วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก 2022 ดูได้ที่ไหน

โปรแกรมถ่ายทอดสด “วอลเลย์บอลหญิง” ชิงแชมป์โลก 2022 รอบ 8 ทีมสุดท้าย แข่งขันวันไหน เวลาใดบ้าง เช็คเลย!!

โปรแกรมตารางการแข่งขัน การถ่ายทอดสด “วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022” หรือ FIVB Volleyball Women’s World Championship โดยทัวร์นาเมนท์นี้จะไปแข่งขันที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ และโปแลนด์ ระหว่างวันที่ 23 กันยายน-16 ตุลาคม 256565 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 19 มีทีมชาติหญิงชุดใหญ่ 24 ทีม ที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ(FIVB) การแข่งขันมาถึงรอบ 8 ทีมสุดท้าย หรือ รอบก่อนรองชนะเลิศแล้ว

  1. อิตาลี
  2. จีน
  3. สหรัฐ
  4. ตุรกี
  5. บราซิล
  6. ญี่ปุ่น
  7. เซอร์เบีย
  8. โปแลนด์

โปรแกรมถ่ายทอดสดวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รอบ 8 ทีมสุดท้าย

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม 2565

  • เวลา22.00น. อิตาลี vs จีน
  • เวลา 22.30น. สหรัฐ vs ตุรกี

วันพุธที่ 12 ตุลาคม 2565 

  • เวลา 01.00น. บราซิล vs ญี่ปุ่น
  • เวลา 01.30น. เซอร์เบีย vs โปแลนด์

สำหรับช่องทางในการรับชมการถ่ายทอดสดทางออนไลน์ทุกคู่ สามารถสมัครสมาชิกรับชมได้ทาง  Volleyball TV หรือ แอปพลิเคชั่น VBTV

อ่านข่าวเพิ่มเติม

  • โปรแกรมวันนี้ ถ่ายทอดสด ‘วอลเลย์บอลหญิง’ชิงแชมป์โลก 2022
  • ‘นายกรัฐมนตรี’ ชื่นชมทีมวอลเลย์บอลหญิงไทยแสดงผลงานได้ยอดเยี่ยม!
  • สู้สุดใจ! วอลเลย์บอลหญิงไทย แพ้ สหรัฐอเมริกา 2-3 เซต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022รายละเอียดประเทศเจ้าภาพเมืองวันที่ทีมสถานที่ชนะเลิศรองชนะเลิศอันดับที่ 3อันดับที่ 4รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าตัวเซ็ตยอดเยี่ยมตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยมตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยมตัวรับอิสระยอดเยี่ยมสถิติการแข่งขันจำนวนนัดที่แข่งขันผู้ชมผู้ทำคะแนนสูงสุดตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมตัวบล็อกยอดเยี่ยมเสิร์ฟยอดเยี่ยมตัวเซ็ตยอดเยี่ยมรับบอลตบยอดเยี่ยมรับบอลเสิร์ฟยอดเยี่ยมเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
Wereldkampioenschap volleybal vrouwen 2022
Mistrzostwa Świata w Piłce Siatkowej Kobiet 2022
 เนเธอร์แลนด์
 โปแลนด์
อาเพลโดร์น
อาร์เนม
กดัญสก์
กลีวิตแซ
วุช
รอตเทอร์ดาม
23 กันยายน – 15 ตุลาคม
24 (จาก 5 สมาพันธ์)
6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
 
เซอร์เบีย (สมัยที่ 2)
 
บราซิล
 
อิตาลี
 
สหรัฐ
ตียานา บอชคอวิช
โบยานา เดอชา
กาบรีแยลา กีมาไรส์
มีเรียม ซิลลา
อานา กาโรลีนา ดา ซิลวา
อันนา ดาเนซี
ตียานา บอชคอวิช
เตโอโดรา ปูชิช
100
231,515 (2,315 คนต่อนัด)
ปาโอลา เอโกนู (275 คะแนน)
ตียานา บอชคอวิช (55.58%)
อานา กาโรลีนา ดา ซิลวา (4.92 Ave.)
กาตารีนา โบเซตตี (1.50 Ave.)
ยออันนา วอวอช (14.00 Ave.)
โมนีกา เด เจนนาโร (14.00 Ave.)
หลี อิ๋งอิ๋ง (46.99%)
FIVB Volleyball Women's World Championship

← ก่อนหน้า

ถัดไป →

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIVB Volleyball Women's World Championship) จะเป็นการแข่งขันครั้งที่ 19 ของวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก ซึ่งเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลโดยมีทีมชาติหญิงชุดใหญ่ที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นที่ประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศโปแลนด์

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 2019 สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศประกาศว่าประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศโปแลนด์ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2022[1][2][3]

รอบคัดเลือก[แก้]

การคัดเลือกในครั้งนี้จะมี 24 ทีมที่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก สำหรับประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศโปแลนด์ในฐานะประเทศเจ้าภาพจะผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ เช่นเดียวกับประเทศเซอร์เบียในฐานะแชมป์โลกปัจจุบัน ส่วนที่เหลืออีก 21 ทีมมาจากทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศจากการแข่งขันชิงแชมป์ทวีปปี 2021 ทั้งหมด 10 ทีม และ 11 ทีมจากการจัดอันดับโลกของเอฟไอวีบี สำหรับทีมที่ยังไม่ผ่านการคัดเลือก[4]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก[แก้]

วิธีการของการคัดเลือกวันที่สถานที่จำนวนประเทศที่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 12 มกราคม ค.ศ. 2019
วอร์ซอ
2
 
เนเธอร์แลนด์
 
โปแลนด์
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018 29 กันยายน – 20 ตุลาคม ค.ศ. 2018
 ญี่ปุ่น
1
 
เซอร์เบีย
การจัดอันดับทวีปเอเชีย 26 สิงหาคม ค.ศ. 2021 2
 
จีน
 
ญี่ปุ่น
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2021 18 สิงหาคม – 4 กันยายน ค.ศ. 2021
 เซอร์เบีย /
 บัลแกเรีย
 โครเอเชีย /
 โรมาเนีย
2
 
อิตาลี
 
ตุรกี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา 2021 26–31 สิงหาคม ค.ศ. 2021
ดูรังโกซิตี
2
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
 
ปวยร์โตรีโก
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2021 15–19 กันยายน ค.ศ. 2021
บาร์รันกาเบร์เมฆา
2
 
บราซิล
 
โคลอมเบีย
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกา 2021 12–19 กันยายน ค.ศ. 2021
คิกาลี
2
 
เคนยา
 
แคเมอรูน
อันดับโลกเอฟไอวีบี เดือนธันวาคม ค.ศ. 2021
 สวิตเซอร์แลนด์
11
 
สหรัฐ
 
วีเอฟอาร์
 
เยอรมนี
 
เบลเยียม
 
เกาหลีใต้
 
บัลแกเรีย
 
แคนาดา
 
ไทย
 
เช็กเกีย
 
อาร์เจนตินา
 
คาซัคสถาน
 
โครเอเชีย

การแบ่งกลุ่ม[แก้]

การจับสลากแบ่งกลุ่มจัดขึ้นที่โลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2022[5] ทีมวางจะได้รับการจัดวางให้อยู่ในแถวแรกจากอันดับโลกเอฟไอวีบี ณ สิ้นปี ค.ศ. 2021 สหพันธ์ให้สิทธิ์เจ้าภาพอยู่ในกลุ่มเอและกลุ่มบี โดยทีมเจ้าภาพที่มีอันดับดีกว่าจะถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเอ และอีกทีมหนึ่งจะถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มบี ส่วนทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางจะทำการจับสลากในแถวที่เหลือจากอันดับโลกเอฟไอวีบี[6]

รอบแรก[แก้]

ทีมวาง โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4 โถ 5
 
เนเธอร์แลนด์ (10)
 
โปแลนด์ (12)
 
สหรัฐ (1)
 
บราซิล (2)
 
จีน (3)
 
ตุรกี (4)
 
เซอร์เบีย (5)
 
อิตาลี (6)
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน (7)
 
ญี่ปุ่น (9)
 
เยอรมนี (11)
 
เบลเยียม (13)
 
เกาหลีใต้ (14)
 
บัลแกเรีย (15)
 
โคลอมเบีย (16)
 
ปวยร์โตรีโก (17)
 
แคนาดา (18)
 
ไทย (19)
 
แคเมอรูน (20)
 
อาร์เจนตินา (21)
 
เช็กเกีย (22)
 
คาซัคสถาน (23)
 
โครเอเชีย (24)
 
เคนยา (28)
ผลการจับสลาก กลุ่มเอ กลุ่มบี กลุ่มซี กลุ่มดี
 
เนเธอร์แลนด์
 
โปแลนด์
 
สหรัฐ
 
บราซิล
 
อิตาลี
 
ตุรกี
 
เซอร์เบีย
 
จีน
 
เบลเยียม
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
 
เยอรมนี
 
ญี่ปุ่น
 
ปวยร์โตรีโก
 
เกาหลีใต้
 
บัลแกเรีย
 
โคลอมเบีย
 
แคเมอรูน
 
ไทย
 
แคนาดา
 
อาร์เจนตินา
 
เคนยา
 
โครเอเชีย
 
คาซัคสถาน
 
เช็กเกีย

สนามการแข่งขัน[แก้]

รอบแรกและรอบสุดท้าย รอบสอง รอบสุดท้าย

อาร์เนม

อาเพลโดร์น

รอตเทอร์ดาม

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022 (ประเทศเนเธอร์แลนด์)

รอบแรก รอบแรกและรอบสอง รอบสุดท้าย

กดัญสก์

วูช

กลีวีตแซ

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022 (ประเทศโปแลนด์)

อาร์เนม, เนเธอร์แลนด์
รอตเทอร์ดาม, เนเธอร์แลนด์
อาเพลโดร์น, เนเธอร์แลนด์
GelreDome Ahoy Arena Omnisport
ความจุ: 21,248 ความจุ: 16,426 ความจุ: 10,000
กดัญสก์, โปแลนด์
วุช, โปแลนด์
กลีวิตแซ, โปแลนด์
Ergo Arena Atlas Arena Gliwice Arena
ความจุ: 11,409 ความจุ: 13,805 ความจุ: 13,752

รอบแรก[แก้]

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+02:00)
  • 4 ทีมแรกของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่รอบสอง

กลุ่มเอ[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
อิตาลี
5 0 15 15 2 7.500 431 328 1.314
2
 
เบลเยียม
4 1 12 13 4 3.250 417 331 1.260
3
 
เนเธอร์แลนด์
3 2 9 11 7 1.571 413 357 1.157
4
 
ปวยร์โตรีโก
2 3 6 7 10 0.700 371 382 0.971
5
 
เคนยา
1 4 3 4 12 0.333 289 383 0.755
6
 
แคเมอรูน
0 5 0 0 15 0.000 237 377 0.629

กลุ่มบี[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
ตุรกี
4 1 11 14 7 2.000 468 396 1.182
2
 
ไทย
4 1 10 12 7 1.714 419 392 1.069
3
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
3 2 11 13 7 1.857 457 401 1.140
4
 
โปแลนด์
3 2 10 12 7 1.714 441 382 1.154
5
 
เกาหลีใต้
1 4 3 3 13 0.231 283 398 0.711
6
 
โครเอเชีย
0 5 0 2 15 0.133 326 425 0.767

กลุ่มซี[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
เซอร์เบีย
5 0 14 15 2 7.500 412 326 1.264
2
 
สหรัฐ
4 1 12 12 4 3.000 381 303 1.257
3
 
แคนาดา
3 2 8 9 9 1.000 393 376 1.045
4
 
เยอรมนี
2 3 7 8 10 0.800 394 397 0.992
5
 
บัลแกเรีย
1 4 4 8 12 0.667 417 464 0.899
6
 
คาซัคสถาน
0 5 0 0 15 0.000 244 375 0.651

กลุ่มดี[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
จีน
4 1 12 13 3 4.333 395 352 1.122
2
 
ญี่ปุ่น
4 1 12 12 4 3.000 387 327 1.183
3
 
บราซิล
4 1 12 13 5 2.600 431 356 1.211
4
 
อาร์เจนตินา
2 3 5 6 12 0.500 377 413 0.913
5
 
เช็กเกีย
1 4 3 5 13 0.385 375 422 0.889
6
 
โคลอมเบีย
0 5 1 3 15 0.200 335 430 0.779

รอบสอง[แก้]

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+02:00)
  • 4 ทีมแรกของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย

กลุ่มอี[แก้]

  • สนามแข่งขัน:
    รอตเทอร์ดาม, เนเธอร์แลนด์
แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
อิตาลี
8 1 25 26 6 4.333 783 627 1.249
2
 
บราซิล
8 1 23 25 8 3.125 793 631 1.257
3
 
ญี่ปุ่น
7 2 21 22 8 2.750 707 628 1.126
4
 
จีน
7 2 20 22 8 2.750 712 642 1.109
5
 
เบลเยียม
5 4 15 18 13 1.385 708 667 1.061
6
 
เนเธอร์แลนด์
4 5 13 16 17 0.941 733 680 1.078
7
 
ปวยร์โตรีโก
3 6 9 10 20 0.500 616 690 0.893
8
 
อาร์เจนตินา
2 7 5 8 24 0.333 644 755 0.853

กลุ่มเอฟ[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1
 
เซอร์เบีย
9 0 26 27 2 13.500 714 570 1.253
2
 
สหรัฐ
7 2 20 21 11 1.909 745 652 1.143
3
 
ตุรกี
6 3 17 21 13 1.615 775 699 1.109
4
 
โปแลนด์
6 3 17 21 14 1.500 792 720 1.100
5
 
แคนาดา
5 4 14 17 18 0.944 767 741 1.035
6
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
4 5 15 19 17 1.118 789 764 1.033
7
 
ไทย
4 5 11 16 19 0.842 757 769 0.984
8
 
เยอรมนี
3 6 11 14 20 0.700 735 767 0.958

รอบสุดท้าย[แก้]

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+02:00)
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
11 ตุลาคม – อาเพลโดร์น
 
อิตาลี
3
13 ตุลาคม – อาเพลโดร์น
 
จีน
1
 
อิตาลี
1
11 ตุลาคม – อาเพลโดร์น
 
บราซิล
3
 
บราซิล
3
15 ตุลาคม – อาร์เนม
 
ญี่ปุ่น
2
 
บราซิล
0
11 ตุลาคม – กลีวิตแซ
 
เซอร์เบีย
3
 
เซอร์เบีย
3
12 ตุลาคม – กลีวิตแซ
 
โปแลนด์
2
 
เซอร์เบีย
3
11 ตุลาคม – กลีวิตแซ
 
สหรัฐ
1 รอบชิงอันดับที่สาม
 
สหรัฐ
3
15 ตุลาคม – อาร์เนม
 
ตุรกี
0
 
อิตาลี
3
 
สหรัฐ
0

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับการแข่งขัน[แก้]

อันดับ ทีม
 
เซอร์เบีย
 
บราซิล
 
อิตาลี
4
 
สหรัฐ
5
 
ญี่ปุ่น
6
 
จีน
7
 
โปแลนด์
8
 
ตุรกี
9
 
เบลเยียม
10
 
แคนาดา
11
 
สาธารณรัฐโดมินิกัน
12
 
เนเธอร์แลนด์
13
 
ไทย
14
 
เยอรมนี
15
 
ปวยร์โตรีโก
16
 
อาร์เจนตินา
17
 
บัลแกเรีย
18
 
เช็กเกีย
19
 
เคนยา
20
 
เกาหลีใต้
21
 
โคลอมเบีย
22
 
โครเอเชีย
23
 
คาซัคสถาน
24
 
แคเมอรูน
 ชนะเลิศวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022 

เซอร์เบีย
ชนะเลิศสมัยที่ 2
รายชื่อนักกีฬา
เบียนกา บูซา, กาตารีนา ลาซอวิช, โบยานา เดอชา, มีนา ปอปอวิช, สลาจานา มีร์คอวิช, บรันคีตซา มีฮายลอวิช, เตโอโดรา ปูซิช, อานา เบียลีซา, มายา อาเล็กซิช, ยอวานา สเตวานอวิช, อาเล็กซันดรา เจร์ดิช, ตียานา บอชคอวิช
, โบยานา มีเลนคอวิช, ซารา ลอซอ
หัวหน้าผู้ฝึกสอน
ดานีเอเล ซันตาเรลลี

รางวัล[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022

อ้างอิง[แก้]

  1. "The Netherlands and Poland selected as dual hosts for 2022 FIVB Women's World Championship". Inside the Games. 14 January 2019. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
  2. "Netherlands and Poland to host 2022 FIVB Volleyball Women's World Championship". XinhuaNet.com. 13 January 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-13. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
  3. "Netherlands and Poland to be first co-hosts of Volleyball Women's World Championship". ASOIF (ภาษาอังกฤษ). Sportcal. 16 January 2019. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
  4. "Qualification system for FIVB Volleyball World Championships 2022 revealed". FIVB. 1 December 2020. สืบค้นเมื่อ 5 December 2020.
  5. "Netherlands-Poland 2022 draw on March 17". FIVB. 15 March 2022. สืบค้นเมื่อ 17 March 2022.
  6. "Draw sets up electrifying clashes at Netherlands-Poland 2022". FIVB. 17 March 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Fédération Internationale de Volleyball – official website

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก