องค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบิน มีอะไรบ้าง

อุตสาหกรรมการบิน (Aviation Industry)

Enrollment is Closed

ถ้าคุณต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมด้านการบิน

ต้องการหาข้อมูลด้านการประกอบวิชาชีพทางการบิน


ห้ามพลาดวิชานี้ "ลงทะเบียนได้เลย"


มาเรียนรู้ด้วยกันนะคะ 

คำอธิบายรายวิชา

ความเป็นมาและความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอากาศยาน หลักการบินเบื้องต้น ท่าอากาศยาน สายการบิน หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินของไทยและของโลก และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรในสายงาน ลาดับและขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน และขั้นตอนการปฏิบัติงานของฝ่ายอำนวยการบิน

คณาจารย์ผู้สอน

น.ต.ดร.วัฒนา มานนท์
คณบดีและรักษาการหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน

วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์สถาวร เลิศสุวรรณกุล
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและรักษาการหัวหน้าสาขาวิชาธุรกิจการบินวิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ปวรรัตน์ สุภิมารส
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์สมศักดิ์ สว่างอารมย์
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ขนิษฐา แก้วพวงงาม
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ศศิธร นวมมณีรัตน์
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ปัณณกร เกิดช่วย
อาจารย์ประจำหลักสูตรธุรกิจการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

 ติดต่ออาจารย์ผู้สอน Email :

 ข้อมูลเพิ่มเติม

เวลาในการศึกษา :

10 ชั่วโมงการเรียนรู้

ระยะเวลาสื่อวีดีทัศน์ 213 นาที (3 ชั่วโมง 33 นาที)

เวลาในการศึกษาต่อสัปดาห์ : 2 ชั่วโมงการเรียนรู้ (เรียนแบบออนไลน์ 100%)
ประเภทของการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง
กำหนดการสอน :   
ค่าธรรมเนียมการเรียน : ไม่มี
สื่อการเรียนรู้ : วีดิทัศน์สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน (เว็บลิ้งค์)
และ แบบทดสอบที่ใช้ในการเรียนการสอน
ภาษาหลักของสื่อการสอน : ภาษาไทย และภาษาอังกฤษเบื้องต้น
ระดับความยากง่ายของเนื้อหา : ระดับเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี : -
คุณสมบัติผู้เรียน : นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 และบุคลากรด้านการบิน หรือบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในอุตสาหกรรมการบิน
รายวิชานี้เหมาะสมกับ :  นิสิต-นักศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขา / นักเรียน / ประชาชนทั่วไป
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ :

LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความเป็นมาของประวัติศาสตร์การบิน ความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน และสามารถยกตัวอย่างองค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน รวมถึงเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมในอุตสาหกรรมการบินได้


LO2 : ผู้เรียนสามารถบอกส่วนประกอบของอากาศยาน และอธิบายหลักการบินเบื้องต้นของอากาศยานได้ รวมถึงสามารถบอกความหมาย องค์ประกอบ และบทบาทหน้าที่ของท่าอากาศยาน และสายการบินได้


LO3 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญ และหน้าที่ของหน่วยงานที่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมการบินของไทย และของโลกได้


LO4 : ผู้เรียนสามารถอธิบายหน้าที่ ลักษณะงาน และความรับผิดชอบของสายงานต่างๆในอุตสาหกรรมการบิน และสามารถบอกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรในสายงานดังกล่าวได้ รวมถึงสามารถอธิบายเส้นทางการประกอบอาชีพ (Career Path) ของสายงานต่างๆ ได้


LO5 : ผู้เรียนสามารถบอกลำดับและขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน และอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานของฝ่ายอำนวยการบินได้

เกณฑ์การผ่านวิชา และได้ใบประกาศนียบัตร (หากมี):

เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

แบบทดสอบก่อนเรียน  0% แบบทดสอบย่อยหลังเรียน 12 ครั้ง 60%

กิจกรรมใบงาน 2 ครั้ง 10% แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam)30%

ประมวลรายวิชา :  ประมวลรายวิชา (PDF) โครงสร้างรายวิชา :  โครงสร้างรายวิชา (PDF)

ปฏิทินการสอน

เปิดสอนตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม - 15 สิงหาคม 2562

แนะนำรายวิชาแนะนำรายวิชาชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 1 : ประวัติศาสตร์การบิน และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการบินแบบฝึกหัดก่อนเรียนวิวัฒนาการด้านการบินของโลกกิจกรรมการเรียนรู้ Discussionความเป็นมา ของการบินของไทยบุคคลสำคัญด้านการบินของไทยแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 2 : องค์ประกอบและความสำคัญของอุตสาหกรรมการบินแบบฝึกหัดก่อนเรียนความสำคัญของอุตสาหกรรมการบิน5As (องค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบิน)3S (Safety, Security, Service)แบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 3 : การออกเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษตามมาตรฐานด้านการบินแบบฝึกหัดก่อนเรียนการออกเสียง ICAO Alphabetsกิจกรรมการเรียนรู้ Discussionรหัสสนามบินรหัสสายการบินแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 4 : อากาศยานแบบฝึกหัดก่อนเรียนความหมายของอากาศยานวัตถุที่ไม่ใช่อากาศยานส่วนประกอบของอากาศยานหลักการบินเบื้องต้นแบบฝึกหัดก่อนเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 5 : ท่าอากาศยานแบบฝึกหัดก่อนเรียนความหมายของท่าอากาศยานประเภทของท่าอากาศยานส่วนประกอบของท่าอากาศยาน Airsideส่วนประกอบของท่าอากาศยาน Landsideหน้าที่ของท่าอากาศยานแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 6 : สายการบินแบบฝึกหัดก่อนเรียนความหมายของสายการบินผู้ผลิตอากาศยานประเภทของการบริการสายการบินกลุ่มพันธมิตรสายการบินแบบฝึกหัดหลังเรียนสรุปบทเรียนเรื่องสายการบินชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 7: หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินระหว่างประเทศแบบฝึกหัดก่อนเรียนICAOIATAFAAEASAแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 8 : หน่วยงานในอุตสาหกรรมการบินของไทยแบบฝึกหัดก่อนเรียน CAATMETAOTDOAวิทยุการบินแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 9 : หน้าที่ ลักษณะงาน และความรับผิดชอบแบบฝึกหัดก่อนเรียนหน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินหน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานต้อนรับภาคพื้นดินหน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ พนักงานอำนวยการบินหน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศหน้าที่ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ นักบินแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 10 : คุณลักษณะอันพึงประสงค์แบบฝึกหัดก่อนเรียนคุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานต้อนรับบินเครื่องบินคุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานต้อนรับภาคพื้นดินคุณสมบัติบุคลากรในสายพนักงานอำนวยการบินคุณสมบัติบุคลากรในสายเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศคุณสมบัติของการเป็นนักบินแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 11 : ขั้นตอนการเดินทางโดยเครื่องบิน แบบฝึกหัดก่อนเรียนการเดินทางขาเข้า - ขาออกแบบฝึกหัดหลังเรียนชั่วโมงการเรียนรู้ที่ 12 : การทำงานของฝ่ายอำนวยการบินแบบฝึกหัดก่อนเรียนการปฎิบัติงานของนักบินแบบฝึกหัดหลังเรียนFinal Examination (30%)

องค์ประกอบ ของ อุตสาหกรรม การบินมี อะไร บาง

ธุรกิจการบินเป็นส่วนหนึ่งหรือองค์ประกอบหนึ่งของอุตสาหกรรมการบินซึ่งอุตสาหกรรมการบิน หมายถึง กลุ่มธุรกิจที่ผลิตการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าทางอากาศหรือด้วยเครื่องบินประกอบด้วยธุรกิจที่ ส าคัญอยู่ 5 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ 1) ธุรกิจการบิน (Airline business) 2) ธุรกิจเครื่องบิน (Aircraft business) 3) ธุรกิจ ท่าอากาศยาน ...

อุตสาหกรรมการบินมีกี่ประเภท

ธุรกิจการบิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทที่หนึ่ง ธุรกิจสายการบิน (Airline Business) หมายถึง ผู้ที่ประกอบธุรกิจรับ-ส่ง ผู้โดยสาร และประเภทที่สอง การขนส่งสินค้าวัสดุ ภัณฑ์ทางอากาศ (Air Freight Business) หมายถึง ผู้ที่ประกอบธุรกิจบริการขนส่งสินค้า (Cargo Service)

ธุรกิจการบิน(Airlines Business) ให้บริการอะไรบ้าง

ธุรกิจการบิน (Airlines Business) เป็นธุรกิจ บริการที่มีความส าคัญต่อห่วงโซ่ในอุตสาหกรรมการ คมนาคมขนส่งทางอากาศ (Air Transport Industry) เป็นอย่างยิ่ง ท าหน้าที่ในฐานะเป็นผู้ให้บริการขนส่ง ผู้โดยสารและสินค้าทางอากาศจากที่หนึ่งไปยังจุดหมาย ปลายทางต่างๆ ตามความต้องการของผู้โดยสารหรือลูกค้า ด้วยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย ...

ธุรกิจการบินมีความสำคัญอย่างไร

ธุรกิจสายการบิน (Airline Business) เป็นหนึ่งในวิธีการขนส่งที่ส าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ เนื่องจากใช้ระยะเวลาในการเดินทางที่น้อย ท าให้การด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งใน ประเทศและระหว่างประเทศเป็นไปอย่างสะดวกสบาย (สินีนาถ ปรั่งเปรื่อง, 2555) นอกจากนั้นเมื่อ เทียบกับการขนส่งประเภทอื่น ๆ เช่น การขนส่งทางราง การ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก