ระบบโอแพค opac ได้รับการพัฒนาจากเครื่องมือค้นหาข้อมูลประเภทใด

OPAC (Online Public Access Catalog) คือ ระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศของ
ห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับ OPAC ของสำนักหอสมุดกลางนี้ สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศครอบคลุมห้องสมุดรวม 3 แห่ง ได้แก่ สำนักหอสมุดกลาง หอสมุด มศว องครักษ์ และห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ ทั้งนี้หอสมุด มศว องครักษ์ จะเรียกระบบสืบค้นนี้ว่า IPAC (Internet Public Access Catalog) ซึ่งต่างจาก OPAC ตรงที่สามารถ
เชื่อมโยงสู่อินเทอร์เน็ตได้จากหน้าจอที่สืบค้น

ทำไมต้องสืบค้น OPAC
เพื่อทราบว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่
เพื่อทราบรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากร
สารสนเทศก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ
เพื่อทราบเลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนที่จะไปหาตัวเล่มบนชั้น
เพื่อใช้บริการอัตโนมัติต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ได้แก่ การจอง การยืมต่ออัตโนมัติ การตรวจสอบข้อมูลการยืม และการรวบรวมรายการบรรณานุกรม

จะใช้ OPAC ได้ที่ใด
สืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการภายในห้องสมุด หรือ
สืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์จากที่ใดก็ได้ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยเข้าใช้จากเว็บไซต์
ของสำนักหอสมุดกลางที่ //lib.swu.ac.th จากเว็บไซต์ของหอสมุด มศว
องครักษ์ที่ //oklib.swu.ac.th หรือเข้าถึง OPAC โดยตรงได้ที่ //library.swu.ac.th

การให้บริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ Online Public Access Catalog ( OPAC)
เป็นเครื่องมือสำหรับช่วยสืบค้นและแสดงรายละเอียด รายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด รวมถึงการแจ้งข้อมูลข่าวสารของห้องสมุดให้ผู้ใช้บริการได้รับทราบ

ข้อมูลเบื้องต้นของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ความเป็นมาของระบบห้องสมุด
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST มีจุดกำเนิดมาจากแนวคิดในการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติขึ้นมา ใช้งานเองเพื่อทดแทนระบบห้องสมุดอัตโนมัติ DYNIX (Commercial Software) โดยในปีพ.ศ. 2541 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เวอร์ชัน 1.0ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้โปรแกรม Visual Basic 5.0/6.0 คู่กับระบบจัดการฐานข้อมูล ORACLE ปัจจุบันยังมีการใช้งานที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เวอร์ชัน 2.0 ได้พัฒนาขึ้นโดยใช้โปรแกรม Visual Studio .NET เวอร์ชัน 2002 คู่กับระบบจัดการฐานข้อมูล ORACLE ในเวอร์ชันนี้ได้เริ่มต้นใช้เทคโนโลยี Web Services และได้เปิดตัวการสืบค้น OPAC ผ่านทาง Web Browser ทำให้สามารถเพิ่มความหลากหลายในการให้บริการได้มากยิ่งขึ้น ปัจจุบันมีการใช้งานที่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, วิทยาเขตตรัง และวิทยาเขตภูเก็ต
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เวอร์ชัน 3.0เป็นเวอร์ชันที่ได้รับการสนับสนุนการพัฒนาจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา โดยทางสกอ.ได้ก าหนดข้อบังคับการพัฒนา (TOR) เพื่อให้ได้ซอฟต์แวร์ระบบห้องสมุดที่มีมาตรฐานเทียบเท่ากับซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ ปัจจุบันใช้งานที่ห้องสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์,มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เวอร์ชัน 4.0 เป็นเวอร์ชันที่อยู่ในระหว่างทดสอบการใช้งาน โดยจะปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เป็นระบบห้องสมุดสาขา และเพิ่มขีดความสามารถในด้านการสืบค้นผ่านโปรโตคอล Z39.50 และสนับสนุนการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล Union Catalog
Online Public Access Catalog ( OPAC ) ประกอบด้วย ฟังก์ชันการทำงานหลักดังนี้
- แสดงข้อมูลข่าวสารทั่วไปและช่องทางสื่อสารกับห้องสมุด
- สืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศได้หลายรูปแบบ
- แสดงข้อมูลรายละเอียดของสมาชิกห้องสมุด
- การต่ออายุการยืม ( Renew ) รายการสารสนเทศ
- การจอง ( Hold ) รายการสารสนเทศ
- การเสนอแนะรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ห้องสมุดจัดหา
- การส่งออก (Export) ข้อมูลบรรณานุกรมในรูปแบบต่าง ๆ
- รายงานสถิติจำนวนทรัพยากรของห้องสมุดและสถิติการสืบค้นต่าง ๆ

การสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศ (Search)
ในการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบ OPAC สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศแบ่งตามความซับซ้อนได้ 3 รูปแบบคือ
1 การสืบค้นแบบ Basic search คือ การสืบค้นแบบทั่วไป ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ครั้งละ 1 เขตข้อมูล เช่น ค้นด้วยชื่อเรื่อง(Title) ค้นด้วยชื่อผู้แต่ง(Author) เป็นต้น
2 การสืบค้นแบบ Advanced คือ การสืบค้นแบบขั้นสูง ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้พร้อมกันสูงสุดครั้งละสามเขตข้อมูล พร้อมทั้งใช้ตัวเชื่อมทางตรรกะ (AND,OR,NOT) เช่น ค้นด้วยชื่อเรื่อง(Title) พร้อมทั้งชื่อผู้แต่ง(Author) เป็นต้น
3 การสืบค้นแบบ Other Source เป็นการสืบค้นที่ผู้ใช้สามารถสืบค้นไปยังฐานข้อมูลของห้องสมุดอื่นซึ่งมีการติดตั้ง Z39.50 server โดยอาศัยการส่งผ่านข้อมูลทางโปรโตคอล Z39.50
4 การสืบค้นโดยใช้ prefix ผู้ใช้สามารถใช้ prefix ที่ระบบได้ก าหนดไว้ โดยในการใช้งานจะระบุ prefix ไว้หน้าคำค้น เช่น ti=computer หมายถึง ให้ไปสืบค้นค าว่า computer จากเขตข้อมูลชื่อเรื่อง(Title) เป็นต้น

ที่มา  //lib.swu.ac.th/opac/main_a1.php

Blog ไทยก็มีเยอะนะค่ะ แต่ส่วนใหญ่ เค้าไม่ให้มีโฆษณาใน Blog จึงขอแนะนำ Blog ของ google ดีกว่า ซึ่งมีภาษาไทย ในการอธิบายเมนูต่างๆด้วยและสามารถเลือกภาษาที่จะแสดงเมนูใน blog ได้ (กรณีทำโฆษณาภาษาอังกฤษ)
การสร้าง blog กับ blogger.com ชื่อที่ได้ จะได้เป็น ชื่อที่ตั้ง.blogspot.com
ถามว่า Blog สู้การทำเว็บ .com ได้มั้ย ลองเข้า

google.co.th

แล้วค้นคำว่า เที่ยวลาว ดูนะค่ะ จะเห็นว่า blog สู้ .com ได้อย่างสบาย การที่เว็บจะอยู่อันดับต้น มันขึ้นกับเนื้อหาในเว็บค่ะ

วิธีการสมัคร Blogger.com 
เข้า //www.blogger.com

 

ถ้าคุณเคยสมัครอะไรของ google ไว้แล้ว เช่น เคยสมัครเมล์ gmail ก็สามารถใช้ รหัส gmail login ในช่อง ลงชื่อเข้าใช้งานได้เลย...หรือถ้าไม่เคยสมัครอะไร หรืออยากจะสมัครใหม่ ก็ คลิกคลิกที่ลูกศรสีส้ม สร้างบล็อคของคุณทันที

1.สร้างบัญชี Google

- ที่อยู่อีเมล ใส่เมล์ของเรานะค่ะ เมล์อะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็น gmail ค่ะ ก็ประมาณว่า เมล์ที่เราใช้อยู่นั่นแหละค่ะ
- ใส่เมล์นั้นอีกครั้งค่ะ
- กำหนดรหัสผ่าน ตั้งขึ้นมาเลย ไม่ใช่รหัสเมล์นะค่ะ เป็นรหัสที่เราตั้งขึ้นเพื่อสมัคร blogger ครับ
- ชื่อที่แสดง ก็อย่างที่ในเว็บบอกค่ะ คือ คือนี่จะแสดงว่าเราเราโพสข้อความอะไรใน blog ของเรา หรือเขียนคอมเม้น แสดงความคิดเห็น blog ของคนอื่น
- รหัสยืนยัน ใส่รหัสสุ่มตามภาพที่ขึ้นมา
- ทำเครื่องหมายช่องสี่เหลี่ยม ยอมรับข้อตกลง ...จากนั้นคลิก ดำเนินการต่อ

ตั้งชื่อเว็บบล็อกเลยค่ะ ชื่อจะปรากฏที่บนสุดของ blog เช่น ดังภาพ

ที่อยู่บล็อก ก็คือ ชื่อที่อยู่ url ของ blog นั่นเองค่ะ ตัวอย่างชื่อ blog

สำหรับการ ตรวจสอบความพร้อมคือ ตรวจสอบว่าชื่อที่ตั้งอยู่ ซ้ำหรือมีใครใช้อยู่หรือยังถ้าขึ้น ที่อยู่บล็อกนี้สามารถใช้ได้ ก็สามารถใช้ชื่อนี้ได้ค่ะ
*** ทั้งชื่อเว็บบล็อก และที่อยู่ บล็อก สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในภายหลังค่ะ และ 1 user ที่ใช้ login blogger สามารถ สร้าง blog ได้ 100 blog ค่ะ ถ้าอยากสร้างอีก ก็สมัคร account blogger ใหม่ เพิ่มอีกค่ะ ***

ขั้นตอนต่อไปก็จะมีให้เลือกรูปแบบของ blog เลือกได้เลยค่ะ ชอบแบบไหนก็เลือกไปก่อน สามารถเปลี่ยนแปลงภายหลังได้

คลิก ดำเนินการต่อ ...

หลังจากนั้น จะมาถึงขั้นตอน เริ่มต้นการเขียนบล็อก เพื่อนำเสนอสิ่งที่เราต้องการนำเสนอ

ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับ blog ของ blogger ก่อนค่ะ ก่อนเขียน blog เราต้องทำความเข้าใจและวางแผนก่อนค่ะ
- blog เราสามารถ เขียนข้อความต่างๆ แทรกภาพ หรือนำเสนอต่างๆได้

การเขียน blog ที่ blogger
- ข้อความล่าสุด จะอยู่ที่หน้า blog
- ข้อความต่างๆที่เขียนไป จะเป็นหัวข้อ รวมอยู่ในคลังบทความของบล็อก ซึ่งคำว่า "คลังบทความของบล็อก"

คลิกเข้าที่แก้ไข เพื่อเข้าไปแก้ไขคำว่า คลังบทความของบล็อก

- สำหรับรูปแบบของ blog เกี่ยวกับคลังของบทความ เราควรวางแผนแล้วว่า บทความหรือข้อความต่างๆที่เราจะเขียน blog จะเรียงลงมา เมื่อมีผู้เข้าเยี่ยมชม blog ของเรา ผู้เยี่ยมก็จะเห็นหัวข้อเหล่านั้น และเลือกที่จะคลิกอ่านได้ เป็นผลดีในการนำเสนอ
- สำหรับบทความต่างๆ หรือข้อความต่างๆที่เราจะนำเสนอใน blog ข้อความล่าสุดจะอยู่หน้าแรกค่ะ หน้าแรกของ blog ควรจะเป็นเหมือนหน้ารับแขก ซึ่งออกแบบ เพื่อดึงดูดให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้สนใจ และอ่าน blog  แล้วจะทำงัยล่ะ ? เมื่อข้อความต่างๆที่เรา เขียนไป เป็นหัวข้อต่างๆ ข้อความล่าสุดจะอยู่หน้าแรก ถ้าเราออกแบบ หน้าที่ดึงดูดความสนใจ ไว้เป็นหน้าแรกแล้ว ถ้าเรามีข้อความมาเขียน หรือ นำเสนออีก จะทำงัย ให้หน้าที่เราออกแบบไว้ อยู่หน้าแรก
- วิธีการง่ายๆก็คือ แต่ละบทความที่เราเขียนไป สามารถแก้ไขได้ เราเข้าไปแก้ไขบทความนั้น แก้ไขตรงวันที่ หรือจะแก้ไขเวลาด้วยก็ได้ ให้เป็นวันที่ล่าสุด เพื่อให้บทความนั้นยังอยู่หน้าแรกนั่นเอง  อยู่ล่างๆ นะค่ะ คลิกที่ตัวเลือกของบทความ แล้วจะมีให้แก้ไขได้

สำหรับ ป้ายกำกับสำหรับบทความนี้   หมายถืง คีย์เวิร์ด สำคัญ หรือน่าสนใจ ในบทความหรือข้อความนั้นๆนะค่ะ เวลาโพสต์หรือเขียนข้อความไปแล้ว จะขึ้นเป็นข้อความ ป้ายกำกับ อยู่ล่างสุดของบทความ
- ทำความเข้าใจ การโพส หรือการเขียนข้อความ

- เผยแพร่บทความ คือเขียนข้อความเสร็จแล้ว ต้องการโพสใน blog แล้ว
- สำหรับ บันทึกทันที หมายถึง เราเขียนแล้ว แต่ยังไม่อยากนำเสนอลงใน blog เราอาจยังเขียนไม่เสร็จ เราใช้ปุ่มบึนทึกทันที บันทึกไว้ก่อน ยังไม่แสดงใน blog เพื่อไว้จะมาแก้ไขเพิ่มเติมให้สมบูรณ์อีกทีในภายหลังค่ะ
- กลับมาเรื่องป้ายกำกับ เราสามารถแทรกไว้ใน blog เป็นเมนูได้ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชม ได้เลือกอ่านได้
- สำหรับการเพิ่ม ส่วนของป้ายกำกับ ทำได้โดย มาที่องค์ประกอบของหน้า


มาที่เพิ่ม Gadget ตรงไหนก็ได้ครับ ปกติจะอยู่ทางด้านซ้าย และล่างสุด

เลือก ป้ายกำกับ แล้วคลิกเครื่องหมาย บวก + เพื่อเลือกรูปแบบ ป้ายกำกับ เข้ามาใน blog

- จะมีป้ายกำกับขึ้นมา เพื่อให้คลิก บันทึก เป็นการแทรกโดยสมบูรณ์  หรือจะแก้ไข คำว่า ป้ายกำกับ เลยก็ได้ หรือค่อยกลับมาแก้ไขภายหลังได้ค่ะ เมื่อแทรกแล้ว ก็จะมีรูปแบบของป้ายกำกับเข้ามาใน blog

- สำหรับ หัวข้อส่วนต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้ เพื่อจัดรูปแบบต่างๆของ blog โดยเอาเม้าส์ คลิกค้าง แล้วลากไปตามส่วนต่างๆ ได้ตามต้องการ

การใส่แม่แบบนอกเหนือจากแม่แบบที่มี ใน blogger ทำดังนี้
เข้าไปที่ //btemplates.com/ จะมีรูปแบบต่างๆให้เลือก ดาวน์โหลด ไฟล์ที่โหลดมา จะเป็นไฟล์ .zip ให้เรา แตกไฟล์ .zip ออกมา จะได้เป็นไฟล์ .xml

  เราจะเอาไฟล์ .xml เข้า blog ได้อย่างไร ?
- มาที่เมนูรูปแบบ หัวข้อ แก้ไข HTML จะมีให้ Browse เพื่อเลือกไฟล์ .xml ที่เรามีในเครื่อง (ที่เราไปโหลดมา) แล้วคลิก อัปโหลด เพื่อ โหลดไฟล์ xml เข้าไปใน blog

จะมีบางรายการขึ้นมา ว่าส่วนไหนบ้างของแม่แบบเก่าจะหายไป ก็คลิกที่ยืนยันและบันทึก เพื่อเปลี่ยนแปลงให้ blog เรา เป็นแม่แบบใหม่ ที่ต้องการ
-

สำหรับข้อความ

บทความในการโพสต่างๆ ก็จะยังอยู่นะค่ะ จะไม่หายไปไหน เป็นการเปลี่ยนแม่แบบเฉยๆแต่ส่วนของการตกแต่ง หรือ Gadget ต่างๆที่เราเพิ่มเติมเสริมใน แม่แบบเก่า จะหายไป เราค่อยมาเลือก Gadget เพื่อตกแต่งใหม่ได้ค่ะ

-

มาดูเมนูการตั้งค่า ซะหน่อย

บางคนสงสัยครับว่า blog ที่เขียน บทความต่างๆ ยาวลงมามาก ไม่รู้จะทำงัย มาที่ เมนูการตั้งค่า แล้วมาที่ การจัดรูปแบบ สามารถเลือกได้ว่า จะแสดง หน้าละกี่บทความค่ะ
-

ในเมนูนี้ ยังสามารถเปลี่ยนภาษาได้ด้วย

เป็นการเปลี่ยนภาษาของเมนูต่างๆ ใน blog ของเราค่ะ กรณี เราทำ blog ภาษาอังกฤษ แล้วอยากให้เมนูต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ

-

และอย่าลืมเข้ามาเปลี่ยน โซนเวลา ให้เป็น GMT +7 กรุงเทพ

ด้วยนะค่ะ จะได้เช็คเวลาได้ กรณีมีใครมาเขียน แสดงความคิดเห็นใน blog เราค่ะ

ชื่อ blog สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ด้วยนะค่ะ มาที่ เมนู การเผยแพร่ค่ะ มีประโยชน์กรณีที่เรา เขียนและตกแต่ง blog เยอะแล้ว แต่ไม่พอใจชื่อ blog ที่ใช้อยู่ค่ะ เราก็สามารถแก้ไขได้ค่ะ

-

1 user สามารถเขียน blog ได้ 100 blog 

เห็นหัวบนสุด ในระบบการเขียน blog มั้ยค่ะ คลิกที่แผงควบคุม จะมีรายการ blog ต่างๆที่เราทำไว้เรียงลงมาให้เห็น
- กรณีที่ยังไม่มี ก็จะมี blog ที่เราพึ่งทำนั่นแหละค่ะ 1 รายการ ถ้าเราจะทำ blog ใหม่เพิ่มอีก เราก็คลิกที่ สร้างบล็อกค่ะ ก็จะมีให้ตั้งชื่อ เพื่อสร้าง blog เพิ่มค่ะ ซึ่ง 1 user ของ blogger สามารถ สร้าง blog ได้ 100 blog ถ้าเราอยากสร้างมากกว่านั้น เราก็สมัคร blogger เพิ่มใหม่อีก User ค่ะ

- จบแล้วค่ะ ความรู้ในการเขียน blog และการวางแผนในการจัดรูปแบบ blog เพื่อความสวยงาม

OPAC พัฒนามาจากอะไร

OPAC เป็นคำที่เรียกย่อมาจาก Online Public Access Catalog หมายถึง เครื่องมือในการช่วยสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และแสดงรายละเอียดให้ทราบว่าทรัพยากรสารสนเทศ

ระบบ OPAC สามารถช่วยนักศึกษาให้สืบค้นข้อมูลประเภทใดบ้าง

การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ (OPAC : Online Public Access Catalog) เป็นเครื่องมือที่เป็นตัว ช่วยในการสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด เช่น หนังสือทั่วไป บทความจากวารสาร วิทยานิพนธ์ วิจัย เป็นต้น ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และ ตรงกับความต้องการ โดยการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเลข ...

โอแพคใช้สืบค้นอะไรได้บ้าง

โอแพ็ก.
1. ค้นหาข้อมูลทางบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ.
2. ตรวจสอบรายการยืมทรัพยากรสารสนเทศของตนเอง.
3. ค้นหาบทความจากวารสารที่มีให้บริการในห้องสมุด.

สารสนเทศที่ได้จากเครื่องมือช่วยค้นโอแพค คือข้อใด

สารสนเทศที่ได้จากการสืบค้นด้วยระบบโอแพค คือ เอกสารฉบับเต็ม บทคัดย่อหรือสาระสังเขป บทความวารสาร

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก