แบบ ฟอร์ม สัญญา ซื้อขาย ระหว่าง ประเทศ ภาษาอังกฤษ

ในการตีพิมพ์ครั้งที่ 3 นี้ ผู้เขียนได้ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับพัฒนาการด้านกฎหมาย ที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาหลังจากฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 ถึงฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 อาทิ การแก้ไข เพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในส่วนที่เกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย แนวคําพิพากษา ศาลฎีกาเกี่ยวกับหลักฐานที่ทําขึ้นผ่านระบบอินเตอร์เน็ต รวมถึงการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่ เกี่ยวกับภาษีอากรและการรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection) ด้วย เพื่อ ให้เนื้อหามีความทันสมัย

ผู้เขียนขอขอบพระคุณผู้อ่านที่ให้การตอบรับหนังสือเล่มนี้ และขอขอบพระคุณสํานักพิมพ์นิติธรรมที่ให้การสนับสนุนในการพิมพ์หนังสือเล่มนี้มาโดยตลอด

หากผู้อ่านพบข้อผิดพลาด หรือมีข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจ้งให้ผู้เขียนทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง

จันทิมา ลิมปานนท์ - โยธิน อินทรประสงค์

คําย่อที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้

ป.พ.พ. -  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ป.วิ.พ. - ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

คําหรือข้อความใน [ ] มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้แล้วแต่บริบทของร่าง (เฉพาะในส่วนของ สัญญานั้นๆ ระหว่าง (ก) เป็นตัวเลือกจากผู้เขียนที่อาจถูกนํามา 

ตัวอย่าง ใช้แทนข้อความด้านหน้า หรือ (ข) เป็นเพียงข้อเสนอจากผู้เขียน ร่างสัญญาภาษาอังกฤษ ที่อาจตัดออก หรือเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ทั้งหมดนี้ ในบทที่ 5-29)

แล้วแต่ที่คู่สัญญาจะได้ตกลงกัน ในบทบ

คำย่อที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้

บทที่ 1 เทคนิคการร่างสัญญาภาษาอังกฤษ

1.1 ความถูกต้องแม่นยำ (Precisc)

1.1.1 จงระมัดระวังการใช้คำสรรพนาม (Pronouns)

1.1.2 กวรใช้ระยะเวลากำกับ

1.1.3 ควรใช้ถ้อยคำหรือศัพท์เฉพาะทางกฎหมาย

1.1.4 ควรอ้างอิงตัวบทกฎหมายหรือข้ออื่นๆในสัญญา

1.2 ความเรียบง่าย (Simplicity)

1.2.1 พยายามทำประโยกให้สั้นลง

1.2.2 ใช้ประโยคในรูปแบบกรรตุวาจก (Active Voice)

1.2.3 ตัดถ้อยกำที่ไม่จำเป็นออก

1.2.4 การจัดการประโยคหรือวดีที่เพิ่มขึ้นมาจากการเจรจาสัญญา

1.3 ความสอดคล้อง (Consistency)

1.3.1 การใช้คำในสัญญาควรสอดกล้องกัน

1.3.2 การเรียงข้อหลัก (มาตรา) และข้อย่อย (อนุมาตรา)ควรสอดคล้องกัน

1.3.3 ข้อสัญญาเบ็ดเตล็ดในสัญญาประธานและสัญญาอุปกรณ์ควรสอดคล้องกัน

บทที่ 2 โครงสร้าง พิธีการ และหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการร่างสัญญา

2.2 แบบหรือพิธีการเพื่อความสมบูรณ์ของนิติกรรมสัญญา

2.3 ข้อสัญญาไม่เป็นธรรม (Unfair Contract Terms)

2.4 การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protection)

แผนผังที่ 1 ตารางสรุปแบบหรือพิธีการเพื่อความสมบูรณ์ของนิติกรรมสัญญาพื้นฐานของสัญญาส่วนใหญ่

บทที่ 3 องค์ประกอบและข้อสัญญ(General Provisions)

3.1 ชื่อสัญญา (Name of Contract)

3.2 วันที่ทำสัญญา (Contract Date)

3.3 สถานที่ทำสัญญา (Place of Contract)

3.4  คู่สัญญา (Parties to the Contract)

3.5 วัตถุประสงค์หรืออารัมภบทของสัญญา (Objectives or Recitals of the Contract)

3.6 คำนิยามหรือคำจำกัดความ (Dcfinitions)

3.7 การมีผลบังกับของสัญญาและอายุของสัญญา (Effectiveness and Contract Term)

3.8 สิทธิของคู่สัญญาแต่ละฝ่าย (Rights of Each Party)

3.9 หน้าที่ของคู่สัญญาแต่ละฝ้าย (Covenants)

3.10 คำรับประกันและคำรับรอง (Representations and Warranties)

3.11 ค่าตอบแทน (Consideration)

3.12 ค่าใช้จ่าย (Expenscs)

3.13 ค่าธรรมเนียมและภาษีอากร (Fces and Taxation)

3.14 เหตุผิดสัญญา (Events of Dcfault)

3.15 การเลิกสัญญา (Termination of Contract)

3.16 ค่าเสียหาย (Damages)

3.17 การโอนสิทธิ (Assignment Provision)

3.18 การส่งคำบอกกล่าว (Notice)

3.19 ข้อสัญญาไม่ถือเป็นการสละสิทธิ (Waiver Provision)

3.20 ข้อตกลงทั้งหมดของสัญญา (Entire Agreement)

3.21 ข้อตกลงแยกส่วนของสัญญา (Scverability)

3:22 การแก้ไขสัญญา (Amendment)

3.23 กฎหมายที่ใช้บังกับกับสัญญา (Applicablc Law)

3.24 การระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement)

3.25 การลงนาม (Signatures)

3.27 ภาคผนวกและความขัดแย้งของเอกสาร (Annexes and Conflicts)

แผนผังที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างบทบัญญัติของกฎหมายและข้อสัญญาพืนฐานของสัญญา

บทที่ 4 ข้อสัญญาพิเศษที่มีในบางสัญญา (Special Provisions)

4.1 การตีความสัญญา (Interpretation of Contract)

4.2 การจัดหาใบอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับสัญญา (Liccnses).

4.3 การปฏิบัติตามกฎหมาย จรรยาบรรณและมาตรฐานความปลอดภัย(Compliance with Laws, Code of Conducts and Safety Standards)

Thammasat University Library, 2 Prachan Road, Phranakorn, Bangkok 10200

Puey Ungphakorn Library (Rangsit Campus), Circulation Desk 662 564-4444 ext. 1305

Pridi Banomyong Library, Circulation Desk 662 613-3544

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก