การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องมีวิธีการอย่างไร

��ѡ����Ӥѭ㹡���֡��
@ �����繡�ä鹤�������Ǣ���Ԩ����� �ջ���繻ѭ�����÷���Ҩй����繻ѭ��(��觼���Ԩ���ѧ����Һ��Ҩз�����ͧ����)
@ �����֡����������ͧ������Ԩ�¨з��Ԩ�¹�� �����·�����ͧ����Һ�ҧ ��ҷ������ռ����ҧ�� �е�ͧ������ش�˹����ѧ���Ѵਹ (����ʴ��������ͧ���з��Ԩ�� �ѧ���Ѵਹ�֧��Ҵ����繪�������ͧ��)

�ش�������㹡���֡�Ҥ鹤����͡��üŧҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ�Ѻ�ѭ��
1. �������͡�ѭ�ҷ��з��Ԩ�� : �繡�����Ǩ���������ͧ�����͹�仡�˹��ͺࢵ����֡�� ������͡�ѭ�����ç�ش�ҡ���
2. ��������Դ������Ш�ҧ㹻ѭ�ҷ��з��Ԩ�� : �繡�õѴ�Թ���Ҥ�èзӡ���Ԩ������ǡѺ�ѭ�ҹ�鹵��� ���ͤ������¹�ѭ�ҷ��з��Ԩ������
3. ������ա����§��÷��Ԩ�«�ӡѺ������ : �ҡ������ռ�����������÷��Ԩ�«�� �͡�ҡ�ըش���ʧ�����͵�Ǩ�ͺ�š���Ԩ�� ��ѧ�ҡ��������¹�ŧ���Ҽš���Ԩ���ѧ����͹����������
4. ���ͤ���෤�Ԥ����Ըա��㹡�÷��Ԩ�� : ��������Դ�Ǥ����Դ㹡�õѴ�Թ���Ҩ���෤�Ԥ�
5. ���ͪ���㹡���Ť������¢����� : �¡����ҧ�ԧ�ŧҹ�Ԩ�·���ռ��������� �з�����դ���������Ͷ����й��ʹ��ҡ��觢��
6. ���ͪ���㹡����ػ��й��ʹͼš��������������� : ����Ť������¨��դ�������ó���觢�� ����շ�ɮ� ���ͼŧҹ�������Ǣ�ͧ�Ѻ�ҹ�Ԩ��ʹѺʹع
7. �����������¹��§ҹ����Ԩ�� : �繡���֡���ٻẺ �к�����ǡ����¹��§ҹ�ͧ������ ��������Դ�Ǥ����Դ���оѲ�ҡ����¹��§ҹ����ջ���Է���Ҿ��觢��

��鹵͹�Ըա���֡���͡�����Чҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ
1. ��˹���ͺ�����ҷ���ͧ����֡��
2. ���Ң����ŷ���ͧ����֡��
3. ��ҹ��Ш��ѹ�֡
4. �����żš���֡��
5. ��¹��§ҹ�š���֡�Ҥ鹤���

1. ��˹���ͺ�����ҷ���ͧ����֡��
�繡��������鹵դ������������з���ͧ����֡�� �¡����������ش���������ҵ�ͧ����֡�����ú�ҧ ��ͧ����������ͧ���� ����ǡѺ....
- �����
- ��ɮ�
- ��ѡ���
- �ǤԴ
- ��������´�ͧ������

2.���Ң����ŷ���ͧ����֡��
ʶҹ��� : ��ͧ��ش, ����ش, ����������
�Ըդ��� : ���ѡ���������ͧ��ҧ�

3. ��ҹ��Ш��ѹ�֡ ���觷���� : ���ͼ���Ԩ�� ��������ͧ�Ԩ�� �շ���Ԩ�� �����Ӥѭ : �ش������� ���ص԰ҹ �Ըմ��Թ����Ԩ�� : �����������ҧ ����ͧ��� ������Ǻ��������� ����������� �š���Ԩ��

4.�����żš���֡�� : �Ǻ��� �������� �ѧ������ �Ѵ��Ǵ����������������

5.��¹��§ҹ�š���֡�Ҥ鹤��� : �繡���ʹ��ǤԴ�ҡ������ ��ɮշ������Ǣ�ͧ �������ѹ��Ѻ�ѭ�� �����������ҹ��������ͧ����Ԩ�����

���觷���Ңͧ�͡��üŧҹ�Ԩ�� ������Ӥѭ����þԨ�ó��֡��
@ ������ : ��������Ǣ�ͧ �š���Ԩ�� ����� �����ػ
@ �ٻẺ����Ԩ�� : �ǤԴ ��ɮ� ����� ������Ǻ��������� ���������������� ���ѡɳ����ҧ��
@ �ӡ�����Ǩ����ͧ�������ػ�ó���ؤ�������㹡���Ԩ�� : ����ѡ��� ��ɮ� �Ǥ����Դ㹡�����ҧ��оѲ�����ҧ��

��ѡ��õ�Ǩ�͡�����Чҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ
1. ���͡���Ǩ��Ǣ�����ҧ���ҧ� �����ͧ�Ҿ�������ͧ�ѭ��
2. ����������� ������������´�������Ǣ�ͧ�µç �蹡���֡�ҵ���� ��ɮ� ��ѡ��� �����������ҧ����͹�ѹ ���������§�ѹ

���觤鹤��� ��Чҹ�Ԩ���͡��÷������ҧ�ԧ �ҡ��ͧ��ش�ͧʶҹ�֡�� ����˹��§ҹ�Ҥ�Ѱ����͡��
1. �͡��� : ˹ѧ��� ���� ������ ���ҹء�� ���ҹء�� ��§ҹ��û�Ъ��������
2.�ҹ�Ԩ�� : ��§ҹ�������ó� �ҹ�Ԩ�ºؤ�� ����ʶҺѹ �ŧҹ�ͧ���Ե�ѡ�֡���дѺ��ԭ��� �͡ ˹ѧ����Ǻ����ҹ�Ԩ�� �������ػ�ͧ�ҹ�Ԩ��������Ѵ��ͧ͢�ҹ�Ԩ��

��ѡ��õ�Ǩ����ԹԨ����͡��÷��й�������ҧ�ԧ
1. ������ҡ�����������������ش �µ�Ǩ�ͺ��͹��ѧ 5-10 �� ���ͪ�������Һ�֧��������˹�ҷҧ�Ԫҡ�âͧ��Ǣ���Ԩ�¹���
2. �Ѵ�ӴѺ�����Ӥѭ�ͧ�͡��� ��������������� ��������ͧ 㨤������ �������Ǣ�ͧ �ç�Ѻ��Ǣ�����ͻ���繷���Ԩ���ҡ����ش

��ѡ��÷���Ӥѭ㹡����¹�͡�����ҧ�ԧ�͡�����мŧҹ�������Ǣ�ͧ
1. ���������ͧ�������Ǣ�ͧ�µç
2. ��੾����ǹ����Ӥѭ�������Ǣ�ͧ��ҹ��
3. ����ػ�����Ңͧ�ҹ�Ԩ�·���������ҧ�ԧ
4. ��ҧ�ԧ�ҡ�ǤԴ ��ɮըҡ�͡��÷��鹤��� ��Ҽš���Ԩ���դ����ʹ���ͧ ���͢Ѵ��駡Ѻ�š���Ԩ�¢ͧ�ú�ҧ ���ҧ��

การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เป็นการศึกษาค้นคว้ารวบรวมความรู้พื้นฐาน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย (Review literature and related research) โดยศึกษาสาระความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นในตำรา หนังสือ วารสาร รายงานการวิจัยและเอกสาร อื่น ๆ เพื่อให้ผู้วิจัยมองเห็นวิวัฒนาการของความรู้หรือทฤษฎีนั้น ๆ ว่ามีพัฒนาการมาอย่างไร ใครเป็นคนต้นคิด มีใครตรวจสอบวิจัยมาบ้างแล้ว มีตัวแปรใดบ้างที่เข้ามาเกี่ยวข้อง แบบแผนการวิจัยทั่ว ๆ ไปเป็นเช่นใด ฯลฯ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นปัญหาแจ่มชัดขึ้น ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อผู้วิจัยในข้อต่อไปนี้  (รศ. นิภา ศรีไพโรจน์ เอกสารประกอบคำสอนเรื่อง “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย” //www.watpon.com/Elearning/res8.htm) และอรุณศรี เตชะเรืองรอง, กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์)

1)  ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ำซ้อนในการวิจัย

2)   ช่วยให้กำหนดขอบเขตของการทำวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด)

3)  ได้แนวทางในการกำหนดสมมุติฐาน (กรณีที่มีสมมุติฐาน)

4)  ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล

5)  ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง

6)  ได้แนวทางในการใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

7)  ได้แนวทางการแปลผลการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย

        เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย หมายถึง เอกสารที่มีเนื้อหาสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเรื่องที่นักวิจัยจะทำวิจัย ดังนั้นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยจึงครอบคลุมถึงเอกสารทุกชนิดทั้งที่เป็นรายงานการวิจัย และที่ไม่ใช่รายงานการวิจัยโดยที่สาระในเอกสารนั้นอาจจะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องที่นักวิจัยจะทำได้ตั้งแต่ระดับเกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่ทำเพียงบางส่วน ได้แก่ กรณีเอกสารเป็นบทความทางวิชาการซึ่งมีเฉพาะส่วนที่เป็นคำนิยามของตัวแปรเท่านั้นที่นักวิจัยสามารถนำมาใช้ได้ หรือกรณีที่เอกสารเป็นรายงานการวิจัยที่มีการใช้เครื่องมือวิจัยหลายชุดและมีชุดเดียวที่ใช้เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือวิจัยของนักวิจัยได้หรือกรณีเอกสารเป็นบทความแสดงถึงปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อนซึ่งนักวิจัยนำมาใช้เขียนรายงานการวิจัยในหัวข้อ “ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาวิจัย” ได้ เป็นต้น สำหรับกรณีเอกสารที่เป็นรายงานการวิจัยที่ทำปัญหาวิจัยเดียวกับงานวิจัยที่ทำนั้นจัดว่ามีความเกี่ยวข้องกันทั้งเรื่อง

          การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เป็นงานสำคัญที่นักวิจัยผู้ฉลาด และ มีประสบการณ์ทุกคนจะทำเป็นงานแรกเมื่อได้ปัญหาวิจัยขั้นต้นแล้วผลจากการศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทำให้นักวิจัยทราบว่ามีนักวิชาการ และนักวิจัยท่านอื่นๆ ได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับปัญหาวิจัยของตนไว้อย่างไรบ้าง สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการวางแผน และการดำเนินการวิจัยของตนได้อย่างมีประสิทธิผลให้ได้ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ

            สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้นักวิจัยศึกษา และนำเสนอรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ได้อย่างมีคุณภาพ มี 3 ประการ คือ

1.  เห็นคุณค่าและความสำคัญของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

2.  มีจุดมุ่งหมายชัดเจนในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

3.  มีความรู้เพียงพอที่จะสามารถศึกษาและนำเสนอรายงานได้ดี

ความสำคัญและคุณค่าของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยมีมาก แต่พอจะสรุปได้ดังนี้

1.  การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในฐานะเป็นเครื่องมือเชื่อมโยงความรู้ทางวิชาการ

การพัฒนาความก้าวหน้าทางวิทยาการในสังคมโลกปัจจุบันนี้ล้วนเป็นผลจากความพยายามแสวงหาความรู้ความจริงของนักวิชาการในอดีตและการสั่งสมความรู้ การสืบทอดเชื่อมโยงความรู้ที่มีในอดีตกับความรู้ใหม่ของนักวิชาการในปัจจุบัน  การแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการวิจัยนั้นเป็นการสั่งสมความรู้และการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทำได้โดยกระบวนการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนั่นเอง การวิจัยที่มีรายงานการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างสมบูรณ์จะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่านักวิจัยได้ใช้ประโยชน์จากความรู้เดิมอย่างไรในการวิจัยของตนและข้อค้นพบจากการวิจัยนั้นจะช่วยสร้างเสริมองค์ความรู้เดิมได้อย่างไร และในส่วนใด

2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ในฐานะเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพื่อทำการวิจัย

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เป็นกิจกรรมหรือวิธีการที่มีคุณค่ามีคุณประโยชน์ต่อนักวิจัยอย่างมาก เมื่อนักวิจัยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยแล้ว นักวิจัยจะได้รับข้อมูล สารสนเทศ และได้แนวทางการดำเนินงานที่จะช่วยให้นักวิจัยสามารถกำหนดแผนแบบการวิจัย การดำเนินการวิจัยตามแผนแบบการวิจัยนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักวิจัยที่ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย นำเสนอรายงานอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และใช้ประโยชน์จาการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้มีความรอบรู้เป็นอย่างดีในเรื่องที่ตนทำวิจัยและได้ผลงานวิจัยมีคุณภาพ คุณประโยชน์ที่นักวิจัยได้รับจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยมี  5 ด้าน ดังนี้

     2.1 ได้แนวคิดทฤษฎี ข้อค้นพบจากการวิจัยและองค์ความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องที่ทำวิจัย นักวิจัยนำมาใช้ประโยชน์ในการสร้างกรอบความคิดสำหรับการวิจัยและให้เป็นเหตุผลสนับสนุนในการกำหนดสมมติฐานวิจัยได้อย่างเหมาะสม

     2.2 ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเดือดร้อนในสังคม ประวัติความเป็นมาของเรื่องที่จะทำการวิจัย และแนวทางการใช้ประโยชน์จากการทำวิจัย นักวิจัยสามารถนำข้อมูลมาใช้เขียนรายงานการวิจัยในส่วนที่เกี่ยวกับความจำเป็นและความสำคัญของการวิจัยของตนได้

     2.3  ได้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะปัญหาวิจัย นิยามตัวแปรและขอบเขตของการวิจัยที่มีผู้ทำไว้ในอดีตในเรื่องที่นักวิจัยสนใจจะทำ สามารถนำความรู้นั้นมาใช้กำหนดปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์ ขอบเขต และนิยามตัวแปรในการวิจัยของตนให้ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อนกับการวิจัยที่มีผู้ทำไว้แล้ว

     2.4  ได้ความรู้และแนวคิดจากการวิจัยในอดีตที่ศึกษาปัญหาวิจัยคล้ายคลึงกัน และได้ทราบถึงจุดเด่นจุดอ่อนของงานเหล่านั้นและนักวิจัยสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการกำหนดแบบแผนการวิจัยและวิธีการดำเนินการวิจัยของตนทุกขั้นตอน นับตั้งแต่การกำหนดกลุ่มประชากร

วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือวิจัย การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลให้มีคุณภาพ มีความถูกต้องมากกว่าการวิจัยในอดีตได้ โดยนำส่วนที่ดี เช่น เครื่องมือวิจัยที่ดี แบบแผน การวิจัยที่ดีมาใช้ และหลีกเลี่ยงหรือหาทางป้องกันมิให้เกิดปัญหาอันเป็นข้อบกพร่อง หรือจุดด้อยเหมือนอย่างการวิจัยในอดีต

     2.5  ได้ข้อค้นพบจากงานวิจัยที่มีผู้ทำไว้แล้วในอดีต เพื่อเป็นแนวทางให้นักวิจัยนำมาใช้ประกอบกับสมมติฐานวิจัย เป็นฐานในการอภิปรายผลของการวิจัยว่าได้ผลสอดคล้องหรือขัดแย้งกันอย่างไร ด้วยเหตุผลอะไร และควรเสนอแนะอย่างไรต่อไป

3. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ในฐานะเป็นเครื่องบ่งชี้คุณภาพของรายงานการวิจัย

การประเมินคุณภาพของการวิจัยวิธีหนึ่งจะประเมินได้จากคุณภาพของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เมื่อนักวิจัยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างถูกต้องสมบูรณ์ และนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนและดำเนินการวิจัยแล้วย่อมทำการวิจัยนั้นได้ผลดี ได้ผลงานวิจัยที่มีความถูกต้องและตอบปัญหาวิจัยได้จริง คุณภาพของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยจึงเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นอย่างหนึ่งที่ทำให้ได้รายงานการวิจัยที่มีคุณภาพ อย่างไรก็ดีคุณภาพของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยมิได้อยู่ที่จำนวนหรือปริมาณของเอกสารแต่อยู่ที่ลักษณะของเอกสารนั้นว่ามีความเกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างไร มีการนำสาระจากเอกสารเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในการวิจัยมากน้อยเพียงไร งานวิจัยที่มีรายงานการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยจำนวนมาก แต่เอกสารมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำวิจัยน้อยและนักวิจัยมิได้ใช้ประโยชน์จากรายงานการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเลยแสดงว่ารายงานการวิจัยฉบับนั้นด้อยคุณภาพ อย่างน้อยที่สุดก็ด้อยคุณภาพในด้านการเชื่อมโยงความรู้ทางวิชาการ

กล่าวโดยสรุปการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย มีความสำคัญต่อการสร้าง สั่งสมองค์ความรู้ทางวิชาการ การดำเนินการวิจัย และคุณภาพของงานวิจัยเป็นสิ่งที่นักวิจัยทุกคนควรทำ

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง คืออะไร

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิจัย ที่จะเอื้อต่อขั้นตอนอื่น ๆ ได้ ตลอดเวลาท าการวิจัย ยิ่งค้นคว้าครอบคลุม และเอกสารมีความทันสมัยเท่าไร ก็เป็นประโยชน์มาก เท่านั้น ในการค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง มีจุดมุ่งหมายส้าคัญ เพื่อหลีกเลี่ยงการท าซ้ากับผู้อื่น ทราบ แนวคิด ทฤษฎี ตัวแปรที่เกี่ยวข้องและเทคนิควิธี ...

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องทำเพื่อสิ่งใด

2.3 การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.
ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ำซ้อนในการวิจัย.
ช่วยให้กำหนดขอบเขตของการทำวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด).
ได้แนวทางในการกำหนดสมมุติฐาน (กรณีที่มีสมมุติฐาน).
ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล.
ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง.

การค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องมีความสำคัญอย่างไร

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เป็นกิจกรรมหรือวิธีการที่มีคุณค่ามีคุณประโยชน์ต่อนักวิจัยอย่างมาก เมื่อนักวิจัยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยแล้ว นักวิจัยจะได้รับข้อมูล สารสนเทศ และได้แนวทางการดำเนินงานที่จะช่วยให้นักวิจัยสามารถกำหนดแผนแบบการวิจัย การดำเนินการวิจัยตามแผนแบบการวิจัยนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ...

การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีผลต่อการวิจัยอย่างไรบ้าง

จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย จะมีประโยชน์ต่อ การวิจัยทางการศึกษาเป็นอย่างมาก คือ ช่วยท าให้ได้ทราบว่างานวิจัยนี้มีใครท าแล้วหรือยัง น าผลมา ใช้อ้างอิงเพื่อให้เกิดความเชื่อถือในการวิจัย ช่วยก าหนดหัวข้อวิจัย สมมติฐาน ตัวแปร ฯลฯ ฉะนั้น ก่อนที่จะมีการวางแผนการดาเนินการวิจัย ในขั้น ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก