สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน ม.5 สรุป

สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและการตั้งถิ่นฐาน     

        การตั้งถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ซึ่งเป็นปัจจัยการกำหนดรูปแบบของบ้านและวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างบ้านของประชากร เพื่อให้สามารถปรับตัวกับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม

        1. การตั้งถิ่นฐานในเขตภูมิอากาศแห้งแล้ง  มีลักษณะการตั้งถิ่นฐานที่สำคัญคือมีการสร้างบ้านโดยใช้โคลนหรือดินเหนียว เช่น บริเวณทุ่งหญ้าชายขอบทะเลทราย ทวีปแอฟริกา เขตที่ราบลุ่มไทกรีสยูเฟรตีสในทวีปเอเชียที่นิยมสร้างบ้านโดยใช้โคลนหรือดินเหนียวเพราะเป็นวัตถุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและคงทนอยู่ได้นาน นอกจากนั้นยังมีการสร้างบ้านด้วยหิน โดยมากเป็นหินปูนและหินทราบรูปทรงของบ้านมักจะเป็นทรงสี่เหลี่ยมที่เรียบง่ายเป็นบ้านของประชาชน ที่ตั้งอยู่ในเขตภูเขาซึ่งใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

        2. การตั้งถิ่นฐานในเขตภูมิอากาศร้อนชื้น มีฝนตกชุกเกือบตลอดทั้งปี มักนิยมสร้างด้วยไม้ซึ่งหาได้ง่ายท้องถิ่นโดยเฉพาะไม้เนื้อเข็งมีใต้ถุนที่สูงโปร่งเพื่อระบายอากาศเป็นบ้านชั้นเดียวและยกใต้ถุนสูงเพื่อป้องกันน้ำท่วม

        3. การตั้งถิ่นฐานในเขตภูมิอากาศอบอุ่น บ้านของคนในชนบทนิยมสร้างด้วยไม้สนที่มีมากในพื้นที่รูปทรงเรียบง่ายลักษณะเป็นกระท่อมมิดชิด เพื่อป้องกันอากาศภายนอกพบในเขตที่มีอากาศแบบอบอุ่น เช่น ตอนเหนือของอเมริกาเหนือ

        4. การตั้งถิ่นฐานเขตภูมิอากาศหนาวเย็น บ้านเรือนสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ฝาบ้านหนาทึบและมิดชิดหลังคาทรงสูงและแข็งแรง เพื่อรองรับการทับถมของหิมะทีช่องระบายอากาศในเขตอากาศเย็นของยุโรปและอเมริกาเหนือ

คุณภาพชีวิตของประชากร

        คุณภาพชีวิต หมายถึง คุณภาพของประชากรที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย และทางจิตใจ มีความพร้อมจะดำรงชีวิตในสังคมและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม

ลักษณะของประชากรที่มีคุณภาพชีวิต มีดังนี้

        1. มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจ

        2. มีระดับรายได้ที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ไม่เดือดร้อน

        3. เป็นผู้ที่มีระดับการศึกษาในระดับสูงและสามารรถนำมาใช้ประกอบอาชีพและแก้ไขชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

        4. เป็นผู้มีบุคลิกภาพดี เช่น มีมนุษย์สัมพันธ์ ความคล่องตัวในการทำงาน

        5. เป็นผู้มีคุณธรรม เช่น ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยในตนเอง เป็นต้น

        ลักษณะของประชากรที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี จะเกิดขึ้นกับประชากรของประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นส่วนใหญ่ เพราะมีความพร้อมทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมและลักษณะของประชาชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ต่ำจะเป็นลักษณะของประชาชนของประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศโลกที่สามส่วนใหญ่เป็นประชากรในทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใต้ ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญ คือ

        1. มีสุขภาพไม่ดี อันเนื่องจากเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่าง ๆ

        2. ขาดความรู้ ซึ่งเกิดจากการขาดโอกาสทางการศึกษาทำให้การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันไม่เหมาะสม

        3. ขาดศักยภาพทางเศรษฐกิจทำให้เกิดปัญหาความยากจนของประชาชนไม่สามารถเลี้ยงดูตนเองได้

        4. ขาดความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต ทั้งนี้อาจเกิดจากปัญหาความไม่มั่นคงทางการเมืองของประเทศต่าง ๆ ทำให้ประชาชนขาดหลักประกัน เรื่องสิทธิเสรีภาพของตน

        5. ขาดความสุขทำให้สุขภาพจิตไม่ดี เป็นโรคจิตเสื่อมและอื่น ๆ

        6. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ซึ่งเป็นสภาพในเขตที่พักอาศัย เช่น ไม่ถูกสุขอนามัย เป็นสังคมที่มีแต่ความสับสนวุ่นวาย เป็นต้น

ภมู ศิ าสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6

Slide PowerPoint_สอ่ื ประกอบการสอน

บรษิ ทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

3หนว่ ยการเรยี นรู้ที่

ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั ประชากร
และการตงั้ ถ่ินฐาน

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่งิ แวดล้อมทางกายภาพกบั วิถีการดาเนนิ ชวี ติ ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์ ได้แก่ ประชากร และการต้งั ถิ่นฐาน (การกระจายและการเปลีย่ นแปลง

ประชากร ชุมชนเมอื ง และชนบท และการกลายเปน็ เมือง)

ประชากรโลกและประชากรไทย การกระจายและความหนาแน่นของประชากรโลก

1 เอเชยี

ประชากร : 4,494 ลา้ นคน
ความหนาแน่น : 100 คน/ตร.กม.

ทวปี ที่มจี านวนประชากรและความหนาแนน่ มากที่สดุ ในโลก ? เนื่องจากปจั จยั ใด ?
มพี ้นื ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้า และที่ราบชายฝ่งั อุดมสมบูรณ์
ทวปี เอเชยี เหมาะแก่การเพาะปลูก

ประชากรโลกและประชากรไทย การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรโลก

1 เอเชีย

ประชากร : 4,494 ลา้ นคน
ความหนาแน่น : 100 คน/ตร.กม.

6 ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี

ประชากร : 42 ลา้ นคน
ความหนาแน่น : 4 คน/ตร.กม.

ทวีปที่มจี านวนประชากรและความหนาแน่นน้อยทสี่ ุดในโลก ? เน่อื งจากปจั จยั ใด ?

ทวีปออสเตรเลียและโอเชยี เนยี มพี ้นื ทีส่ ่วนใหญเ่ ปน็ ทะเลทรายทแ่ี ห้งแล้ง

ประชากรโลกและประชากรไทย การกระจายและความหนาแน่นของประชากรโลก

4 อเมริกาเหนือ 3 ยุโรป 1 เอเชยี

ประชากร : 582 ลา้ นคน ประชากร : 745 ลา้ นคน ประชากร : 4,494 ล้านคน
ความหนาแน่น : 23 คน/ตร.กม. ความหนาแนน่ : 73 คน/ตร.กม. ความหนาแน่น : 100 คน/ตร.กม.

5 อเมรกิ าใต้ 6 ออสเตรเลียและโอเชยี เนยี

ประชากร : 423 ลา้ นคน ประชากร : 42 ล้านคน
ความหนาแนน่ : 23 คน/ตร.กม. ความหนาแนน่ : 4 คน/ตร.กม.

2 แอฟรกิ า

ประชากร : 1,250 ล้านคน
ความหนาแน่น : 41 คน/ตร.กม.

นักเรยี นคดิ ว่ามี ปัจจัย ใดอีกบา้ งทีส่ ่งผลตอ่ จานวนและความหนาแนน่ ของประชากร ในทวีปอ่นื ๆ ?

การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรไทย

ภาคทมี่ คี วามหนาแน่นของประชากร มาก ท่ีสุด ?

ภาคกลาง

เพราะเหตุใด ?
ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนทีร่ าบลมุ่ ทอ่ี ุดมสมบูรณ์
เป็นศูนยก์ ลางเศรษฐกิจของประเทศ

ภาคกลาง
ประชากร : 15.06 ล้านคน
ความหนาแนน่ : 164 คน/ตร.กม.

การกระจายและความหนาแน่นของประชากรไทย

ภาคที่มจี านวนและความหนาแน่นของประชากร นอ้ ย ทส่ี ุด ?

ภาคตะวันตก

เพราะเหตุใด ?
พน้ื ที่ส่วนใหญ่ ทางตะวันตก เปน็ แนวทวิ เขา
สูงสลบั หบุ เขา มีพืน้ ที่ราบนอ้ ย

ภาคตะวนั ตก
ประชากร : 3.19 ล้านคน
ความหนาแน่น : 59 คน/ตร.กม.

ภาคกลาง
ประชากร : 15.06 ล้านคน
ความหนาแนน่ : 164 คน/ตร.กม.

ภาคเหนอื การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรไทย
ประชากร : 6.01 ลา้ นคน
ความหนาแนน่ : 64 คน/ตร.กม.

ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นกั เรียนคิดว่ามี ปจั จยั ใดอีกบ้างท่ีส่งผลต่อจานวนและความหนาแน่น
ประชากร : 21.90 ล้านคน
ความหนาแน่น : 130 คน/ตร.กม. ของประชากร ในภาคอืน่ ๆ ?

ภาคตะวันตก ภาคตะวนั ออก
ประชากร : 3.19 ลา้ นคน ประชากร : 15.06 ลา้ นคน
ความหนาแน่น : 59 คน/ตร.กม. ความหนาแน่น : 164 คน/ตร.กม.

ภาคกลาง
ประชากร : 15.06 ลา้ นคน
ความหนาแนน่ : 164 คน/ตร.กม.

ภาคใต้
ประชากร : 9.28 ลา้ นคน
ความหนาแน่น : 131 คน/ตร.กม.

พรี ะมดิ ประชากรแบบ ฐานกว้าง พรี ะมิดประชากรแบบ คงที่ โครงสร้างประชากร
พีระมิดประชากรแบบ ฐานแคบ

ลักษณะโครงสร้าง ประชากรวยั เด็กมมี ากกว่าวยั อ่ืน สดั ส่วนแต่ละชว่ งอายใุ กล้เคยี งกนั สัดสว่ นประชากรวยั เดก็ ลดลง
อตั ราเกิด-ตาย อตั ราเกดิ สงู ตายสูง อตั ราเกิดและตายคอ่ นข้างคงท่ี อัตราเกิดสงู และตายลดตา่ ลงมาก
ตัวอยา่ งประเทศ อัฟกานสิ ถาน บังกลาเทศ สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี จนี เยอรมนี สวีเดน สงั คโปร์

การเปลี่ยนแปลงประชากรโลกและประชากรไทย อตั ราเกดิ

• ทวปี ทีม่ ีอัตราเกดิ ของประชากร
มากทส่ี ุด คอื ทวีปแอฟรกิ า

มสี าเหตุมาจาก ขาดความรู้เร่ืองการ
วางแผนครอบครวั และคุมกาเนดิ

ปี 2560

อัตราตาย

• ทวปี ที่มีอัตราตายของประชากร
มากทส่ี ดุ คือ ทวปี ยุโรป
มีสาเหตุมาจาก มปี ระชากรสงู อายุ
จานวนมาก เสยี ชวี ิตจากโรคระบบ
หวั ใจและหลอดเลือด

ปี 2560

ปี 2558 ปี 2573 การเปลีย่ นแปลงประชากรสงู อายุ
ปี 2593

อายุ 60+ 901 ล้านคน อายุ 60+ 1,402 ลา้ นคน อายุ 60+ 2,092 ล้านคน
หรอื 12.3 % ของประชากรทงั้ หมด หรือ 16.5 % ของประชากรทัง้ หมด หรอื 21.5 % ของประชากรทัง้ หมด

มีสาเหตุมาจาก จานวนประชากรสูงอายมุ ีแนวโนม้ เพมิ่ ขนึ้
ส่งผลกระทบอย่างไร • การพฒั นาเศรษฐกิจ การแพทย์ เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์
• จานวนแรงงานลดลง สญู เสยี งบประมาณในการดแู ลผูส้ งู อายุ

ยุ โ ร ป การยา้ ยถิน่

ตุรกี เ อ เ ชี ย จนี การยา้ ยถนิ่ ภายในประเทศ
ซเี รยี อริ กั • ย้ายจากชนบทสเู่ มืองเพื่อหางานทา
อนิ เดยี • เช่น การย้ายถิ่นของประชากร
แ อ ฟ ริ ก า
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือสภู่ าคกลาง
หลงั ฤดเู กบ็ เกย่ี ว

ตุรกี ยุ โ ร ป การย้ายถ่นิ
ซีเรยี อริ ัก
เ อ เ ชี ย จนี การย้ายถ่นิ ระหว่างประเทศ
แ อ ฟ ริ ก า • ย้ายเพื่อหนีภยั ธรรมชาติ สงคราม
อินเดยี พมา่
และเพือ่ พัฒนาฐานะทางเศรษฐกจิ
• เช่น การย้ายถิน่ แรงงานจากจีน

อนิ เดีย และพม่า เข้าส่ปู ะเทศไทย
• การหนภี ัยสงครามจากซเี รยี

ส่ปู ระเทศอิรกั ตรุ กี เป็นตน้

ยุ โ ร ป การย้ายถิน่

ตรุ กี เ อ เ ชี ย จนี การยา้ ยถน่ิ ระหว่างทวปี
ซีเรยี อิรกั • ย้ายเพ่ือแสวงหาชวี ติ ท่ดี ีขนึ้
อินเดีย พมา่
แ อ ฟ ริ ก า ในประเทศปลายทาง
• ปัจจบุ นั เปน็ การยา้ ยถน่ิ ของแรงงาน

ขา้ มชาติ เชน่ การย้ายถนิ่ ของ
แรงงาน จากเอเชยี และแอฟรกิ า
สทู่ วปี ยโุ รป

การเปลก่ียานรแตปัง้ลถงน่ิปรฐะาชนาเกมรอื โลงแกแลละะชปนรบะชทากรไทย ขนาดการต้ังถ่ินฐานของมนษุ ย์

1 กลมุ่ บ้าน (hamlet)

หมบู่ า้ นขนาดเลก็ ประชากร นอ้ ยกว่า 100 คน

2 หม่บู า้ น (village)

ชุมชนขนาดใหญ่กวา่ กลมุ่ บ้าน ประชากรเฉล่ีย 100 – 1000 คน

3 เมอื ง (town)

ประชากรเฉลีย่ 1,000 – 100,000 คน

4 เมอื งใหญ่ (city)

มีเขตปกครองท่แี นน่ อน ประชากรเฉลยี่ 100,000 – 300,000 คน

5 มหานคร (metropolis)

มีประชากรมาก เป็นศนู ย์กลางเศรษฐกจิ และการปกครอง

6 อภิมหานคร (megalopolis)

เขตท่มี มี หานครและเมอื งใหญ่ ตัง้ อยหู่ นาแนน่ ติดต่อกัน

ความแตกตา่ งระหวา่ งเมืองและชนบท

ชนบท เมอื ง

1 มกี ารวางผังทอี่ ยูอ่ าศยั เพอื่ รองรบั ประชากรท่เี พม่ิ ขน้ึ
2 มีการดารงชวี ติ โดยพ่ึงพาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3
4 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เล้ยี งสัตว์ ประมง
5 ประสบปญั หามลพษิ จากอุตสาหกรรมและการจราจร
6 ศูนย์กลางการค้าและเศรษฐกิจ มอี าชีพหลากหลาย

การตง้ั ถน่ิ ฐานใกล้แหลง่ นา้ มีรปู แบบไม่แน่นอน

การตัง้ ถนิ่ ฐานเมอื ง

เมอื ง (town) มกี ารยา้ ยถิ่นเขา้ มคี วามเจรญิ

ด้านสาธารณปู โภค และสาธารณปู การ

เมืองใหญ่ (city) มกี ารพัฒนาเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม

มหานคร (metropolis) เป็นศูนยก์ ลางการปกครอง
เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม

อภิมหานคร (megalopolis) มหานครหลายมหานคร
ทมี่ อี าณาเขตติดตอ่ กัน

การต้งั ถน่ิ ฐานชนบท

เปน็ รปู แบบการตง้ั ถนิ่ ฐานแบบใด ?
แบบโดดเดี่ยว

สรา้ งทอ่ี ย่อู าศยั ในพ้ืนที่เกษตรของตนเอง

การตง้ั ถนิ่ ฐานชนบท

เปน็ รปู แบบการตง้ั ถิน่ ฐานแบบใด ?
แบบรวมกลมุ่

สร้างทอี่ ยอู่ าศยั อยูร่ วมกันเปน็ กลุ่ม
อาจมีวดั โรงเรยี น ตลาด

การตัง้ ถ่นิ ฐานชนบท

เปน็ รปู แบบการตั้งถน่ิ ฐานแบบใด ?
แบบแนวยาว

สรา้ งท่ีอยู่อาศัยเปน็ แนวยาวตาม
เส้นทางคมนาคม และแมน่ ้า

การตั้งถ่นิ ฐานชนบท

เปน็ รปู แบบการตัง้ ถนิ่ ฐานแบบใด ?
แบบตารางกรดิ

• สรา้ งถิ่นฐานตามผังถนนทว่ี างแผน
เป็นรปู สีเ่ หลยี่ ม

คกวาารมเปเปล็นย่ี นเมแอื ปงลงกปารระใชชา้ทกีด่รโินลใกนแเลมะอื ปงระแชลาะกปรไัญทหยาเมือง ความเป็นเมือง

พ.ศ.2533

• ใน พ.ศ. 2533 ประชากรในเขตเมอื ง น้อย กว่า ชนบท
• ทวปี เอเชียและแอฟริกามีสดั ส่วนของความเป็นเมือง น้อย กวา่ ทวปี อ่นื ๆ

• เมืองขนาดใหญ่ ทีม่ ีประชากรเกนิ 10 ลา้ นคน มเี พียงไม่กแ่ี ห่ง

คกวาารมเปเปล็นยี่ นเมแอื ปงลงกปารระใชชาท้ กด่ีรโินลใกนแเลมะอื ปงระแชลาะกปรไญั ทหยาเมอื ง ความเป็นเมือง

พ.ศ.2560

• ใน พ.ศ. 2560 ประชากรในเขตเมอื ง มาก กวา่ ชนบท

• หลายประเทศในทวปี เอเชียและแอฟรกิ ามสี ดั ส่วนของความเป็นเมืองเพม่ิ มากขึ้น เป็น 40-60 %
• เมืองขนาดใหญ่ ท่มี ีประชากรมากกวา่ 5 ลา้ น และ 10 ลา้ นคน เพ่ิมจานวนขึ้นอยา่ งมาก

เขตศูนยก์ ลางธรุ กิจการคา้ ของเมือง การใชท้ ีด่ นิ ภายในเมือง
ย่านการค้าขนาดใหญ่ใจกลางเมอื งสะดวก
เขตทอ่ี ยู่อาศัยผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย
ตอ่ การเขา้ ถึง มีขนาดเลก็ มีความหนาแนน่ มาก เป็นชมุ ชนแออัด

เขตอตุ สาหกรรม เขตท่อี ยู่อาศัยผู้มีรายไดป้ านกลาง
อุตสาหกรรมขนาดเลก็ อยใู่ นเขตเมอื ง อยู่ใกลย้ ่านใจกลางเมืองแตม่ ีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่
อตุ สาหกรรมหนกั อยบู่ รเิ วณชานเมอื ง
เขตท่อี ยอู่ าศัยผมู้ รี ายได้สงู
เขตสถาบันและศนู ยก์ ลางการบริหาร อยบู่ รเิ วณชานเมอื ง ไมม่ ีปญั หาเรื่อง
มีสถานทรี่ าชการ สถาบันการศกึ ษา
ความแออัด ที่ดินราคาถกู
รวมถึงที่พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ

ปญั หาเมอื ง

1 ปญั หาการขยายตวั ของเมอื ง

4 ปัญหาความไม่ปลอดภัย 2 ปัญหาชุมชนแออัด

5 การเปล่ียนแปลงวิถชี วี ติ ครอบครัว

3 ปัญหาส่งิ แวดลอ้ ม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก