พัฒนาการของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ม.3 ppt

งานนำเสนอเรื่อง: "ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พัฒนาการของ การประถมศึกษา ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น

2 รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๑
รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๑ สมัยรัชกาลที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๓๑-๒๓๓๒ ได้มีการสร้างพระบรมมหาราชวังภายในวัดพระอามมีแผ่นศิราจารึกสรรพศิลปะวิทยาการมากมาย จารึกมีหลายอย่าง เช่น โบราณคดี วรรณคดี กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ถือเป็น ฉบับตำรา มีพระสมภารวัด และพระภิกษุเป็นผู้สอน มีศิษย์วัด สามเณรและภิกษุเป็นผู้เรียน มีการสอนแบบรายบุคคล สื่อการเรียนการสอนมีการใช้ไม้กระดาน ดินสอหิน ไม้บรรทัด หินหระใบไม้มีการสลักไว้

3 รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๒
รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๒ สมัยรัชกาลที่ ๒ มีการฟื้นฟูกิจการด้านการศึกษา และวรรณคดี การศึกษายังคงมีศูนย์กลางยู่ที่วัดยังไม่มีการ ตั้งโรงเรียนขึ้นและยังไม่มีการแบ่งชั้นเรียนที่แน่นอนเป็นการเรียน การสอน การอ่าน การเขียนใช้หนังสือจินดามณี ซึ่งเป็นหนังสือภาษาไทยเล่มแรก

4 รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๓
รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๓ สมัยรัชกาลที่ ๓ เป็นสมัยที่การกวีรุ่งเรืองมาก และยังคงนำ แบบแผนในหนังสือจินดามณีครั้งกรุงเก่ามาปรับปรุงแก้ไขใหม่ ให้ง่ายขึ้น มีการแต่งบทประพันธ์ประกอบเรื่องช่วยให้การอ่าน แตกฉากฉาน และได้มีหนังสือสำหรับฝึกอ่านให้คล่อง ลักษณะ แบบเรียนเริ่มต้นด้วยพยัญชนะ ๔๔ ตัว ตั้ง ก ถึง ฮ และสระที่ใช้ผสม พยัญชนะ ๑๔ ตัว คือหนังสือประถม ก กา

5 รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๔
รัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๔ รัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๓๗๙ มีการปฎิรูปการศึกษาแบบเดิม มาเป็น การศึกษาแบบระบบโรงเรียนทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็กพระสังฆราชคิดวิธีเขียนภาษาไทย แทนภาษาบาลีและ มีการถอดแบบตัวพิมพ์ไทยจากลายมือการเขียน ลายมือจากใบลาน ที่สวยงาม

6 หนังสือแบบเรียนที่ใช้ศึกษาในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
๑. ประถม ก กา

7 ๒. สุบินทกุมาร

8 ๓. ปฐมมาลา

9 ๔. ประถมจินดามณี เล่ม ๑

10 ๕. ประถมจินดามณี เล่ม ๒

11 อ้างอิง หนังสือการประถมศึกษากับลายสือไทย เรียบเรียง:นางฉวีวรรณ กวีรติกร ผู้จัดพิมพ์:สำนักงานคณะการประถมศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ครั้งที่1 หนังสือการประถมศึกษา พิมพ์ที่ ห.จ.ก. วัชระการพิมพ์ เลขที่ 21/4 ซอยสุขสันต์ 2 ถนนลาดพร้าว กรุงเทพฯ นางประทิน นาควัชระ ผู้พิมพ์-โฆษณา 2522 โทร

12 จัดทำโดย นางสาวเพ็ญศิริ สุโพธิ์ชัย 551121815
นางสาวเพ็ญศิริ สุโพธิ์ชัย นางสาวเกษร วรวัฒน์ นางสาวพรพิมล เงินทอง นางสาวกัญญารัตน์ ถนอมทัพ นางสาวอรสา อุดมลาภ

2หน่วยการเรียนรู้ท่ี

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

สมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น

ครผู สู้ อน
นายชติ พงษ์ ชแู สง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสนิ ทรใ์ นด้านต่างๆ ได้
2. วิเคราะห์ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อความม่ันคงและความเจรญิ รุง่ เรอื งของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ได้

การสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร์

ถามกนั หน่อย ?

บุคคลในภาพคือใคร
และมคี วามสาคญั อย่างไร

พระบาทสมเดจ็
พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

เป็นผทู้ รงสถาปนา
กรุงรัตนโกสินทร์

1. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

ในปลายสมยั ธนบุรี พ.ศ. 2325
ไดเ้ กิดจลาจลข้ึนในกรุงธนบุรี ในขณะน้นั

สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึก
ไดข้ ่าวจึงยกทพั ที่ไปปราบเขมรกลบั มา

ยงั กรุงธนบุรีเพื่อระงบั การจลาจล

1. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

ในวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325
สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึก
ไดป้ ราบดาภิเษกข้ึนเป็นปฐมกษตั ริย์
แห่งราชวงศจ์ กั รี ตามคาอญั เชิญ

ของขนุ นาง

เพ่ือเป็ นการราลึกถึงการสถาปนา
พระบรมราชวงศจ์ กั รีทางราชการจึงกาหนด

ใหว้ นั ท่ี 6 เมษายนของทุกปี เป็นวนั จกั รี

1. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

สัญลกั ษณ์ประจา
พระบรมราชวงศ์จกั รี

1. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

พระบรมราชานุสาวรีย์
พระบาทสมเดจ็
พระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราช

6. วงั เจา้ นาย

5. ศาลหลวงและวดั เจา้ นาย 10. นิคมมลายู

4. สนามหลวง 11. บา้ นเรือนขา้ ราชการ
และราษฎร

1. นิวาสสถานเจา้ พระยาจกั รี 8. ตึกดิน
2. วงั เจา้ นายและคุก 12. นิคมมอญ

7. บา้ นเรือนเสนาบดี 13. นิคมญวน

3. พระราชวงั เดิม 14. นิคมจีน
9. กรมพระนครบาลและคุก

การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

ย้ายราชธานี

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเห็นวา่
บริเวณฝ่ังตะวนั ออกของกรุงธนบุรีเป็นทอ้ งทุ่งโลง่ สามารถขยายเมือง
ไดก้ วา้ ง มีแม่น้าไหลผา่ นออกสู่ทะเลบริเวณอา่ วไทย และเหมาะสม
แก่การทานา พระองคจ์ ึงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างพระบรมมหาราชวงั ใหม่
ข้ึนที่ตาบลบางกอก ฝั่งตรงขา้ มกบั พระราชวงั เดิม และโยกยา้ ยชมุ ชนชาวจีนท่ี

อยใู่ นตาบลบางกอกขณะน้นั ไปยงั บริเวณสาเพง็ ในปัจจุบนั

การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

ย้ายราชธานี

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯ
ใหส้ ร้างวดั พระศรีรัตนศาสดาราม

หรือวดั พระแกว้ ในเขต
พระบรมมหาราชวงั เพอื่
ประดิษฐานพระพุทธมหามณี
รัตนปฏิมากร ซ่ึงอญั เชิญมาจาก
เวียงจนั ทน์ เม่ือคราวไปทาสงคราม

ในสมยั ธนบุรี

การสถาปนาราชธานี

เหตุผลของการตัง้ กรงุ รัตนโกสนิ ทรเ์ ปน็ ราชธานี

ทตี่ ้งั กรงุ ธนบุรีไม่เหมาะสม
เพราะอยู่ในทอ้ งคุง้ น้าเซาะตลิ่งพังอยู่เสมอ

บริเวณพระราชวังเดมิ
ของสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชคับแคบ
ไมส่ ะดวกตอ่ การขยายพระราชวังใหก้ ว้างออกไป

ฝง่ั กรงุ เทพฯ มชี ยั ภูมิเหมาะ เพราะมแี มน่ า้ เจ้าพระยา
เปน็ คูเมอื งท้ังด้านตะวันตก

และด้านใต้ ประกอบกับพนื้ ทนี่ อกคูเมอื งเดิมเป็น
พื้นท่ลี มุ่ ที่เกิดจากการตน้ื เขินของทะเล ข้าศึกจะยก

ทัพมาด้านนี้ ไดย้ าก

ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อความมนั่ คงและความเจรญิ รุ่งเรอื ง

สมัยรตั นโกสินทรต์ อนต้น (รชั กาลที่ 1-รชั กาลที่ 3)

เป็นศนู ย์กลางของ มีลมมรสมุ พดั ผ่าน
อาณาจกั รมี ท้าให้มฝี นตกชุก
เสน้ ทางออกสู่
ทะเล

ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ ความ มแี ม่นา้ หลายสาย
มัน่ คงและความ ไหลผ่านออกสู่
เจริญรุ่งเรอื ง ทะเลบริเวณอา่ ว

ไทย

พระปรชี าสามารถ เปน็ ศูนยร์ วมของ
ของ การขยายตัว
ทางด้าน
พระมหากษัตรยิ ์ วัฒนธรรม
ในราชวงศจ์ ักรี

พัฒนาการดา้ นการเมืองการปกครอง

สมยั รัตนโกสินทรต์ อนตน้ (รชั กาลที่ 1-รชั กาลที่ 3)

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ดา้ นการเมอื งการปกครอง

การบริหารราชการแผน่ ดินในสว่ นกลาง

พระมหากษตั รยิ ์

กรมมหาดไทย กรมกลาโหม
กรมเมือง กรมวงั
กรมท่า กรมนา

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

รูปแบบการปกครอง

ในสมยั พระบาทสมเดจ็ มีอคั รมหาเสนาบดี ทรงแบ่งการปกครอง
พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก 2 ตาแหน่ง คือ ออกเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่
มหาราชทรงยดึ แบบอยา่ ง • การปกครองราชธานี
• สมุหพระกลาโหม • การปกครองหวั เมือง
มาจากสมยั อยธุ ยา • สมุหนายก • การปกครองประเทศ-
กล่าวคือ พระมหากษตั ริย์
ทรงมีอานาจสูงสุดและ ราช
เดด็ ขาดในการปกครอง
16
ประเทศ

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

รูปแบบการปกครอง สมหุ พระกลาโหม บงั คบั บญั ชา
สมหุ นายก ท้งั ดา้ นการทหารและ
การปกครอง พลเรือนหวั เมืองฝ่ ายใต้
ราชธานี
บงั คบั บญั ชา
ท้งั ดา้ นการทหาร

และพลเรือน
หวั เมืองฝ่ ายเหนือ

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

รูปแบบการปกครอง จตุสดมภ์

กรมเมืองหรือ กรมวงั ดูแล กรมคลงั กรมนา ตรวจตรา
นครบาล ดูแล ควบคุม จดั เกบ็ ภาษี และส่งเสริมการ
ควบคุมดูแล พระราชวงั อากร การหารายไดเ้ ขา้ ทาไร่นาของราษฎร
พระราชพธิ ีตา่ ง ๆ ทอ้ งพระคลงั การคา้ ขาย ดูแลที่นาหลวง
รักษาความสงบ การใชจ้ ่าย การเกบ็ รักษา เกบ็ ภาษีขา้ ว และ
เรียบร้อยใน รวมถึงดูแลดา้ น พิจารณาคดีความ
พระนคร คดีความตา่ ง ๆ ที่ พระราชทรัพย์ การ เก่ียวกบั ที่นา
เกิดข้ึนในเขต ติดต่อกบั ตา่ งประเทศ

พระราชวงั

พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ดา้ นการเมืองการปกครอง
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ในสว่ นหวั เมอื ง

หัวเมืองชัน้ นอก

หัวเมืองชน้ั ใน หวั เมอื งประเทศราช

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

รูปแบบการปกครอง

การปกครองหัวเมือง การปกครองประเทศราช

หวั เมืองช้ันใน หวั เมืองที่อยู่ หวั เมืองต่างชาติซ่ึงเจา้ เมืองน้นั ๆ
รายรอบราชธานี ปกครองตนเอง

เป็นหวั เมืองช้นั จตั วา มีการส่งเครื่องราชบรรณาการมา
ถวายแก่เมืองราชธานีตามท่ีกาหนด
หัวเมืองช้ันนอก เมืองที่อยไู่ กลจาก
ราชธานี แบ่งเป็น
เมืองช้นั เอก โท ตรี

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์

การบริหารราชการแผน่ ดินในสว่ นทอ้ งท่ี

ประกอบดว้ ย หมูบ่ า้ นหรอื บ้าน แตล่ ะหมบู่ า้ นจะมผี ู้ใหญบ่ า้ นซึง่ เจา้ เมอื งแตง่ ตงั้ เป็นหวั หน้า หลายหมบู่ ้าน
รวมเป็นต้าบล แตล่ ะตา้ บลจะมกี า้ นันซึ่งเจา้ เมอื งแต่งตั้งเป็นหวั หนา้ หลายต้าบลรวมเป็นแขวง มีเจา้ แขวงเป็น
หวั หนา้ หลายแขวงรวมเป็นเมือง มีเจา้ เมอื งเปน็ ผู้มีอา้ นาจสูงสุดของเมืองน้นั ๆ

ภาพวาดจาาลองเหตกุ ารณ์รชั กาลที่ ๑ โปรด
เกล้าฯ ให้ตรวจชาาระกฎหมายขึ้นใหม่
เรยี กว่า กฎหมายตราสามดวง

นอกจากน้ี ในการปกครองบ้านเมืองยังมีการใช้กฎหมาย ที่เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง เป็นหลักเพ่ือ
ความสงบเรยี บรอ้ ยดว้ ย

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

กระบวนการยตุ ิธรรม ในสมยั รัชกาลท่ี 1 โปรดเกลา้ ฯ
ใหช้ าระกฎหมายท่ีใชม้ าต้งั แต่
สมยั อยธุ ยา เรียกวา่ กฎหมายตราสามดวง

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

กระบวนการยตุ ิธรรม รัชกาลที่ 1 ใหอ้ าลกั ษณ์คดั ลอกไวเ้ ป็น 3 ฉบบั คือ

ใชเ้ ป็นหลกั ในการปกครองประเทศจนถึงรัชกาลที่ 5
ก่อนท่ีจะมีการปฏิรูปกฎหมายและการศาลตามแบบสากล

2. พฒั นาการด้านการเมืองการปกครอง

การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

กระบวนการยุตธิ รรม สมยั รัตนโกสินทร์
ตอนตน้

สมัยรัชกาลท่ี 2 รัชกาลที่ 3
ประกาศใชก้ ฎหมายลกั ษณะโจร
ประกาศใชพ้ ระราชกาหนดสกั เลก หา้ เสน้ ซ่ึงกาหนดวา่ ราษฎรที่อยหู่ ่าง
พระราชบญั ญตั ิหา้ มสูบฝิ่ นและ เหตกุ ารณ์โจรปลน้ ราษฎรในระยะ
ซ้ือขายฝ่ิน ผฝู้ ่ าฝืนถกู ลงโทษถึงข้นั ไม่เกิน 5 เสน้ จะตอ้ งช่วยเจา้ หนา้ ท่ี
จบั โจร มิฉะน้นั จะมีความผิด
โบยตี ถูกยดึ ทรัพย์ นาไป
เป็นตะพนุ่ หญา้ ชา้ ง

พัฒนาการดา้ นเศรษฐกิจ

สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1-รัชกาลท่ี 3)

ช่วยกนั ตอบ

จากภาพนกั เรียนคิดวา่
มีความเก่ียวขอ้ งกบั เศรษฐกิจ

ในสมยั อดีตอยา่ งไร

เป็นเศรษฐกิจแบบยงั ชีพ

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

เศรษฐกิจในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้
ยงั คงเป็นเศรษฐกิจแบบยงั ชีพเช่นเดียวกบั

สมยั อยธุ ยาแต่สินคา้ ส่งออกของไทย
มีปริมาณเพิ่มข้ึนและมีการคา้ กบั หลายประเทศ

รวมท้งั เร่ิมมีการใชร้ ะบบเจา้ ภาษีนายอากร

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ

• การเกษตรมีลกั ษณะเนน้ การปลกู ขา้ ว
เป็นพชื สาคญั เพื่อการบริโภค
ในครัวเรือน จ่ายเป็นค่านา ใหแ้ ก่
รัฐบาล ส่วนที่เหลือจึงนาไปขาย

• มีการเล้ียงสตั ว์ ทาเคร่ืองมือเครื่องใช้
จากวสั ดุท่ีหาไดใ้ นทอ้ งถิ่น

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ พืชเศรษฐกิจท่ีสาคญั นอกจากขา้ วแลว้ กม็ ีพริกไทย ยาสูบ
และพืชเศรษฐกิจภายในทอ้ งถ่ิน เช่น ผกั ผลไม้

ขา้ ว ฝ้าย ยาสูบ

ออ้ ย ผกั ผลไม้

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ

อตุ สาหกรรมที่สาคญั ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ไดแ้ ก่
อุตสาหกรรมน้าตาลทราย ต่อเรือ เหมืองแร่ เช่น เหลก็ ดีบุก

ผลิตผลดา้ นอตุ สาหกรรมทารายไดส้ ูงใหแ้ ก่ราชสานกั
โดยเฉพาะในสมยั รัชกาลที่ 3 อุตสาหกรรมเหลา่ น้ีเจริญเติบโตสูงสุด

โดยผลู้ งทุน คือ พระมหากษตั ริย์ เจา้ นาย ขนุ นาง และชาวจีน

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ เงินตราท่ีใชใ้ นสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ เป็นเงินพดดว้ ง เช่น
เดียวกบั ที่เคยใชก้ นั มาต้งั แตส่ มยั อยธุ ยา เงินพดดว้ งใชโ้ ลหะเงิน
มีตราเครื่องหมายรัชกาลตีกากบั ดงั น้ี

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร รายไดข้ องอาณาจกั รในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีแหล่งท่ีมา
ที่สาคญั คือ

รายไดจ้ ากการคา้ กบั ต่างประเทศ

ส่วนใหญ่คา้ กบั จีน รองลงไป เป็นการคา้ โดยใชเ้ รือสาเภา
ไดแ้ ก่ ญี่ป่ ุน ชวา มีท้งั สาเภาหลวงและสาเภาเอกชน

สิงคโปร์ และอินเดีย อยใู่ นการดูแลของ
กรมพระคลงั สินคา้

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร รายไดข้ องอาณาจกั รในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีแหล่งท่ีมา
ท่ีสาคญั คือ

สินคา้ ออก ดีบุก งาชา้ ง ไม้ น้าตาล พริกไทย รังนก
กระดูกสตั ว์ หนงั สตั ว์ กระวาน และครั่ง

สินคา้ เขา้ เคร่ืองถว้ ยชามสงั คโลก ชา ไหม เงิน
ปื น ดินปื น กระดาษ และเคร่ืองแกว้

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจกั ร

รายไดจ้ ากภาษี ภาษีอากรท่ีเกบ็ ในประเทศ
แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ภาษีอากรท่ีไดจ้ ากภายนอกประเทศ

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจกั ร ภาษีอากรท่ีเกบ็ ภายในประเทศมี 4 ประเภท คือ

จงั กอบ เรียกเกบ็ สินคา้ ของราษฎร โดยชกั ส่วนจากสินคา้
ที่ผา่ นด่านท้งั ทางบกและทางน้าในอตั ราสิบหยบิ
อากร หน่ึงเกบ็ เป็นเงินหรือสิ่งของ

เงินหรือส่ิงของที่รัฐบาลเรียกเกบ็ จากผลประโยชน์
ของราษฎรท่ีไดจ้ ากการประกอบอาชีพคา้ ขาย
หรือรัฐบาลใหส้ ิทธิประชาชนไปทาอาชีพผกู ขาด
โดยเรียกเกบ็ ผลประโยชน์จากราษฎร อากรท่ีสาคญั
ไดแ้ ก่ อากรค่านา อากรสวน อากรค่าน้า

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร ภาษีอากรที่เกบ็ ภายในประเทศมี 4 ประเภท คือ

เงินหรือสิ่งของที่ไพร่หลวงนามาใหแ้ ก่ทาง
ราชการทดแทนการเขา้ เดือน เช่น ดีบุก พริกไทย
ส่ วย มลู คา้ งคาว รวมไปถึงเคร่ืองบรรณาการท่ีเมือง

ประเทศราชถวายใหแ้ ก่อาณาจกั ร

ฤชา ค่าธรรมเนียมท่ีทางราชการเรียกเกบ็
เป็นค่าบริการ เช่น การออกโฉนดท่ีดิน

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจกั ร ภาษีอากรที่ไดจ้ ากภายนอกประเทศมี 2 ประเภท คือ

ภาษีเบิกร่องหรือ เกบ็ จากภาษีเรือสินคา้ ต่างประเทศ
ภาษีปากเรือ โดยคิดตามความกวา้ งของปากเรือ

ภาษสี ินค้าออก เกบ็ ตามประเภทของสินคา้

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร รายไดจ้ ากสินคา้ ผกู ขาดและสินคา้ ตอ้ งหา้ ม

สินค้าผูกขาด • สินคา้ ที่กรมพระคลงั สินคา้ ขายเอง เช่น
อาวธุ กระสุนปื น ดินระเบิด

• เพอ่ื ความมนั่ คงปลอดภยั ของอาณาจกั ร
ถา้ นาเขา้ จากต่างประเทศตอ้ งขายให้
พระคลงั สินคา้ เท่าน้นั

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร รายไดจ้ ากสินคา้ ผกู ขาดและสินคา้ ตอ้ งหา้ ม

สินค้าต้องห้าม • เป็นสินคา้ ท่ีหายาก มีราคาแพง เป็นท่ีตอ้ งการ
ของต่างประเทศ เช่น งาชา้ ง กฤษณา

• ราษฎรตอ้ งขายใหพ้ ระคลงั สินคา้
เพื่อจาหน่ายใหพ้ อ่ คา้ ต่างชาติต่อไป

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายได้ของอาณาจักร รายไดอ้ ่ืน ๆ เช่น

• เคร่ืองราชบรรณาการจากประเทศราช
• ค่าธรรมเนียมที่เรียกเกบ็ จากผชู้ ายชาวจีน

เรียกวา่ ปี้ เริ่มเกบ็ ต้งั แต่สมยั รัชกาลที่ 2
ค่าไถ่โทษและค่าปรับจากผทู้ าความผดิ

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายจ่ายของอาณาจกั ร ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ถือวา่ รายไดท้ ้งั หมดของอาณาจกั ร
เป็นของพระมหากษตั ริยแ์ ละทรงมีพระราชอานาจที่จะใชจ้ ่ายได้
ตามพระอธั ยาศยั จึงเรียกวา่ รายจ่ายพระราชทรัพย์ ซ่ึงแบ่งออก
ไดเ้ ป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่

จ่ายเป็ นเบีย้ หวัด เป็นเงินรายไดร้ ายปี แก่เจา้ นายและขนุ นาง

รายจ่ายในด้าน รายจ่ายในการเล้ียงดูสตั วพ์ าหนะ ซ้ืออาวธุ
ความม่ันคง

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกจิ ไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2398

รายจ่ายของอาณาจักร ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ถือวา่ รายไดท้ ้งั หมดของอาณาจกั ร
เป็นของพระมหากษตั ริยแ์ ละทรงมีพระราชอานาจที่จะใชจ้ ่ายได้
ตามพระอธั ยาศยั จึงเรียกวา่ รายจ่ายพระราชทรัพย์ ซ่ึงแบ่งออก
ไดเ้ ป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่

รายจ่ายในด้าน การก่อสร้าง ปฏิสงั ขรณ์วดั
การศาสนา การบาเพญ็ พระราชกุศล

รายจ่ายอื่น ๆ รายจ่ายในงานพระราชพิธีต่าง ๆ รายจ่าย
ดา้ นสงเคราะห์คนอนาถา ทุพพลภาพ

เร่ืองน่ารู้: พระคลงั สินค้า

หน่วยงานท่ีทาการคา้ กบั ต่างประเทศในระบบผกู ขาด คือ
เป็นผกู้ าหนดวา่ สินคา้ ชนิดใดตอ้ งซ้ือขายผา่ นพระคลงั สินคา้
และกาหนดราคา พอ่ คา้ ไทยและพอ่ คา้ ต่างชาติจะซ้ือขาย
สินคา้ กนั เองโดยตรงไม่ได้ ทาใหพ้ ระคลงั สินคา้ ไดก้ าไรมาก
พอ่ คา้ ต่างชาติไม่พอใจวิธีการน้ี ระบบพระคลงั สินคา้ ยกเลิกไป

ในสมยั รัชกาลที่ 4 เมื่อทาสนธิสญั ญาเบาวร์ ิงกบั องั กฤษ

ค้นหาคา

ภ า ษี ป า ก เ รื อ

จั จ อ ค น บ่ ส่ ว ย

ง าดธอสมภ

มซก จ รนฝฤ ย

รปรอช ตชค

ส รี ด ภ บ ส์ ฝ า ย

พัฒนาการดา้ นสงั คม

สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ (รชั กาลที่ 1-รชั กาลท่ี 3)

ช่วยกนั ตอบหน่อยนะ

ภาพน้ีเกี่ยวขอ้ งกบั สงั คมไทย
สมยั รัตนโกสินทร์อยา่ งไร

เป็นวดั ท่ีสร้างข้ึนในสมยั รัชกาลที่ 1 ซ่ึงพระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ
ใหส้ ร้างวดั พระศรีรัตนศาสดารามข้ึนในพระบรมมหาราชวงั

เพ่อื ใชป้ ระกอบพระราชพิธีทางพระพทุ ธศาสนา

พฒั นาการด้านสังคม

โครงสร้างสงั คมในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้
มีลกั ษณะเช่นเดียวกบั สมยั อยธุ ยาและสมยั ธนบุรี

คือ ใชร้ ะบบศกั ดินาและมีการแบ่งชนช้นั

47

พฒั นาการด้านสังคม

สังคมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

โครงสร้างสังคม ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้

พระมหากษตั ริย์
พระบรมวงศานุวงศ์ หรือเจา้ นาย

ขนุ นาง
ไพร่
ทาส

มีระบบศกั ดินาเป็นพ้นื ฐานในการจดั ระบบสงั คมตามอยา่ งอยธุ ยา

พฒั นาการด้านสังคม

สังคมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

โครงสร้างทางสังคม แบ่งกลมุ่ คนในสงั คมออกเป็นชนช้นั ต่าง ๆ 5 ชนช้นั

พระมหากษตั ริย์ • เป็นสมมติเทพดารงตาแหน่ง
เจา้ นาย สูงสุดของอาณาจกั ร
ขนุ นาง • เป็นเช้ือพระวงศ์ คือ เจา้ ฟ้า พระองคเ์ จา้
ไพร่ หม่อมเจา้
ทาส • เป็นขา้ ราชการที่ไดร้ ับแต่งต้งั จาก
พระมหากษตั ริย์

•เป็นราษฎรทวั่ ไปแบ่งเป็นไพร่หลวงข้ึนกบั
พระมหากษตั ริย์ไพร่สมที่พระมหากษตั ริย์
พระราชทานใหเ้ จา้ นายและขนุ นาง

• เป็นกรรมสิทธ์ิของนายทาสหรือนายเงิน

พฒั นาการด้านสังคม

สังคมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394

โครงสร้างทางสังคม ระบบศักดนิ า

เป็นระบบท่ีกาหนดฐานะของคนในสงั คมโดยใชจ้ านวน
ที่นาเป็นเคร่ืองวดั (ไมไ่ ดถ้ ือครองท่ีนาจริง) จานวนไพร่
ที่ครอบครอง หลกั เกณฑใ์ นการปรับไหม และลาดบั ในการ
เขา้ เฝ้า ผทู้ ่ีมีหนา้ ที่ความรับผิดชอบต่อสงั คมและประเทศชาติมาก

กม็ กั จะมีศกั ดินามากตามไปดว้ ย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก