เงินฝากกระแสรายวันเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร

บัญชีกระแสรายวันพิเศษ บริหารเงินอย่างคุ้มค่า ด้วยบัญชีเช็คมีดอกเบี้ย

จำนวนเงินเปิดบัญชีขั้นต่ำและสูงสุด

  • ขั้นต่ำ : 100,000 บาท 
  • สูงสุด : ไม่กำหนด

เงื่อนไขหลัก

  •  รับเปิดบัญชีสำหรับบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยเท่านั้น มูลนิธิ นิติบุคคลทั่วไป กองทุน  (ไม่รับเปิดบัญชีสำหรับผู้เยาว์ หรือสำหรับบุคคลธรรมดาสัญชาติอื่น)
  • กรณีบุคคลธรรมดา ต้องมีจำนวนเงินฝากรวมกันทุกบัญชี ภายใต้ Customer Information File "CIF" เดียวกัน  ตั้งแต่ 500,000 บาท ขึ้นไป (โดยไม่นับรวมยอดเช็คที่รอเรียกเก็บ) จึงจะเปิดบัญชีกระแสรายวันพิเศษได้

เงื่อนไขการฝาก/ ถอน/โอน

การฝาก

  • การฝากเงินสดหรือเช็คของธนาคารทิสโก้ ณ สาขา ของธนาคารทิสโก้ จะยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการฝากเงินข้ามเขต

 การถอน/โอนเงิน

  •  สามารถถอนเงินได้ทุกสาขาธนาคารทิสโก้ หรือช่องทางอื่นตามที่ธนาคารกำหนด โดยธนาคารจะยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการถอนเงินข้ามเขต สำหรับการถอนเงินผ่านสาขาหรือเครื่อง ATM ของธนาคารทิสโก้เท่านั้น

สิทธิประโยชน์

ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ดังนี้

  • แคชเชียร์เช็ค 5 ฉบับต่อเดือน
  • รายการเดินบัญชีย้อนหลังไม่เกิน 6 เดือน
  • หนังสือรับรองเงินฝาก
  • บัตรเอทีเอ็มทิสโก้ใบแรก (TISCO ATM Chip Card) และ ค่าธรรมเนียมบัตรเอทีเอ็มทิสโก้รายปี

ดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย: ข้อมูลอัตราดอกเบี้ยล่าสุด คลิก

การจ่ายดอกเบี้ย: ปีละ 2 ครั้ง ในวันที่ 25 มิ.ย. และ 25 ธ.ค.

การคำนวณดอกเบี้ย:   คำนวณจากยอดเงินคงเหลือ ณ สิ้นวัน

ค่ารักษาบัญชี

กรณีบัญชีไม่มีการเคลื่อนไหวเป็นเวลา 24 เดือนติดต่อกัน และมียอดเงินคงเหลือต่ำกว่า 5,000 บาท ธนาคารจะเรียกเก็บค่ารักษาบัญชี 50 บาทต่อเดือน

ข้อควรระวัง

การปิดบัญชีก่อน 90 วันนับจากวันที่ฝากเงินครั้งแรก ธนาคารจะไม่จ่ายดอกเบี้ย 

เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารเงินได้อย่างคล่องตัว และปลอดภัยมากขึ้นด้วยการสั่งจ่ายเช็คแทนการใช้เงินสด สามารถเบิกถอนเงินสดได้ทุกสาขาทั่วประเทศ เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนลงทุน และขยายกิจการ เงินฝากกระแสรายวัน เหมาะสำหรับนักธุรกิจ และนักลงทุน โดยไม่กำหนดระยะเวลาฝาก

จุดเด่น

รายละเอียดเงินฝาก

เงื่อนไขการฝาก

  • เปิดบัญชี ไม่ต่ำกว่า 5,000 บาท
  • ฝากครั้งละเท่าไหร่ก็ได้

การคิดดอกเบี้ย / ผลตอบแทน

  • บุคคลธรรมดา 0.25 % ต่อปี
  • นิติบุคคลทั่วไป 0.125 % ต่อปี
  • นิติบุคคลไม่แสวงหากำไร 0.25 % ต่อปี
  • สถาบันการเงิน ร้อยละ 0.125 ต่อปี
  • สหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์การเกษตร ร้อยละ 0.125 ต่อปี

ระยะเวลารับฝาก

  • ไม่กำหนด

เงื่อนไขการถอน

  • ใช้เช็คในการถอนเงินหรือผ่านบริการ MyMo (Mobile Banking)
  • เป็นไปตามเงื่อนไขช่องทางที่ให้บริการ

