบายสีทับรูปที่มีอยู่เดิม ได้แก่

  • Paint Normal สีใหม่จะระบายทุกส่วนของรูปเดิม
  • Paint Fills สีใหม่ระบายเฉพาะส่วนที่เป็น Fill Color
  • Paint Behind สีใหม่จะระบายที่ Stage ไม่กระทบต่อภาพ
  • Paint Selection สีใหม่ระบายส่วนที่เลือกไว้ (ต้องทำ Selection ก่อน)
  • Paint Inside สีใหม่ระบายเฉพาะด้านในของเส้นขอบ

Original image, Paint Normal, Paint Behind, Paint Selection, Paint Fills, and Paint Inside

การนำภาพจากแหล่งอื่นมาใช้งาน

ภาพที่สามารถนำมาใช้งานได้ มีหลากหลายฟอร์แมต ซึ่งสามารถนำมาใช้งานได้ด้วยคำสั่ง File, Import… ซึ่งเมื่อเลือกจะปรากฏกรอบทำงาน ดังนี้

เลือกโฟลเดอร์ และไฟล์ภาพที่ต้องการ จากนั้นจึงคลิกปุ่ม Open ภาพที่ถูกเลือก จะถูกนำมาวางบน Stage เพื่อจัดการต่อไป

สำหรับการนำเข้าภาพ Animation Gif โปรแกรมจะทำการสร้างเฟรมที่จำเป็นให้อัตโนมัติ ซึ่งสามารถตรวจสอบการนำเสนอโดยการกดปุ่ม

กรณีที่ไฟล์ในโฟลเดอร์ที่เลือก มีชื่อตรงกันและตามด้วยตัวเลขที่เป็นลำดับ

โปรแกรมจะสอบถามว่าต้องการนำเข้ามาทั้งหมด (คลิก Yes) หรือเฉพาะไฟล์ (คลิก No)

Text Tool เป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่อะไร

การใช้งานเครื่องมือ Text Tool (เท็ก ทูล ) ในโปรแกรม Gimp ( กิ๊ม ) นั้นเป็นเครื่องมือที่ช่วยในเรื่องของการสร้างตัวอักษรที่เรานั้นต้องการ โดยที่เรานั้นสามารถเลือกแบบอักษรว่าต้องการลักษณธแบบไหน ซึ่งจะมีลักษณะของตัวอักษรที่เราสามารถเลือกใช้งานได้หลากหลาย นอกจากนี้เรายังสามารถใส่สีของตัวอักษรเพื่อให้ตัวอักษรมีความสวยงามและ ...

เครื่องมือ Colors มีอะไรบ้าง

3. กลุ่มเครื่องมือ Colors ใช้ในการเลือกสีให้กับเส้นและพื้น เครื่องมือ การใช้งาน (Paint Bucket Tool) ใช้สาหรับเทสีพื้น (Ink Bottle Tool) ใช้สาหรับเทสีให้เส้นขอบ (Eye Dropper Tool) ใช้สาหรับคัดลอกสีที่ต้องการ (Eraser Tool) ยางลบ ใช้ลบภาพส่วนที่ไม่ต้องการ ออก

Gradient Transform Tool) เป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่อะไร *

หน้าที่การทำงานของเครื่องมือ Gradient Transform Tool สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ เมื่อทำงานกับออบเจ็กต์และได้ทำการเทสีในลักษณะที่มีการไล่เฉดสี (Gradient) เครื่องมือ Gradient Transform Tool จะมีหน้าที่ในการปรับเปลี่ยนทิศทางการไล่เฉดสี รวมถึงปรับ ช่วงโทนสีที่ต้องการให้ปรากฏขึ้นมาได้ตามต้องการ

สเตจ (Stage) ทำหน้าที่อะไร

Stage เป็นชื่อเรียกพื้นที่สร้างภาพกราฟิกของ Flash นับเป็นพื้นที่สำคัญในการสร้างสรรค์ งานกราฟิก หรือสร้าง Movie มีลักษณะเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมสีขาวล้อมด้วยกรอบสีเทา ภาพกราฟิก หรือวัตถุใดๆ สามารถวางได้บนพื้นที่สีขาว และสีเทา แต่เมื่อสั่งนำเสนอผลงาน เฉพาะภาพกราฟิก หรือวัตถุที่วางบนพื้นที่สีขาวเท่านั้น ที่จะแสดงผล

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก