ข้อใดหมายถึงระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์


�Ԫ�.�������������෤��������ʹ��3.. (����..�20106.) �дѺ �Ѹ���֡�һշ��..3. �ش��� 2
����ͧ .�к���Ժѵԡ�ä���������.. �ӹǹ .15.. ���
�� �.�ح�ѹ��� ��ҹ�Թ��� .. �ç���¹�ѭ���֡��...
����� ���͡ ���� ����ӵͺ���١��ͧ����ش
��ͷ�� 1)
�������¶֧ �Ϳ������(software)
   ��û����ż�
   �ػ�ó��;�ǧ
   ��������ҧ�����
    �ش�����
��ͷ�� 2)
�к���Ժѵԡ�� Windows �Ѩ�غѹ�������Ѳ�ҡ���Ҷ֧���㴵��仹��
   Windows10
   Windows Vista
   Windows xp
   Windows7
��ͷ�� 3)
���㴷���������˹�ҷ��ͧ�к���Ժѵԡ��
   �ӧҹ����ӴѺ�����
   ��Ǩ�ͺ��õԴ����ػ�ó������������������
   �Ǻ�����÷ӧҹ�ͧ�к�����������
   ��Ǩ�ͺ�����§ҹ�����Դ��Ҵ����ǡѺ�к�
��ͷ�� 4)
�������§�ӴѺ�к���Ժѵԡ�� Windows �ҡʹյ�Ҩ��֧�Ѩ�غѹ�����ҧ�١��ͧ
   Windows 95 ,Windows 7, Windows xp, Windows vista
   Windows 8 ,Windows 10, Windows 7, Windows xp
   Windows xp ,Windows 7, Windows 8, Windows 10
   Windows 7 ,Windows 8, Windows 10, Windows xp
��ͷ�� 5)
�������ѡɳС�÷ӧҹẺ Single Tasking
    �ӧҹ������� 1 �����
   ���������������ѹ���¤�
   �ӧҹ������ѹ������� �����
    �ӧҹ������ѹ����� ��
��ͷ�� 6)
�������������Ե�º���ѷ Apple ���к���Ժѵԡ��㴵��仹��
   Unix
   Mac OS X
   Ubutu
   Windows
��ͷ�� 7)
������������к���Ժѵԡ��
   �к���Ժѵԡ�� �͹���´�
   �к���Ժѵԡ�ô��
   �к���Ժѵԡ�����ëͿ�������
   �к���Ժѵԡ�����ëͿ���Թ����
��ͷ�� 8)
��ͧ��Ժѵԡ�ä��������� 2 ��� �ç���¹�ѭ���֡�����к���Ժѵԡ������
   Windows 10
   Windows xp
   Windows 8
   Windows 7
��ͷ�� 9)
�������ѡɳС�÷ӧҹẺ Multi Tasking
   �ӧҹ�����Ǿ�����ѹ��������ͧ
   ������������¡��÷ӧҹ
   �����¤��ӧҹ�����ѹ
   ������������ӧҹ������ѹ
��ͷ�� 10)
�к���Ժѵԡ�� (Operating System) �ժ������¡������ѧ���������ҧ��
   Operating System
   Operat System
   Optra System
   Opera System

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3

1. ข้อใดหมายถึงระบบปฏิบัติการ

. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล

. โปรแกรมที่นำมาประยุกต์ใช้ในระบบการทำงานต่าง ๆ

. ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

. ซอฟต์แวร์ที่เขียนเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่ต้องการ

2. ข้อใดหมายถึงโปรแกรมประยุกต์

. โปรแกรมที่นำมาติดตั้งในโปรแกรมประยุกต์

. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่ต้องการ

. โปรแกรมที่ทำงานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้

. ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ควบคุมโปรแกรมประยุกต์

3. การบูตเครื่องมีกี่ประเภท

.5 ประเภท                         ข.4 ประเภท

.3 ประเภท                         ง.2 ประเภท

4. โคลด์บูตคือข้อใด

. การบูตเครื่องโดยการทำขึ้นใหม่

. การบูตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง

. การบูตเครื่องโดยทำให้เกิดกระบวนการบูตใหม่

. การปิดและเปิดเครื่อง

5. ขั้นตอนการบูตเครื่องในคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน

.8 ขั้นตอน                        .7 ขั้นตอน

. 6 ขั้นตอน                        ง.5 ขั้นตอน

6. ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) หมายถึงข้อใด

. สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้งานกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่าง ๆ

. ระบบปฏิบัติการที่ทำงานในหน่วยความจำหลัก

. พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทำงาน

. โปรแกรมส่วนสำคัญจะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจำแรม

7. ส่วนประสานงานกับผู้ใช้มีกี่ประเภท

. 5 ประเภท                         ข. 4 ประเภท

. 3 ประเภท                         . 2 ประเภท

8.Directory ในตำราบางเล่มใช้ชื่อใด

. Stricter                         ข. Protection

. Folder                           ง. Hierarchical

9. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลหมายถึงข้อใด

. อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ จากภายนอกเครื่องได้

. อุปกรณ์แสดงผลชั่วคราว

. อุปกรณ์ที่แสดงผลถาวร

. อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ควบคุมหรือส่งผลออก

10.   อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลและส่งข้อมูลออกมีกี่ประเภท

. 5 ประเภท                         ข. 4 ประเภท

. 3 ประเภท                         . 2 ประเภท

 1). ระบบปฏิบัติการคืออะไร

ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสำคัญของระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ และผู้ใช้

2). ไบออสคืออะไร จงอธิบาย

คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานในการบู๊ตเข้าระบบคอมพิวเตอร์ ถูกติดตั้งอยู่ในชิบประเภท ROM บนเมนบอร์ด การทำงานของ ไบออส จะทำงานหลังจากมีการเปิดสวิทซ์ ทันที ที่มีการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งในคอมพิวเตอร์ เช่น harddisk, disk drive, cd-rom, ram เป็นต้น

3). การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

ขั้นตอนที่ 1 : รับข้อมูลเข้า (Input)

เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์  ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น   ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง   ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ   หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อมูล (Process)

เมื่อนำข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม 
นำข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output)

เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กำหนดไว้   โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้

4).ไฟล์ (File) หรือแฟ้มข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย

มี 2 ประเภทใหญ่ๆ

1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซึ่งเก็บข้อมูลที่สำคัญ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัติ ลูกค้า (Customer master file) ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น แฟ้มข้อมูลประวัติผู้จัดส่งสินค้า (Supplier master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ (Inventory master file) แฟ้มข้อมูลบัญชี (Account master file) เป็นต้น ซึ่งแฟ้มข้อมูลหลักเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของระบบงานบัญชี (Account system)

2. แฟ้มรายการปรับปรุง (Transaction file) เป็นแฟ้มที่บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลหลักที่มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน รายการที่เกิดขึ้นต้องนำไปปรับปรุงกับแฟ้มข้อมูลหลักเพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีข้อมูลที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา การปรับปรุงแฟ้มข้อมูลสามารถทำได้หลายอย่าง เช่น การเพิ่มรายการ (Add record) การลบรายการ (Delete record) และการแก้ไขรายการ (Edit)

5). Memory Management คืออะไร จงอธิบาย

      คือ การจัดการหน่วยความจำหลัก

1. การย้ายตำแหน่ง (Relocation) ระบบปฏิบัติการในปัจจุบัน ยอมให้โปรแกรมทำงานพร้อมกันได้หลายงานแบบ multiprogramming ซึ่งโปรเซสต่าง ๆ เข้าใช้งานหน่วยความจำร่วมกัน จึงต้องมีการสลับโปรแกรมให้เข้าออกหน่วยความจำได้ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงค่าตำแหน่งในหน่วยความจำที่อ้างถึงในโปรแกรม ให้ถูกต้องตามตำแหน่งจริงในหน่วยความจำ เช่นโปรแกรม a อ้างถึงตำแหน่งที่ 1000 และโปรแกรม b ก็อ้างถึงตำแหน่งที่ 1000 เช่นกัน

              2. การป้องกันพื้นที่ (Protection) ระบบปฏิบัติการควรสามารถป้องกันโปรเซส จากการถูกรบกวน ทั้งทางตรง และทางอ้อม ดังนั้นก่อนให้โปรเซสใดเข้าครอบครองหน่วยความจำ จะต้องมีการตรวจสอบก่อน และใช้เวลาค้นหาเพื่อตรวจสอบตลอดเวลา

              3. การใช้พื้นที่ร่วมกัน (Sharing) การป้องกันเพียงอย่างเดียว อาจทำให้การใช้ทรัพยากรไม่คุ้ม จึงต้องมีการจัดสรรให้ใช้พื้นที่ของหน่วยความจำร่วมกันอย่างยืดหยุ่น

              4. การจัดการแบ่งโปรแกรมย่อย (Logical organization) ระบบปฏิบัติการจะแบ่งโปรแกรมเป็นโปรแกรมหลัก และโปรแกรมย่อย โดยนำเฉพาะโปรแกรมหลักลงในหน่วยความจำ แต่นำโปรแกรมย่อยลงหน่วยความจำเฉพาะเมื่อมีการเรียกใช้เท่านั้น

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 3

1. ข้อใดหมายถึงระบบปฏิบัติการ

. โปรแกรมที่นำมาประยุกต์ใช้ในระบบการทำงานต่าง ๆ

. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล

. ซอฟต์แวร์ที่เขียนเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่ต้องการ

. ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุมโปรแกรมประยุกต์

2. ข้อใดหมายถึงโปรแกรมประยุกต์

. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่ต้องการ

. โปรแกรมที่นำมาติดตั้งในโปรแกรมประยุกต์

. ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ควบคุมโปรแกรมประยุกต์

. โปรแกรมที่ทำงานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้

3. การบูตเครื่องมีกี่ประเภท

.2 ประเภท                         .3 ประเภท

.4 ประเภท                         ง.5 ประเภท

4. โคลด์บูตคือข้อใด

. การบูตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง

. การบูตเครื่องโดยการทำขึ้นใหม่

. การปิดและเปิดเครื่อง

. การบูตเครื่องโดยทำให้เกิดกระบวนการบูตใหม่

5. ขั้นตอนการบูตเครื่องในคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน

.5 ขั้นตอน                        ข.6 ขั้นตอน

.7 ขั้นตอน                        ง.8 ขั้นตอน

6. ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interfaee) หมายถึงข้อใด

. ระบบปฏิบัติการที่ทำงานในหน่วยความจำหลัก

. สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้งานกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่าง ๆ

. โปรแกรมส่วนสำคัญจะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจำแรม

. พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทำงาน

7. ส่วนประสานงานกับผู้ใช้มีกี่ประเภท

.2 ประเภท                         ข.3 ประเภท

.4 ประเภท                         ง.5 ประเภท

8.Directory ในตำราบางเล่มใช้ชื่อใด

. Protection                     ข. Stricter

. Hierarchical                   . Folder

9. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลหมายถึงข้อใด

. อุปกรณ์แสดงผลชั่วคราว

. อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ จากภายนอกเครื่องได้

. อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ควบคุมหรือส่งผลออก

. อุปกรณ์ที่แสดงผลถาวร

10.   อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลและส่งข้อมูลออกมีกี่ประเภท

.2 ประเภท                         ข.3 ประเภท

.4 ประเภท                         ง.5 ประเภท

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก