ข้อใดเป็นความหมายของจิตตสิกขา

คำว่า “การศึกษา” มาจากคำว่า “สิกขา” โดยทั่วไปหมายถึง “กระบวนการเรียน “ “การฝึกอบรม” “การค้นคว้า” “การพัฒนาการ” และ “การรู้แจ้งเห็นจริงในสิ่งทั้งปวง” จะเห็นได้ว่า การศึกษาในพระพุทธศาสนามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับต่ำสุดถึงระดับสูงสุด เมื่อแบ่งระดับอย่างกว้าง ๆ มี 2 ประการคือ
                         1. การศึกษาระดับโลกิยะ มีความมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตในทางโลก
                         2. การศึกษาระดับโลกุตระ มีความมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตเหนือกระแสโลก
  ในการศึกษาหรือการพัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนา นั้น พระพุทธเจ้าสอนให้คนได้พัฒนาอยู่ 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านศีล ด้านจิตใจ และด้านสติปัญญา โดยมีจุดมุ่งหมายให้มนุษย์เป็นทั้งคนดีและคนเก่ง มิใช่เป็นคนดีแต่โง่ หรือเป็นคนเก่งแต่โกง การจะสอนให้มนุษย์เป็นคนดีและคนเก่งนั้น จะต้องมีหลักในการศึกษาที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งในการพัฒนามนุษย์นั้นพระพุทธศาสนามุ่งสร้างมนุษย์ให้เป็นคนดีก่อน แล้วจึงค่อยสร้างความเก่งทีหลัง นั่นคือสอนให้คนเรามีคุณธรรม ความดีงามก่อนแล้วจึงให้มีความรู้ความเข้าใจหรือสติปัญญาภายหลัง
                        ดังนั้นหลักในการศึกษาของพระพุทธศาสนา นั้นจะมี ลำดับขั้นตอนการศึกษา โดยเริ่มจาก สีลสิกขา ต่อด้วยจิตตสิกขาและขั้นตอนสุดท้ายคือ ปัญญาสิกขา ซึ่งขั้นตอนการศึกษาทั้ง 3 นี้ รวมเรียกว่า "ไตรสิกขา"  ซึ่งมีความหมายดังนี้
                      1. สีลสิกขา การฝึกศึกษาในด้านความประพฤติทางกาย วาจา และอาชีพ ให้มีชีวิตสุจริตและเกื้อกูล (Training in Higher Morality)
                      2. จิตตสิกขา การฝึกศึกษาด้านสมาธิ หรือพัฒนาจิตใจให้เจริญได้ที่ (Training in Higher Mentality หรือ Concentration)
                      3. ปัญญาสิกขา การฝึกศึกษาในปัญญาสูงขึ้นไป ให้รู้คิดเข้าใจมองเห็นตามเป็นจริง (Training in Higher Wisdom)

ข้อใดเป็นความหมายของจิตตสิกขา


[124] �ԡ�� 3 ���� ���ԡ�� (��ͷ��е�ͧ�֡��, ��ͻ�ԺѵԷ������ѡ����Ѻ�֡�� ��� �֡�Ѵͺ����� �Ҩ� �Ե� ��лѭ�� �����觢��仨�����بش�����٧�ش��;�йԾ�ҹ � the Threefold Learning; the Threefold Training)
�������1. ͸�����ԡ�� (�ԡ�Ҥ������ѹ���, ��ͻ�Ժѵ�����Ѻ�֡ͺ��㹷ҧ������оĵ����ҧ�٧ � training in higher morality)
�������2. ͸ԨԵ��ԡ�� (�ԡ�Ҥ�ͨԵ�ѹ���, ��ͻ�Ժѵ�����Ѻ�֡�Ѵͺ���Ե��������Դ�س��������Ҹ����ҧ�٧ � training in higher mentality)
�������3. ͸Իѭ���ԡ�� (�ԡ�Ҥ�ͻѭ���ѹ���, ��ͻ�Ժѵ�����Ѻ�֡ͺ���ѭ�� ��������Դ������������ҧ�٧ � training in higher wisdom)

����������¡����� ��� ��� ��Ҹ� �ѭ�� (morality, concentration and wisdom)

[***] �ب�Ե 3 �� [81] �ب�Ե 3.
[***] �ʴҺѹ 3 �� [58] �ʴҺѹ 3.
[***] ͡������ 3 �� [68] ͡������ 3.
[***] ͡����Ե� 3 �� [70] ͡����Ե� 3.

���ҹء���ط���ʵ�� ��Ѻ�����Ÿ��� �������駷�� �� �.�. ����
http://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=124

สมาธิภาวนาในทางพุทธศาสนา หมายถึงการแสวงหาประสบการณ์ทางจิตวิญญาณด้วยการฝึกปฏิบัติ มิใช่ด้วยการเรียนรู้หรือการทำความเข้าใจจากหนังสือหรือตำรา พุทธศาสนาถือว่า จิตเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของความเป็นมนุษย์ เพราะจิตเป็นตัวกำหนดการกระทำทั้งทาง กาย วาจา ใจ ดังนั้นจิต จึงควรที่จะต้องได้รับการขัดเกลาและพัฒนา การปฏิบัติสมาธิโดยนัยดังกล่าวนี้จึงจะถือว่าเป็นการ "ภาวนา"   เพราะนอกจากจะเป็นการฝึกสมาธิเพื่อแสวงหาความสงบระงับในชั่วขณะแล้ว ยังต้องเป็นไปเพื่อทำจิตให้บริสุทธิ์ ด้วยการลดละอาสวกิเลสทั้งหลาย เช่น ความอยาก ความใคร่ ความอิจฉา พยาบาท ความวิตก กังวล อวิชชา ความกระวนกระวาย ความเกรียจคร้านเฉื่อยชาและยังเป็นการเพาะบ่มจิตใจให้มีเมตตา ปัญญา พลัง สติ สมาธิ และมองเห็นสัจธรรมในที่สุด

ข้อใดเป็นความหมายของจิตตสิกขา

ลักษณะของไตรสิกขา
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/3376-005439/

ข้อใดเป็นความหมายของจิตตสิกขา

  http://pumalone.blogspot.com/2012/12/blog-post_27.html

ข้อใดเป็นความหมายของจิตตสิกขา
          ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา ๓ ด้าน คือ ศีล เป็นหลักการพัฒนาระดับความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม สมาธิ เป็นหลักการพัฒนาจิตใจให้มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพในการคิดพิจารณาตัดสินใจกระทำหรือไม่กระทำการใด ๆ ปัญญา เป็นหลักการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ รู้จักสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น และสามารถแยกแยะวิเคราะห์สืบหาสาเหตุของสิ่งทั้งหลายได้ชัดแจ้ง ไตรสิกขาจึงเป็นกระบวนการพัฒนาแบบบูรณาการ

จิตตสิกขาหมายถึงอะไร

2) ขั้นสมาธิ(จิตตสิกขา) คือการฝึกสมาธิขั้นต้น ในการควบคุมสติให้นักเรียนรวมจิตใจ ความคิดแน่ว แน่เป็นจุดเดียว นักเรียนตัดสิ่งรบกวนอื่น ๆ ออกจากความคิดและจิตใจเป็นการแก้ขั้นต้นในการควบคุมสติให้ ระลึกรู้อยู่กับลมหายใจ เพื่อความระลึกได้ รู้แน่วแน่จุดเดียว ในขั้นตอนนี้ จะเกี่ยวข้องกับหลักปฏิบัติที่เรียกว่า “จิตสิกขา” หมายถึง ...

อธิปัญญาสิกขาหมายถึงข้อใด

อธิปัญญาสิกขา คือการที่ภิกษุได้บรรลุจตุตถฌานแล้วนั่งเข้าฌานด้วยจิตอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว เธอมีจิตบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้วก็โน้มน้อมจิตไปเพื่อญานทัสสนะ จนได้บรรลุวิชชาหรือเห็นประจักษ์ซึ่งสามัญญผลที่สูงขึ้นดียิ่งขึ้นตามลำดับ คือ

สิกขา 3 หมายถึง ข้อใด

ไตรสิกขา หมายถึงสิกขา 3 คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญา สิกขา...”

อธิจิตตสิกขา มีอะไรบ้าง

อธิสีลสิกขา คือศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