ภาษี ณ ที่จ่าย

  • หักภาษี ณ ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร

การลงรับดอกเบี้ย

  • ปีละ 2 ครั้ง ทุกวันที่ 30 มิถุนายน และวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี

อื่นๆ บริการพิเศษ

  • บริการเช็คเงินด่วน คือการใช้บริการต้องเป็นเช็คของธนาคารออมสิน ซึ่งเป็นได้ทั้งเช็ค ผู้ฝากกระแสรายวัน และเช็ค CO โดยสามารถเบิกถอนเงินสดได้ทันที ทุกสาขาทั่วประเทศ
  • หรือสามารถนำฝากเข้าบัญชีได้ทุกสาขาทั่วประเทศ ซึ่งได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมเช็ค กรณีที่เป็นการนำเช็คในเขตสำนักหักบัญชีมาเข้าบัญชี
  • สามารถใช้บริการโอนเงินจากบัญชีเงินฝากเผื่อเรียกเข้าบัญชีกระแสรายวันพิเศษ ในกรณีที่เงินในบัญชีกระแสรายวันพิเศษไม่เพียงพอกับเช็คที่สั่งจ่าย

คุณสมบัติและเอกสารการสมัคร

คุณสมบัติ

  • บุคคลธรรมดาที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
  • นิติบุคคลทุกประเภท
  • ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น

เอกสารการเปิดบัญชี

  • บุคคลธรรมดา
  • นิติบุคคลทุกประเภท ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น
  • ตามประกาศธนาคารออมสิน (เอกสารแนบ)

เครื่องมือช่วยคำนวณ - การออม

  • ออมเงินแบบสม่ำเสมอ
  • ออมแบบมีเป้าหมาย

จำนวนเงินที่ต้องออมเดือนละ (บาท)

100 100,000

จำนวนปีที่ต้องออม (ปี)

1 ปี 35 ปี

อัตราดอกเบี้ยที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อปี)

0.2% 7%

!

ผลการคำนวณข้างต้นเป็นเพียงประมาณการเบื้องต้นเท่านั้น

  • เงื่อนไขอื่นๆ เป็นไปตามที่ทางธนาคารกำหนด
  • ตราดอกเบี้ยเป็นไปตามประกาศของธนาคาร

ปรับแต่งเป้าหมายจำนวนเงินที่ต้องการ ทดลองปรับเป้าหมายได้ที่นี่

จำนวนเงินใหม่ที่ต้องการออมต่อเดือน 1,000 บาท

จำนวนเงินออมที่ต้องการ (บาท)

10,000 1,000,000

จำนวนปีที่ต้องออม (ปี)

1 ปี 35 ปี

อัตราดอกเบี้ยที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อปี)

0.2% 7%

จำนวนเงินที่ต้องออม (ต่อเดือน)

0
บาท

!

ผลการคำนวณข้างต้นเป็นเพียงประมาณการเบื้องต้นเท่านั้น

  • เงื่อนไขอื่นๆ เป็นไปตามที่ทางธนาคารกำหนด
  • ตราดอกเบี้ยเป็นไปตามประกาศของธนาคาร

ปรับแต่งเป้าหมายจำนวนเงินที่ต้องการ ทดลองปรับเป้าหมายได้ที่นี่

จำนวนเงินใหม่ที่ต้องการออมต่อเดือน 1,000 บาท

จำนวนเงินออมที่ต้องออมเดือนละ

0
บาท

ย้อนกลับ

ลงทะเบียนเงินฝากส่งเสริมการออม

บทความที่เกี่ยวข้อง

Wealth

Nostalverse แผนการตลาดที่ฟื้นคืนความทรงจำวันวานให้คนไทย

ผลวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลเผยว่าการตลาด Nostalverse สามารถปลุกความทรงจำในอดีตเพื่อความสุขที่หวนคืน สู่การต่อยอดกลยุทธ์ธุรกิจที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค

26 October 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Health, Travel

Post Vacation Depression ทำไมใจหมองหม่นหลังเที่ยว

จริงๆแล้วคนเรามีโอกาสเผชิญกับสภาพจิตใจที่แห้งเหี่ยวหลังกลับจากทริปเที่ยว หรือที่เรียกว่า Post Vacation Depression นักเที่ยวตัวจริงควรรับมือกับอาการนี้อย่างไร

26 October 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Health

ดื่มน้ำน้อยไปทำอย่างไรให้ร่างกายได้รับน้ำเพียงพอ

การดื่มน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการย่อมส่งผลเสียต่อให้ใช้ชีวิตไม่เต็มที่ ทั้งยังอาจนำมาซึ่งโรคเรื้อรังอีกมาก ใส่ใจสุขภาพได้ง่ายๆกับเทคนิคดื่มน้ำอย่างเหมาะสม

26 October 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Wealth

วางแผนมีลูกสักคน เก็บเงินล่วงหน้าสักเท่าไหร่ดี

การมีลูกซักคนมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในภาวะปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การมีลูกถือเป็นความสุขสุดยอดของครอบครัว และจะช่วยเติมเต็มครอบครัวให้สมบูรณ์มากขึ้น

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Wealth

ออมเงินแบบไหน กำไรเร็วกว่า

การลงทุนที่เหมาะสมกับตัวเราเอง หากเราทำได้ มันก็จะเป็นการลงทุนที่สร้างผลกำไรงาม และความสุขให้กับชีวิตของเราได้นั่นเอง

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Wealth

ทริคเก็บเงินของมหาเศรษฐีที่พวกเราทำตามกันได้

การคิดนั้นเป็นเรื่องที่ดี แต่การคิดมากจนเกินไปจะทำให้เราวนอยู่ในความคิดของตนเอง เมื่อคิดจนสุดทางแล้วยังไม่สามารถหาคำตอบหรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ ให้หยุดคิดและหันมาใช้จินตนาการ

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Wealth

7 วิธีออมเงินง่าย ๆ ใช้เก่งยังไงก็เก็บเงินอยู่!

การออมเงินไม่ใช่เรื่องยาก แต่เป็นเรื่องของการวางแผน ตั้งใจ หักห้ามใจ และมีวินัยในตนเอง รับรองได้เลยว่า ถ้าทำตามทั้ง 7 วิธีที่กล่าวมานี้ ยังไงก็มีเงินเก็บแน่นอน

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

Lifestyle

จัดการเรื่องเงินให้อยู่หมัดด้วย MyMo

หากเราเป็นแฟนพันธุ์แท้กับทางธนาคารออมสิน แนะนำให้รีบโหลดมาใช้เลย มีประโยชน์ และดีงามกับเรามากๆ มันทำให้ชีวิตของเราสะดวกสบายขึ้น เอาเวลาที่เหลือไปทำงานอย่างอื่นได้อย่างสบายๆ

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – อย่าลืมเรื่องสุขภาพ

สินเชื่อที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ” หรือ Reverse Mortgage ที่ให้ผู้สูงอายุนำบ้านปลอดภาระหนี้ของตัวเองมาจำนองกับธนาคาร แล้วธนาคารจะจ่ายเงินกู้ ให้ทุกเดือน

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – จัดการเรื่องทรัพย์สินมรดก

ปัจจุบันสินเชื่อ Reverse Mortgage มีให้บริการในธนาคารบางแห่งเท่านั้น ถ้าสนใจแนะนำให้ลองดู “สินเชื่อที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ” ของธนาคารออมสิน เลยค่ะ

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – ตรวจสอบรายรับ-รายจ่ายทั้งหมด

วิธีง่าย ๆ ก็คือ ให้ตั้งเป้าหมายการใช้จ่ายในแต่ละประเภท พร้อมกับจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายเอาไว้ทุกครั้ง นอกจากจะป้องกันไม่ให้เงินรั่วไหล

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – เคลียร์หนี้สินที่มี

การเตรียมพร้อมไว้ไม่ใช่เรื่องเสียหาย อย่างน้อยก็ช่วยลดความยุ่งยากให้กับลูกหลาน หรือถ้าคุณเป็นโสด อยู่คนเดียว ไม่มีลูกหลาน

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – ลงทุนให้เหมาะกับความเสี่ยง

ไม่ว่าจะลงทุนประเภทใด ต้องศึกษาข้อมูลและพิจารณาให้รอบด้านก่อนทุกครั้ง หรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุน

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

สังคมสองวัย

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – จัดการเรื่องทรัพย์สินมรดก

ถือเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้สูงวัยที่มีบ้านเป็นของตัวเอง และต้องการเงินไว้ใช้จ่ายยามเกษียณ ก็สามารถเปลี่ยนบ้านให้เป็นรายได้แบบรายเดือนได้ง่าย ๆ

21 September 2022ข้อมูลเพิ่มเติม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก