ข้อใดถือว่า เป็นการทำผิดจารีตหรือกฎศีลธรรม

�ѧ����ʵ�� �Ѱ��ʵ�� ������ͧ ���ɰ��ʵ�� >>

��èѴ����º�ҧ�ѧ��

ͧ���Сͺ�ͧ��èѴ����º�ѧ��

���¶֧ �ҵðҹ��褹��ǹ�˭�㹡�����ִ��� ���Ƿҧ㹡�û�Ժѵ� ���� �� ����º ẺἹ������оĵԵ�ҧ �

�������ͧ��÷Ѵ�ҹ�ҧ�ѧ�� ���� 3 ������ ���

1. �Զջ�Ъ� ���� �Զժ�Ǻ�ҹ (Folkways)
2. ����Ÿ��� ���� ���յ (Morals)
3. ������ (Laws)

�Զջ�Ъ� ���� �Զժ�Ǻ�ҹ (Folkways)

���¶֧ �Ƿҧ��û�ԺѵԢͧ�ؤ����ѧ�� ��觻�ԺѵԵ�������ªԹ ����繷������Ѻ��ѧ�� �� ����ء��餹��ҹ���ö��Шӷҧ �Զջ�Ъ� �ѧ���¶֧ ����ҷ�ҧ�ѧ�� �ҹ�Ըյ�ҧ � ������¹��� �� ����觡�� ����Ѻ��зҹ����� ����Һ����ѹ�� 2 ���� �繵� ������������軯ԺѵԵ���Ƿҧ�ѧ����Ǩ����Ѻ��õ���¹ �������¶ҡ�ҧ ���͡�ùԹ�Ҩҡ�����蹷������Ҫԡ��ͧ��ԺѵԵ��

����Ÿ��� ���� ���յ (Morals)

���¶֧ ����ºẺἹ�����Ҫԡ��ѧ����Ժѵ��� ��觤�Ѵ�դ����Ӥѭ�ҡ�����Զջ�Ъ� �ҡ���㴽�ҽ׹�ж١�ѧ����г�����ҧ�ع�ç ����Ÿ����ѡ�繢������ �繡���ͺѧ�Ѻ ���������ͧ�ͧ��Ÿ��������Ѻ�Դ�ͺ���Ǵ����������Ǣ�ͧ�����ҡ

������ҧ�ͧ����Ÿ������ͨ��յ�ͧ�� ��

- ��������觧ҹ�Ѻ�١���
- �١�зغ�վ����������

������ (Laws)

���¶֧ ��ࡳ�����͢�ͺѧ�Ѻ����Ѱ�ѭ�ѵԢ��������ѡɳ��ѡ���� ͧ���÷ҧ������ͧ��û���ͧ������Ѻ����Ѻ�ͧ�ҡͧ���âͧ�Ѱ ���ͤǺ����ؤ����ѧ���ҡ���㴽�ҽ׹�������Ѻ���ŧ�ɵ������������ ����º ��ͺѧ�Ѻ ����Ҫ��˹� ����Ҫ��ɮա� ��о���Ҫ�ѭ�ѵ� �繵� �����·��յ�ͧ�ѹ����˵ء�ó� �����繡����·��Ҵ��ó��ҧ˹����

�����Ӥѭ�ͧ��÷Ѵ�ҹ��͡�èѴ����º�ҧ�ѧ�� ���

1. ���Ƿҧ�ĵԡ����ͧ��������ء���դ������������ѹ ������ա�û�оĵԻ�Ժѵ�� �����ǡѹ

2. �����Ǻ�����Ҫԡ��ѧ���������㹡�ͺ�ͧ�ѧ�� ������ѹ���µ���ѧ�� ���������� �������ö�ӷ����觷��է����Ъ�������

��÷Ѵ�ҹ�ҧ�ѧ�����ͻ��ʶҹ (Norms)
ʶҹ�Ҿ (Status)
���ҷ (Roles)
�Է����������Ҿ �Է�� ������ҹء����Ѻ�Ҫ�ѳ�Ե�ʶҹ
��äǺ����ҧ�ѧ�� (Social control)
��кǹ��âѴ��ҷҧ�ѧ�� (Socialization)

     การจัดระเบียบทางสังคม  หมายถึง  กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กัน  ภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน  เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม

     1. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมเป็นไปอย่างเรียบร้อย

     2. เพื่อป้องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม

     3. ช่วยให้สังคมดำรงอยู่อย่างสงบสุขและมั่นคงในสังคม

     1. บรรทัดฐานของสังคม

     2. สถานภาพ

     3. บทบาท

     4. การควบคุมทางสังคม

     1. บรรทัดฐานทางสังคม  หมายถึง มาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ในกลุ่มยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ได้แก่ กฎ ระเบียบ แบบแผนความประพฤติต่างๆ
     ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม
          1.1 วิถีประชาหรือวิถีชาวบ้าน หมายถึง แนวทางการปฏิบัติของบุคคลในสังคมที่ยอมรับและปฏิบัติตามความเคยชิน
          1.2 กฎศีลธรรมหรือจารีต หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งจะมีความสำคัญมากกว่าวิถีประชา
                หากฝ่าฝืนจะถูกสังคมประณามและลงโทษ และมีเรื่องของศีลธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
          1.3 กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับที่เป็นลายลักษณ์อักษร ใช้ควบคุมความประพฤติของคนในสังคม
                ให้เป็นไปตามกระบวนการยุติธรรมที่กำหนดไว้

     2. สถานภาพ  หมายถึง ตำแหน่งของบุคคลที่สังคมกำหนดขึ้น  หรือตำแหน่งที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคม  และบุคคลเดียวอาจมีหลายสถานภาพได้
     ลักษณะของสถานภาพ
          2.1 เป็นสิ่งเฉพาะบุคคลที่ทำให้แตกต่างไปจากผู้อื่น เช่น อารีย์เป็นนักเรียน สมชาติเป็นตำรวจ เป็นต้น
          2.2 บุคคลหนึ่งอาจมีหลายสถานภาพ เช่น สมชาติเป็นตำรวจ เป็นพ่อและเป็นข้าราชการ
          2.3 เป็นสิทธิและหน้าที่ทั้งหมดที่บุคคลมีอยู่ในการติดต่อกับผู้อื่นและสังคมส่วนรวม
          2.4 เป็นตัวกำหนดว่าบุคคลนั้นมีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไรในสังคม
     สถานภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
          - สถานภาพที่ติดตัวมาโดยสังคมเป็นผู้กำหนด เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ เครือญาติ
          - สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ ได้แก่ การประกอบอาชีพ การศึกษา การสมรส เช่น บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย

     3. บทบาท  หมายถึง การปฏิบัติตามหน้าที่และการแสดงพฤติกรรมตามสถานภาพ สถานภาพ  และบทบาทเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน  สถานภาพเป็นตัวกำหนดบุคคลให้รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ  บทบาทเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและคาดหมายให้บุคคลกระทำ  การที่บุคคลมีหลายสถานภาพอาจเกิดบทบาทที่ขัดกัน  หมายถึง  การที่คนคนหนึ่งมีบทบาทหลายอย่างในเวลาเดียวกัน  และขัดกันเองทำให้ยากต่อการปฏิบัติตามบทบาทใดบทบาทหนึ่ง

     4. การควบคุมทางสังคม แบ่งเป็น
          4.1 การจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม เช่น การยกย่อง การชมเชย หรือการให้รางวัล
          4.2 ลงโทษสมาชิกที่ละเมิดหรือฝ่าฝืนบรรทัดฐานทางสังคม เช่น ผิดวิถีชาวบ้าน การลงโทษคือตำหนิ ซุบซิบนินทา หัวเราะเยาะ
                 ผิดกฎศีลธรรม ไม่คบหาสมาคม ผิดกฎหมาย ซึ่งการลงโทษจะมากหรือน้อยแล้วแต่การกระทำผิด

         //www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/human_society/03.html

ข้อใดเป็นการทำผิดจารีตหรือกฎศีลธรรม

จารีต หมายถึง แบบแผนการประพฤติปฏิบัติที่กระทำสืบต่อกันมาช้านาน มักถือเป็นกฎหรือระเบียบของสังคมที่เกี่ยวกับศีลธรรม. ใครไม่ทำตามจารีตจะถือว่าเป็นคนชั่ว ถูกสังคมลงโทษรุนแรง และไม่อาจจะอยู่ร่วมในสังคมนั้นได้ เช่น การที่ลูกด่าทอหรือทำร้ายพ่อแม่ถือเป็นการกระทำที่ผิดจารีต.

วิถีชาวบ้าน คือการกระทำในข้อใด

วิถีประชาหรือวิถีชาวบ้าน หมายถึง แบบแผนหรือพฤติกรรมที่คนจำนวนมากเห็นว่าเหมาะสม ถูกต้องในสถานการณ์นั้นๆ วิถีประชาจะครอบคลุมพฤติกรรมด้านต่างๆของสังคมไว้ซึ่งเป็นพฤติกรรมหรือการกระทำที่ปฏิบัติจนเป็นความเคยชิน เป็นนิสัย เป็นประเพณี ไม่มีการบังคับให้ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

ข้อใดเป็นสถานภาพที่ได้มาด้วยความสามารถ

บทบาท สถานภาพที่ได้มาภายหลังหมายถึง สถานภาพที่ได้จากการแสวงหาหรือได้มาจากความสามารถของ ตนเอง ได้แก่ สถานภาพทางการศึกษา เช่น จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก สถานภาพทางอาชีพ เช่น เป็นครู เป็นหมอ หรือนักการเมือง สถานภาพทางการเมือง เช่น เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นนายกรัฐมนตรี

ข้อใดเป็นการเห็นคุณค่าของตนเอง

การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self Esteem) หมายถึง ความรู้สึกที่บุคคลรับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า นำไปสู่ความเชื่อมั่นในตนเอง และการยอมรับนับถือตนเอง ซึ่งเป็นผลจากการประเมินตนเองโดยภาพรวมในด้านความสามารถ ความสำคัญ และความสำเร็จของตนเอง และแสดงออกมาในรูปแบบของทัศนคติในแง่บวกที่มีต่อตนเอง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก