แผนการ สอน วิชา พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ส่ ค 11003

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง

แบบทดสอบวิชา สค11003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

1)  ข้อใดเป็นข้อมูลด้านหน้าที่พลเมือง

  การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
  การรวมกลุ่มสหกรณ์
  การทำบุญขึ้นบ้านใหม่
  การแบ่งเขตการปกครอง
   

2)  หากเราต้องการวางแผนการใช้เงินควรปฏิบัติตามข้อใด

  ทำบัญชีแสดงทรัพย์สิน
  มีบัญชีออมทรัพย์
  ทำบัญชีครัวเรือน
  มีบัญชีเงินฝาก
   

3)  การพัฒนาตนเองมีความสำคัญต่อการดำเนินชิวิตอย่างไร

  ทำให้เกิดการยอมรับของคนในกลุ่ม
  ทำให้สามารถรู้เท่าทันผู้อื่นในสังคม
  ทำให้คนในสังคมมีความขัดแย้งน้อยลง
  ทำให้เห็นคุณค่าของตนเองและ ทำหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่
   

4)  . ในฐานะนักศึกษาเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน ควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้ได้ประโยชน์สูงสุด อย

  แสดงท่าทีอย่างชัดเจนว่าไม่เห็นด้วยในที่สาธารณะ
  เห็นด้วยกับเสียงข้างมากทุกครั้ง โดยไม่ต้องมีข้อมูล
  คอยฟังเสียงผู้นำ ท่านว่าอย่างไรก็สนับสนุน ท่านทุกกรณี
  เข้าร่วมเวทีประชาคมทุกครั้งที่มีโอกาส เพื่อรับฟังและให้ข้อมูล
   

5)  ข้อใด ไม่ใช่ การจัดทำเวทีประชาคม

  เพื่อส่งเสริมผู้นำให้เป็นที่รู้จักในชุมชน
  เพื่อสร้างจิตสาธารณะให้แก่คนในชุมชน
  เพื่อให้เกิดการโต้แย้งแลกเปลี่ยนในชุมชน
  เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
   

6)  ข้อมูลด้านประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร

  ทำให้รู้จักธรรมชาติ
  ทำให้รู้จักจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่
  ทำให้รู้จักว่ามนุษย์มีอนาคตอย่างไร
  ทำให้รู้จักสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหา
   

7)  ข้อใดเป็นความหมายของการพัฒนาตนเอง

  การไม่เบียดเบียนตัวเราเอง และผู้อื่นในสังคม
  การรวมตัวของคนส่วนมากเพื่อกิจกรรมทางสังคม
  การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม
  การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้สิ่งที่เป็นอยู่ หรือมีอยู่ดีขึ้น
   

8)  มาสโลว์ ได้แบ่งความต้องการของมนุษย์ไว้เป็น ลำดับขั้น ยกเว้นข้อใด

  Social Needs
  Self Development
  Physiological Needs
  Self-Actualization Needs
   

9)  ข้อใดคือ ประโยชน์สำคัญที่สุดที่ได้รับจากการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

  ชุมชนบ้านนกแฝก มีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
  ชุมชนบ้านสมาน มีความเข้มแข็งและสามัคคี
  คนในชุมชนบ้านนา แต่งกายดีขึ้น
  มีร้านค้าเพิ่มขึ้นในชุมชน
   

10)  ข้อใดเป็นการเข้าร่วมกิจกรรม “จิตสาสา”

  การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อหวังประโยชน์
  การเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความเต็มใจ
  การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อต้องการชื่อเสียง
  การเข้าร่วมกิจกรรมของหน่วยงานตามหน้าที่
   

Description: รายวิชา พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับประถมศึกษา (สค11003)

Read the Text Version

No Text Content!

    Pages:

  • 1 - 44

18.16 น. “คา เฉล่ีย” วาพระอาทติ ยตกโดยเฉลยี่ แลวหารดว ย 7 = ? ตรงกบั เวลาใด กิจกรรม  ชวนเพื่อน 1 คนมาทบทวนวา วิธกี ารเก็บขอ มลู แบบแรกเรยี กวาอะไร ชว ยกนัยกตัวอยางอ่ืนเพ่ือใหเห็นวาจะเกบ็ ขอ มูลไดอ ยางไรและจะหาคาเฉลีย่ ดว ยวิธใี ด เม่อื ไดข อ ตกลงรวมกนั แลวสรปุ ยอ ลงในสมุดหรอื กระดาษ อยาลืมวาตองชว ยกนั คิดและยอมรบั ขอ เสนอแนะจากเพ่อื น โดยตางฝายตางฟงเหตผุ ลซง่ึ กนั และกัน ถา ยงั ไมเ ขาใจขอใหถามครผู สู อนหรอื ผูรู  เก็บสรุปยอ ไวใ หค รผู สู อนตรวจสอบ  13 การเก็บขอมูลดว ยการสงั เกตแมว าจะดูเหมือนงา ยและสะดวก แตถ าใหไดข อ มลูทชี่ ดั เจนและคลาดเคลอ่ื นนอยทีส่ ดุ ตองเฝาดูดวยความเอาใจใสโดยการสงั เกตและรบั รดู วยตา หู และการสัมผัส วธิ ีการเกบ็ ขอ มูลโดยการสังเกต จึงจําเปน ตอ งมีขอกาํ หนดตาง ๆ ดงั นี้ กาํ หนดจดุ มงุ หมายที่แนนอนและชัดเจนวาตองการรเู รอ่ื งใด วางแผนอยางเปน ระบบ กําหนดกรอบการสังเกตและระยะเวลาใหชดั เจน บนั ทกึ เหตุการณและเรื่องราวทตี่ รงตามความตอ งการ สามารถทดสอบเพื่อความถูกตอ งและนา เช่ือถอื ได การเก็บขอ มูลโดยการสังเกต แบง ออกเปนขน้ั ตาง ๆ ที่สําคญั 4 ขนั้ ดว ยกนั คอื1. ข้นั เตรยี มการสงั เกต :  เลอื กพื้นท่ี  เตรียมวัสดุอปุ กรณสําหรับเกบ็ ขอมูลท้ังภาพและเสียง กําหนดวนั เวลา สถานท่แี ละนดั หมายผูท่ีจะไปทาํ การสงั เกต2. ขน้ั การสังเกต :  แนะนําตนเองและทาํ ความรจู กั กบั หัวหนา กลมุ ผูท่ีจะไปศึกษา ซ่งึ เรยี กกนั วา กลุมประชากรศกึ ษา สรา งสมั พนั ธทีด่ ีภายในกลมุ สงั เกตและเก็บขอมูลตามประเดน็ หรอื กรอบทกี่ ําหนดไว3. ขน้ั การบนั ทึกขอมลู : เขียนบรรยายรายละเอยี ดใหไ ดม ากท่ีสุด4. ขัน้ เสร็จส้ินการสงั เกต : กลาวขอบคณุ ผใู หค วามรว มมือซึ่งใหข อมลู ที่เปนประโยชน กิจกรรม  รวมกลุมเพื่อน 4-6 คน ทบทวนเรื่องราวเกี่ยวกับข้ันตอนตาง ๆ ท่ีสําคัญในการเก็บขอ มลู โดยการสังเกต จากนนั้ เลือกตัวแทน 1 คน สรปุ ใหเ พ่ือนท่ีอยใู นกลุมฟง แตละคนบันทึกยอไวเพื่อเตือนความจําในสมุดหรือกระดาษ ขอใหท กุ คนชว ยกนั คิดและชวยกันสรุปเพื่อบันทึกยอไวเตือนความจํา การมีสวนรวมในกลมุ ถือเปนกติกาสาํ คญั ท่ที กุ คนควรปฏบิ ตั ิ  เกบ็ บันทกึ ยอ ไวใ หค รผู ูส อนตรวจสอบ  14 วิธีเกบ็ ขอ มลู โดยการสัมภาษณ กาพการต นู หญงิ สาวหนุ สวยน่งั อยูทโี่ ตะฝง หนง่ึ มอื ขวาถอื ดินสอ มือซายแตะ กระดาษบนโตะ กําลังมองหนาชายหนุมผมฟซู งึ่ จอ งหญงิ สาวจนตาโต และยมิ้ ปากกวาง ทา ทางปลื้มคนสวยอยา งมาก การสัมภาษณ เปน การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ท่ีผสู ัมภาษณและผูใหส มั ภาษณไ ดเผชญิ หนากนั โดยมีการพูดคุยซกั ถามกันตอหนา แตต อ งไมลืมวาการพูดคุยกนั ตอ งมีจดุ มุงหมายทช่ี ัดเจนขณะพดู คุย ผเู ก็บขอ มลู หรือผสู ัมภาษณ จะใชเครือ่ งมือเพ่อื เก็บขอ มลู ซึง่ ก็คือ แบบสัมภาษณแบบสมั ภาษณ คืออะไร............... แบบสมั ภาษณ คือ เคร่อื งมือทีใ่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ซ่ึงในแบบสัมภาษณจะมีขอคําถามท่ผี ูเกบ็ รวบรวมขอ มูล หรือผูสัมภาษณใ ชเปนแนวทางในการซกั ถามและพดู คุยกับผูใหส ัมภาษณ พูดใหงายก็คือ การสัมภาษณตองมีคนถามและคนตอบ คนถามใชแบบสัมภาษณท่ีเขียนคาํ ถามไวแ ลว ขณะสมั ภาษณอาจถามและตอบกนั แบบปากเปลา คนตอบเลาใหฟ ง สวนคนถามก็จดไวเปนหลักฐานกันลืม หรืออาจใชการบันทึกเสียงดวยวิธีการตาง ๆ ท่ีทําไดโดยมีการขออนุญาตบนั ทึกเสียงในขณะพูดคุยจดตามไปแลวเขียนอีกครัง้ หนึง่ หลงั การซักถามพดู คยุ จบลง กิจกรรม  ลองทบทวนวาวิธีการเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณเปนอยางไร แลวบันทึกยอเฉพาะเร่อื งสาํ คัญทคี่ วรจดจําไวในสมุดหรือกระดาษ มีโอกาสเมื่อใดใหเลาส่ิงท่ีเรียนรูใหกับเพื่อน ๆ ฟงบางจงเช่ือม่ันวาใครก็ตามเม่ือรูอะไรแลวสามารถบอกคนอื่นได จะย่ิงชวยใหเขาใจและจดจําไดตลอดไปเพราะเม่ือเราเผ่ือแผความรูใหก ับเพอ่ื น เพ่อื นก็จะใหสิ่งเหลา น้ีกลบั คนื มาแกเ ราเชน กัน  เก็บบันทกึ ยอ ไวใ หครูผูส อนตรวจสอบ  15 การเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณจําแนกไดต ามความเหมาะสมกับงานท่ตี องการศึกษา ดงั นี้ภาพการต นู ชายวยั กลางคนกาํ ลังจดขอความ สัมภาษณเ ปน รายบคุ คล ผถู ูกเลอื กถอื วาลงบนกระดาษ สวนหญงิ สงู วัยใสแ วน รปู รางอว น เปนกลมุ ตัวอยา งทเี่ ปน ตวั แทนของกําลงั เลาเร่ืองราว ตามองผชู ายทกี่ าํ ลงั เขยี นขอความ ประชากรทจี่ ะศึกษาหรอื เรยี กใหงา ยวา เปนตัวแทนของเรื่องทีต่ อ งการรูภาพการตนู ชายคนเดมิ กาํ ลงั พดู กบั ผูชายอายุ สมั ภาษณผรู ูท่ีใหข อมลู หลักหรอื ขอมลู50 ป แตง กายภูมิฐานทีน่ ง่ั อยใู นหอ งทาํ งานท่ี สําคัญ ซึง่ คนอืน่ ไมร ู เปนบคุ คลท่ีแตกตา งมีชั้นหนงั สอื และกองเอกสาร จากคนอน่ื มคี วามรอบรขู อมูลตาง ๆ ในเร่ืองท่ี ผูสมั ภาษณตองการ เพราะเปน การสัมภาษณภาพการตนู ชายคนเดิมนง่ั ลอ มวงกบั ชาวบา น ที่เจาะลึกไดแ ก ปราชญชาวบาน นักวชิ าการทงั้ หญงิ และชาย 8 คน ชาวบา นคนหนึง่ กําลัง นักธุรกจิ ผนู ําทอ งถน่ิ ฯลฯพดู ชายคนเดมิ กมหนาจดบนั ทึก สัมภาษณเ ปน กลุม เพื่อหาขอ มลู จากกลมุ บคุ คลทใี่ หขอ มูลเก่ยี วกบั เร่อื งทีต่ องการ ศึกษา วิธีการแบบน้อี าจเรยี กวา ซักถาม หรือสนทนากลุม ทุกคนออกความเห็น และซักถามไดอยางเสรี กิจกรรม  รวมกลมุ โดยชวนเพือ่ นอกี 2 คน มาพดู คยุ เก่ยี วกับการเก็บขอมูล 3 แบบ คือ สัมภาษณเปนรายบุคคล สัมภาษณผูร ทู ใี่ หขอมูลหลักและสัมภาษณเปนกลุม เมื่อทบทวนจนเขาใจแลว แตละคนเลอื กวธิ กี ารสัมภาษณค นละแบบ แลว ทดลองหมุนเวียนกันเลาใหเ พอื่ นในกลุมฟง จนครบท้ัง 3 แบบ 16 ข้ันตอนเตรยี มการเกบ็ ขอ มลู โดยการสัมภาษณ 1. เตรยี มตัวผสู มั ภาษณ นัดประชุมชแี้ จงให เขา ใจแบบสัมภาษณและที่สําคญั ตอง เขา ใจทัง้ ดานภาษา วฒั นธรรมและ ประเพณขี องทองถ่นิ รวมถึงผูใ ห สัมภาษณและสถานทที่ ําการสมั ภาษณ 2. ทาํ หนังสอื ขอความรว มมือ กําหนดวนั เวลาและสถานที่ ซึ่งจัดเตรยี มไว เพือ่ การสมั ภาษณและอยา ลมื ตรวจสอบให แนช ัดวา ติดตอประสานงานครบถวนแลว ภาพการต นู 3. เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณทตี่ องใชใ นการสัมภาษณใหดินสอแหลมใสไ วในแกวนา้ํ พรอมใชง าน เชน ดนิ สอ ปากกา กระดาษปากกาอยใู นแกว เปน ตนกระดาษวางเปน ปก 4. ข้ันสงแบบสมั ภาษณใ หผใู หขอ มลู ไดท าํ ความ ฯลฯ เขา ใจและเตรียมตัวใหพ รอ มกอ นการสมั ภาษณ 17 ภาพการต ูน ผชู ายอายุ 30 ป (ภาพครึ่งตวั ) 5. ขั้นการสมั ภาษณแสดงทาแนะนาํ ตนเอง ผหู ญงิ อายุ 25 ป ชี้แจงวตั ถุประสงคใ นการเกบ็ ขอ มูลคนเดมิ ฟง อยา งตงั้ ใจ บอกความสําคญั ของตัวผใู หส มั ภาษณ เพ่อื กระตุน ใหไดข อมลู ทีเ่ ปน จริง  บอกประโยชนจากการเกบ็ ขอมลู และผลกระทบ ทีจ่ ะเกดิ ข้ึน เพ่อื จะไดข อมูลท่ถี กู ตองและ ครบถว น  พยายามใหผ ใู หสัมภาษณบอกขอมูลมากท่ีสุด โดยใชภ าษาสภุ าพ ไมถ ามนํา แตพ ยายามให ไดคาํ ตอบตามประเดน็ ทต่ี อ งการ ข้นั บันทึกผลการสมั ภาษณภาพการต ูน หญงิ สาวอายุ 25 กําลงั นง่ั บันทกึ ผลการสมั ภาษณมีกระดาษบนั ทึกหลายแผนอยูบนโตะ มอื ขวาถือปากกา เหนอื ศีรษะภาพแสดงเหตุการณตอนสมั ภาษณ มือซายทาวคางทาทางครุนคดิ ขณะสมั ภาษณอ าจบนั ทึกไดไมครบถวน จงึ ตองทบทวนผลการสมั ภาษณอ กี ครง้ัหลักปฏบิ ตั ิในการทบทวนผลการสัมภาษณท ่ีตองจดจํานําไปใช มดี ังนี้  ควรบนั ทกึ ผลทนั ทีระหวา งการสมั ภาษณ หรือหลังจากสมั ภาษณผานไปไดไมนานเพราะจะไดไ มหลงลืม หรอื ไดข อ มูลทีค่ ลาดเคลื่อนไปจากความเปนจรงิ  ควรบนั ทกึ ผลตามจรงิ เทานนั้ และตองไมเพมิ่ ความคดิ เห็นของผสู ัมภาษณเขา ไป 18  ข้นั ส้ินสดุ การสมั ภาษณ ดคู วามถกู ตอ งของขอ มลู  ขอบคุณผูใหส มั ภาษณท ี่ชว ยใหข อมูลทเ่ี ปน ประโยชน กจิ กรรม  ชวนเพือ่ น 1 คน ชวยกันทบทวนและพูดคุยเกยี่ วกับขนั้ ตอนการเก็บขอ มลูโดยการสัมภาษณ จากน้นั สรปุ ยอลงในสมุดหรอื กระดาษ พยายามหาโอกาสเลา ผลสรปุ เรื่องน้ใี หเพ่อื นคนอนื่ ฟง  เก็บสรุปยอ ไวใ หค รูผสู อนตรวจสอบ  อยา ลมื วา การเรียนรเู รอื่ งใดก็ตาม ถาไดท บทวนบอยครง้ั และพูดคยุ แลกเปลย่ี นความรูและประสบการณก ับผอู ่ืน ยอ มเปน การเพ่ิมพนู ความรูใหม ากยิ่งขน้ึ วิธีการจดั เกบ็ ขอ มลู นอกจากการสังเกตและการสมั ภาษณ กย็ ังเกบ็ ขอ มลู ไดโดยการสํารวจ การสอบถามและการรวบรวมขอมลู ท่ีผอู ื่นรวบรวมไวแลว 19 การเก็บขอมลู โดยการสํารวจ ภาพการตนู ชายอายุ การสาํ รวจเปน การออกไปเก็บขอ มลู จาก 40 ป ผอมแหง สถานทจ่ี ริง เชน ถา ตอ งการรูข อมลู เก่ยี วกับ ใสแ วน ใสห มวก แมลงที่ทาํ ลายตน ขาวในนา กต็ อ งสํารวจไปทีละแพต้ืนงทตี่ แัวลเทวน ถาํ ขืออ แมวู น ทีละพน้ื ท่ี แลว นําขอ มลู ที่ไดม าปรบั ปรงุ แมลงทีต่ นขาว วธิ ีการกําจัดแมลงที่ทําลายตน ขาว ขณะสาํ รวจกต็ อ งบนั ทึกขอมูลไวใหช ัดเจน เพราะขอมลู ท่ไี ดมาจากนาขา วแตล ะแปลงตอ งรวบรวมไวเ พือ่ วเิ คราะหว ิธีในการกําจดั และทําลายแมลงที่เปนศัตรขู า ว กิจกรรม  หาเวลาวาง มองไปรอบ ๆ ตัว แลวลองคิดวาจะสํารวจอะไรบางและมีวิธีการสํารวจอยา งไร คงเดาไดวา เราตองมแี บบสํารวจ โดยเขียนประเด็นที่จะสํารวจไวล ว งหนาและบนั ทกึ สภาพทพี่ บเห็นขณะทาํ การสาํ รวจ ขอ มูลเหลาน้ีจะใชเ พือ่ การวเิ คราะหต อ ไป หาโอกาสเลา เรือ่ งการสาํ รวจใหเพื่อน ๆ ฟงและลองสอบถามวาเพ่ือนเคยสํารวจอะไรมาบาง เพอ่ื เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณก ัน 20 การเกบ็ ขอมูลโดยการสอบถาม การเก็บรวบรวมขอ มลู โดยการสอบถาม เปนการเกบ็ ขอมลู จากประชากร หรอืกลุมตัวอยางที่ศกึ ษาโดยใชแ บบสอบถาม ซงึ่ หมายความวา เรามีแบบสอบถามใหค นทเี่ ราตอ งการรขู อ มลูตอบกลับมา การเกบ็ ขอมลู อยา งน้ี ทําได 4 วธิ ี ดงั นี้ภาพการตนู ผูชายอว นเข็น  สงแบบสอบถามทางไปรษณยี รถเข็นสง ของที่มีซอง และกาํ หนดระยะเวลาสง แบบสอบถามจดหมายเปนมดั ๆ มาที่ตู ทีต่ อบแลวกลับคนื ใชว ิธนี ถี้ า ผูต อบไปรษณีย แสดงทา ทางเขน็ อยูหางไกล คน หาหรือตดิ ตามดวยความเหนอื่ ยมเี หงอ่ื ไมสะดวกกระเด็นจากใบหนาภาพการต นู ผชู ายอวนคนเดิม  สงแบบสอบถามใหก บั มือผตู อบ และกอดแบบสอบถามที่พบั ไว กาํ หนดวธิ กี ารรวบรวมเพ่ือสงคนื หรอืดานซา ย สว นมอื ขวาถือแบบ ใหเวลาผูตอบแลว สงคืนทางไปรษณยี สง ออกไปมภี าพมอื คนย่นื มาขอรบั โดยรอบมากมาย เหงอื่ 21 ภาพการตูน ผชู ายอว นคนเดมิ  ฝากผนู ําทองถิ่นไปแจกจายใหถึงมอืนง่ั อยูบ นแครไมไผท างขวา ผตู อบแบบสอบถามแลวรวบรวมสง คนืผูใหญบานมีผา ขาวมา คาดพงุ หรือใหเวลาผูตอบแลวสง คืนทางไปรษณยี นั่งอยทู างซา ยตรงกลางแคร มกี องจดหมาย ผชู ายอว นยกมอื ไหวขอบคณุภาพการต ูน ผชู ายอวนคนเดมิ  ขอความรว มมอื เจา หนาทใี่ นพ้นื ที่ยกมัดแบบสอบถามสงให แจกแบบสอบถามและรวบรวมสง กลับคนืเจาหนาทอ่ี นามัยผูหญงิ หรอื หนว ยงานเจา ของแบบสอบถามไปเกบ็เจาหนาทเ่ี อื้อมมือไปรับ ในภาพ แบบสอบถามจากเจาหนาทใี่ นพน้ื ทซ่ี ึ่งมีปา ยเขยี นวา “อนามัย” รวบรวมไวแ ลว กจิ กรรม  ขอใหทบทวนวิธเี ก็บขอ มลู โดยใชแบบสอบถามดว ยการชวนเพือ่ นอกี 1 คน มาจบั คูก นัแตละคนเลือกทบทวนวิธีเกบ็ ขอมูลคนละ 2 วิธี เมื่อเขา ใจดแี ลว ผลัดกันเลาใหเ พ่อื นฟง ขอใหนกึ เสมอวายงิ่ เลาใหเพ่ือนฟง หลายครัง้ เทาไรคนเลา กจ็ ะจําไดแมนยํายงิ่ ขนึ้ เทานน้ั ถา ยงั ไมเ หนื่อยจนเกินไป มารูจ ักวธิ ีการจดั เกบ็ ขอ มลู ทจ่ี ะฝากไวเปนวธิ สี ุดทายกันเลย 22 การรวมรวบขอมูลทผ่ี ูอน่ื รวบรวมไวแลว ภาพการตนู ผูห ญงิ ผอมบาง 25 ป ใสแ วน ผมช้ีเหมอื น ขนหัวลกุ น่ังอา นหนังสอื มกี องหนงั สืออยูบนโตะสงู ทวมหัว บางสว นวางบนโตะ ขาง ๆ การรวบรวมขอมูลที่ผูอ่ืนรวบรวมไวแลว เปนการรวบรวมขอมูลที่เสียคาใชจายนอยเพราะคนอืน่ ลงทุนทงั้ สมอง เวลาและเงนิ แลว เชน อยากรขู อมูลเกยี่ วกบั สมุนไพรกห็ าขอ มลู โดยการอานหนังสือท่ีเก่ียวกับสมุนไพรท่ีมีผูเขียนไวหรือรวบรวมไวแลว นอกจากนี้ยังหาอานไดจากวารสารนติ ยสารและแหลง ขอ มูลทีม่ ผี นู ยิ มใชคน หาขอ มูลมากที่สดุ คอื การคนหาจากอนิ เทอรเนต็ เพราะสะดวกรวดเร็ว มีขอ มลู ท่หี ลากหลายและเสยี คาใชจ ายไมม าก ภาพการต ูน ชาย หนุม 30 ป เหน็ เฉพาะใบหนาและ ขอ ควรระวัง : ขอมูลจากอินเทอรเน็ตอาจมีผิดพลาดบา ง ควรตรวจสอบกบั แหลง ขอมูลอ่นื ๆ ดวย 23  กิจกรรม  อานทบทวนเร่อื งการรวบรวมขอมลู ทีผ่ ูอ นื่ รวบรวมไวแ ลวอีกครัง้ หน่งึ แลว เลา ใหเพ่อื นฟง จากนน้ั คุยกันเร่ืองผลดีและผลเสยี ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ได จากการคน หาขอ มูลทางอินเทอรเนต็ แลว สรปุ ยอลงในสมดุ หรือกระดาษ  เก็บสรุปยอไวใ หครูผูส อนตรวจสอบ เรือ่ งที่นาสนใจอีกเรอ่ื งหนึ่ง คอื เทคนคิ การวเิ คราะหข อ มูล ขอมลู ที่เกบ็ รวบรวมมาไดเ ปนจาํ นวนมากและหลากหลายกันไปนนั้ จําเปนตองนาํ มาวิเคราะหก อ นใช เม่อื พูดถึงคําวา “วเิ คราะห” กค็ งตองดูทีค่ วามหมายกันกอน 24 “การวิเคราะห” หมายถึง การศึกษา คนควา ดวยความละเอียดและรอบคอบในเร่ืองตา ง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ ตรงตามความตอ งการท่ีจะนําไปใช โดยลกั ษณะของขอมูลและสถติ ติ าง ๆ เปน การเรยี นรูดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การจัดหมวดหมูขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมายของขอมูล ขอใหน กึ อยเู สมอวา “การวิเคราะหขอ มลู ” หมายถึง การดาํ เนนิ การเพือ่ สรปุ ความสาํ คัญของขอมลู ท่ีจะนําไปใช ใหต รงตามความเปน จรงิ ตรงตามความตองการ จากนนั้ จงึ จะนําไปใชได กิจกรรม  รวมกลุมเพ่ือน 4-5 คน เพ่ือทบทวนคําวา “การวิเคราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล”หมายถึง การดําเนนิ การเพอ่ื สรุปความสาํ คัญของขอ มลู ทจ่ี ะนําไปใช ใหตรงตามความเปนจริง ตรงตามความตอ งการ จากนนั้ จึงจะนาํ ไปใชได กิจกรรม  รวมกลุมเพ่ือน 4-5 คน เพื่อทบทวนคําวา “การวิเคราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล”ถาตองการเรียนรเู พมิ่ เติม อาจพูดคยุ กับผรู ู หาหนังสือมาอา น หรอื คนหาความรูเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตชวยกันสรุปยอเพ่ือเตือนความจํา จากน้ัน เลือกตัวแทนจากกลุมเพ่ือน 1 คน เพื่อเลาสรุปถึงความรูเพิ่มเติมท่ีหามาได เพื่อนในกลุมคนอ่ืนอาจซักถามขอสงสัย หรืออธิบายเพ่ิมเติมก็ได การแลกเปลี่ยนความรูกันจะชว ยใหความรแู ตกฉานมากข้ึน ขอใหทุกคนในกลุมมีสว นรว มและกลา แสดงออก  เกบ็ สรุปยอไวใ หครผู ูสอนตรวจสอบ  เทคนคิ การวิเคราะหข อ มลู น้ัน จาํ เปนตองมหี ลักเกณฑใ นการเลือกหัวขอ เพ่อืการวเิ คราะหซ ่ึงตอ งนกึ ถงึ องคป ระกอบ 5 ประการทีส่ าํ คญั ดังน้ี  ความสําคญั ของปญหา ปญหาบางเรือ่ งทเ่ี กิดขน้ึ อาจเปน ขอ มลู สวนนอ ยเทานั้น ไมไดม คี วามสาํ คญัมากพอที่จะนาํ มาวิเคราะห  ความเปน ไปได ขอ มลู บางเรื่องทเี่ ก็บรวบรวมมาไดอ าจเปนแคค วามคดิ ทเ่ี ลื่อนลอย จะคิดหาหนทางอยา งไรกเ็ ปน ไปไมได 25  ความนา สนใจและทันตอ เหตกุ ารณ ขอมูลบางเร่ืองไมไดเปนท่ีสนใจของผูคนท่ัวไป อาจนาสนใจเฉพาะสําหรับคนบางกลุม นอกจากน้ขี อ มลู บางเรื่องก็ไมค วรเลือกมาวเิ คราะห เพราะชาเกินไปและไมท นั ใชง านแลว  ความนา สนใจของผวู ิเคราะห ผูทจี่ ะทําการวิเคราะหอ าจไมสนใจขอ มลู บางเร่อื งทีเ่ กบ็ รวบรวมมา เปนธรรมดาท่ีวา ใครก็ตามไมสนใจเรื่องใด ยอมไมคอยมีความรูลึกซ้ึงในเร่ืองนั้น จึงไมนาจะเลือกหัวขอนั้น ๆมาวิเคราะห  ความสามารถทจ่ี ะทําใหบรรลุผล ขอมูลท่ีเก็บรวบรวมมา อาจเปนเร่ืองที่วิเคราะหออกมาแลว มองไมเห็นความสาํ เรจ็ ซ่ึงคาดวา จะเกิดขึ้น อาจเปน ปญ หาหรือเปน เรอ่ื งทยี่ ากเกนิ กวาจะแกไขใหสําเรจ็ ได หลักเกณฑที่ไดรูจักกันไปแลวนี้ ตองนํามาคิดพิจารณาใหรอบคอบกอนที่จะเลอื กหวั ขอ มาวเิ คราะห เพราะสิง่ เหลา นี้ คือเทคนิคสาํ คัญกอนทีจ่ ะเลอื กวเิ คราะหข อ มูล กจิ กรรม  ชวนเพอื่ นสกั คนมาทบทวนเรอ่ื งราวเก่ยี วกับเทคนคิ การวิเคราะหขอมูลดวยกัน คอย ๆพยายามคิดตามและทาํ ความเขา ใจไปพรอ มกัน ขอใหทองไวในใจวา “ไมมอี ะไรท่ียากเกนิ เรยี นรู” เร่อื งที่คิดวา ยาก ก็ควรใชเวลาทบทวนซ้ําหลายครงั้ ถาคร้ังนี้ยังไมเ ขา ใจ ครั้งตอไปกค็ งเขา ใจได ความตั้งใจจริงเปนสิ่งสําคัญที่สุด เม่ือเขาใจแลวหาความรูเพ่ิมเติมจากผูรู อานจากหนังสือ ตํารา หรือคนควา จากอนิ เทอรเ น็ต จากน้นั ชว ยกันสรปุ ยอ เฉพาะเรือ่ งสําคญั  เกบ็ สรุปยอ ไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ  ถาเหนือ่ ยหรือรสู ึกสมองลา หยุดพกั แลว คอยกลบั มาเรยี นรู บทที่ 3 ตอ ไป 26 บทที่ 3การวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคมและการนําไปใชในชวี ิตประจําวัน การพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสังคม เพ่อื ใหเ กดิ ประโยชนใ นชีวิตประจําวนั จําเปนตองมีการวางแผนทด่ี ีภาพการต นู ภาพการต ูน ภาพการต นูใบหนาชายหนมุ 25 ป กําลงั ใบหนา ชายคนเดมิ คิดถึง ใบหนาชายคนเดิมคิดถึงคดิ ถึงตนเองในอนาคตที่ลอย ชมุ ชนในอนาคต (ภาพเขา สงั คมในอนาคต (ภาพอยูเ หนอื ศีรษะ (ภาพคร่ึงตวั กาํ ลงั ตรวจคนไขที่อนามัย มี โรงพยาบาลมีรถพยาบาลใสเสอ้ื กาวนแ ละมีหูฟง แสดง คนไขรอตรวจอกี 2-3 คน) จอดอยู มปี ายช้ีไปฉกุ เฉิน)วาเปนหมอ) กอ นอื่นมารจู กั แผนพัฒนาตนเองกนั เปนอยา งแรก แผนพฒั นาตนเองเปน แผนทคี่ นใดคนหนึ่งหรอื กลมุ คนหลายคนกําหนดข้ึนมา เพื่อเปน แนวทางปฏิบตั ิในการเสริมสรางและเพิ่มพนู ลักษณะทจ่ี าํ เปนใหเกดิ ประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพจนไปสจู ดุ หมายทตี่ อ งการ กจิ กรรม  ลองนึกดูวา ทา นเคยคดิ วางแผนพฒั นาตนเองอยางไรแลว เลา ใหเพ่ือนสนทิ ฟง หลังจากเลา ไปแลว ยอ นกลบั มาตอบตัวทานเองวา เร่มิ ทาํ ตามแผนหรอื ยงั และดําเนินการตามแผนไปเพียงใด กจิ กรรมน้ีชวยกระตุนใหม กี ารพัฒนาตนเองอยเู สมอ ไมลาหลัง สามารถกา วไปขางหนาอยางมัน่ คงและตอเนอ่ื งตลอดเวลา ควรมองภาพอนาคตไดวา การวางแผนพัฒนาตนเอง จะเปนรากฐานที่ดีท่ีจะนําไปสูการวางแผนพัฒนาชมุ ชนและการวางแผนพัฒนาสงั คมในทสี่ ุด 27 การใชขอ มลู จากการวิเคราะหเพอื่ วางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม จําเปนตองใชขอมูลจากการวิเคราะหมาชว ยตัดสินใจเลอื กเรื่องทีจ่ ะพัฒนา เราอาจตอ งการพัฒนาหลายเรอ่ื ง แตข อ มูลจากการวิเคราะหจะชวยในการจดั ลําดับความจําเปนวาเร่ืองใดควรเลือกมาพัฒนากอนและเร่ืองใดควรรอไวพัฒนาภายหลังไดรวมท้ังตอ งดูความเปน ไปไดที่จะพฒั นาภาพการตนู ชายหนมุ 25 ป (ครึง่ ตัว) กอดอก แผนพัฒนาตนเองกาํ หนดไดจากเหตุและผลเห็นมอื ขา งหนึง่ ยกหวั แมโปง เหนือศีรษะ ในการพัฒนา มีการกาํ หนดเปา หมายทจ่ี ะกําลังคิดมีขอความ : พัฒนาและมองภาพในอนาคตวาจะไดร บั ความสําเร็จไดอ ยางไร หลงั จากน้นั จึงคดิ หา แผนที่พฒั นาตนเอง วธิ ีการพัฒนารวมไปถงึ ปจ จยั หรอื สิง่ ตา ง ๆ 1. ...................................................... ที่ชว ยใหป ระสบความสําเรจ็ 2. ..................................................... 3. .................................................... กจิ กรรม  ชวนเพื่อน 2 คน มารวมพูดคุยและทบทวนเร่ืองการใชขอมูลจากการวิเคราะหเพื่อวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม วาตองทําอยางไรบาง ไดขอสรุปรวมกันแลว เลือกผูแทน1 คน พดู สรปุ ใหฟ ง อกี ครั้ง สว นอกี 2 คน ถามีแนวคิดเพิม่ เตมิ ขอใหพ ูดไดอ ยางอสิ ระ กิจกรรมนี้ชวยใหทุกคนในกลุมไดฝกคิด ฝกการมีสวนรวม รูจักการแสดงออกและใจกวา ง ยอมรบั ความคิดเหน็ ของสมาชกิ ในกลมุ 28 ภาพการต ูน ผชู าย 30 ป (คร่ึงตวั ) อยูก ลางภาพ กําลังโอบไหลเ ทวดา มีปกและ รัศมเี หนอื ศีรษะ สว นแขนอกี ขา งหนึง่ เหยียดไปผลกั ซาตาน มีเขา ถือ จน เซไปไกลจากผชู ายกลางภาพ การพัฒนาเปนการกําจัดขอบกพรองใหหมดสิ้นไป ซ่ึงตองใชความพยายามเปนอยางมาก รวมทั้งตองเอาใจใสอยางจริงจัง จึงจะสามารถพัฒนาตนเอง สังคมและชุมชนไดตามแผนท่ีกาํ หนด กจิ กรรม  รวมกลุมเพ่ือน 6 คน เลือกเพอ่ื นคนหนึ่งเปนตวั แทนกลุมท่ีจะเปนผูกําหนดแผนพัฒนาตนเอง ตัดสินใจวาจะเลือกพัฒนาเร่ืองใดกอน คาดวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง และควรทําอยางไรใหป ระสบผลสําเร็จ เมื่อชวยกันคิดจนไดผลสรุป ใหเลือกผูท่ีจะสรุปเร่ืองราวเลาใหสมาชิกในกลุมฟงขาดตกบกพรอ งตรงไหนให เพื่อนในกลมุ ชว ยเพ่ิมเติม กจิ กรรมนี้ ชว ยใหสมาชกิ กลมุ ไดฝ ก คดิ อยางเปน ระบบ รจู กั แบง ปน ประสบการณใหแกก นั ฝกความกลา คดิ กลา แสดงออก และการยอมรบั เหตแุ ละผลของสมาชิกในกลุม 29 การนําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชใ นชวี ิตประจําวนั มนษุ ยท กุ คนท่ีอยูในชุมชนและสังคม สามารถนําแผนพัฒนาตนเองไปใชใ นชีวิตประจําวันได ไมวาจะมีอาชพี ใดหรือฐานะเปน อยา งไร ขอสําคัญ เม่ือใชชีวิตประจําวันตามแผนพัฒนาตนเองแลว ตองมีการติดตามผลประเมนิ ผลดูวา ตนเองกาํ จดั สง่ิ ไมด ี สงิ่ ที่ไมตอ งการออกไปจากชีวิตไดหรือไม เพราะทุกคนกําหนดไวแลววาจะทาํ อะไร ใหไ ดผ ลเมอื่ ไหร อีกกว่ี นั กเ่ี ดือนขางหนา ยงั มอี ะไรที่เปนปญหาและอุปสรรคอีกบางจะแกไขหรือปรับตนเองอยา งไรใหก าวพนขอ จํากัดเหลา น้นั ไปได กจิ กรรม  แตล ะคนลองคดิ ดวู า ขณะนไี้ ดใชช วี ติ ประจาํ วันไปตามแผนพัฒนาบคุ คลไดแ คไ หนอยางไร จากนนั้ เลอื กเพอ่ื น 1 คน เพือ่ ผลดั กนั เลาเร่อื งราวทเี่ กดิ ขน้ึ อยาลมื วา การทําแผนพัฒนาตนเอง อาจเปน เรอื่ งงายสาํ หรับบางคน แตส ําหรับอีกหลายคนอาจเปนเร่ืองยาก ซึ่งตองใชความพยายามเพ่ิมมากขึ้น ฝกวินัยในตนเองอีกนิด เพ่ิมความอดทนและมคี วามเสมอตน เสมอปลายอีกหนอย การชืน่ ชมเพ่ือนจะเปนการใหก ําลงั ใจ ชว ยใหค นท่ีกําลังพยายามทําตามแผนพัฒนาตนเองหายเหน่ือยไปไดบาง ในขณะท่ที ุกคนทาํ ตามแผนพัฒนาตนเอง ยอมสงผลดีตอแผนพัฒนาชุมชนและสังคมตามไปดวย เกิดผลกระทบในทางท่ดี ีตอ ชมุ ชนและตอสังคมโดยรวม นอกจากนี้ยงั เปนตัวอยางท่ีดีใหกับผคู นรอบขางในชมุ ชนและสังคม 30 จงเช่อื เสมอวา ธรรมชาติของมนษุ ยท กุ ผทู กุ นามเปนผูท ี่ใฝด แี ละทกุ คนจะคดิ แตสิง่ ดีใหกบั ตนเอง มคี วามพรอมทจี่ ะพัฒนาตนเองใหเ ปน ไปในทางทถ่ี กู ท่คี วร ประสบการณเปน ส่งิ ท่สี อนมนุษยใ หรูจกั ปรับตวั และสนใจทจ่ี ะเรียนรูแ ละพฒั นาตนเองตอไปไมมีวันสน้ิ สดุการมสี วนรวมผลกั ดนั แผนพฒั นา ตนเอง ชุมชน สงั คม ใหเ ปน ทยี่ อมรับ แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสงั คมจะเปน ท่ียอมรบั ไดถา ทกุ คนมีสว นรว มผลกั ดันใหเกิดขึ้นการมีสว นรว ม เปน คําที่ยิง่ ใหญท ี่จะชว ยใหเรื่องยากกลายเปนเรอ่ื งงา ย แตก อนอน่ื ควรดูวา แผนพฒั นาตนเองมีประโยชนอยา งไร ประโยชนข องแผนพฒั นาตนเองคือ  รขู อดีและขอบกพรองของตนเอง หรอื รจู ดุ เดน จดุ ดอ ยของตนเอง  แผนพัฒนาตนเองเกิดข้ึนจากความตองการและความพรอ มของผจู ดั ทาํ แผนโดยตรง  มแี นวทางปฏิบตั ทิ ่ีชดั เจน  มเี ปา หมายในการพฒั นาตนเอง  มีการพฒั นาตนเองอยางเปน ระบบเม่ือผูคนยอมรับและเขาใจถึงประโยชนของแผนพัฒนาตนเองก็จะนําไปสูการผลักดันใหมีการใชแผนเหลานี้ ซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนจะเปนแนวทางการพัฒนาและแกไขปญหาที่เกิดข้ึนในชุมชน โดยผานกระบวนการคดิ การตดั สนิ ใจโดยชมุ ชนเอง ตา งคนตา งรวมกนั คน หา รว มกันเรียนรู มีการสํารวจและวเิ คราะหขอ มลู ภายในชุมชน จัดทําแนวทางพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับความพรอมของชุมชนอยางชัดเจน ซงึ่ แผนพฒั นาชมุ ชนมกั เนนทก่ี ารสรางรายไดใ หกับชมุ ชน การยกระดับคุณภาพชวี ติ ของผูคนในชมุ ชนและการฟน ฟดู ูแลทรพั ยากรธรรมชาติ รวมท้ังส่ิงแวดลอ มภายในชุมชน 31  กจิ กรรม  ใชเวลาเพ่ือคิดดูวา ตัวทานเองมีสวนรวมผลักดันแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคมใหเ ปนทีย่ อมรบั ภายในชมุ ชนและสังคมของทา นเพยี งใด จากนนั้ รวมกลุมเพื่อน 6 คน ชวยกนั คิดทบทวนวา ในชมุ ชนท่ีทานอาศยั อยูน นั้ ผูค นใหความรว มมอื ในการผลักดนั ใหเ กดิ การพฒั นาเรอื่ งใดในชุมชนบา งขออาสาสมัครภายในกลมุ 1 คน ชว ยเลาเร่ืองราวท่สี รปุ ไดภ ายในกลุมอกี คร้ังหนงึ่ กจิ กรรม  ชวนเพ่ือนมาพูดคุยเก่ียวกับหลักการพัฒนาชุมชนในเร่ืองความคิดริเร่ิมใหมาจากประชาชน เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนและเร่ืองการพ่ึงพาตนเอง พยายามพูดขยายความใหไดรายละเอียดตามท่ีเขา ใจมากทส่ี ุด เรอ่ื งบางเร่ืองถา เขาใจสภาพท่ีเปนอยอู ยางถองแท อาจอธิบายรายละเอียดตาง ๆ ไดเองตามความเขาใจและถาตองการรูเพ่ิมเติมก็อาจพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูสูงอายุในทองถ่ินทีม่ ักมีสวนรว มในการพัฒนาทองถ่ินและชุมชนในดานตาง ๆ หรืออาจพูดคุยกับเจาหนาท่ีซ่ึงทําหนาท่ีพฒั นาชมุ ชนก็จะไดรายละเอยี ดตา ง ๆ เพม่ิ เตมิ เปน อยา งดีการมสี วนรวมของประชาชน หลกั การสรา งการมีสวนรว มของประชาชน แบงไดเ ปน 5 ระดับ คือ  ใหขอ มูลขา วสาร เปน การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรว ม  รบั ฟงความคดิ เหน็ ผานการสํารวจความคิดเห็น การรบั ฟง ความคดิ เห็น การจดั เวทีสาธารณะและการแสดงความคดิ เห็นผา นเวบ็ ไซต ฯลฯ  ความเก่ยี วของ เปด โอกาสใหประชาชนรว มปฏบิ ัตงิ านชุมชน รว มเสนอแนะแนวทางเพ่อื การตดั สินใจ ความรวมมอื ใหประชาชนไดเ ปน ผูแ ทนหรือเปน กรรมการในคณะกรรมการของชุมชน  เสริมอาํ นาจใหป ระชาชน โดยใหประชาชนเปนผูตัดสนิ ใจ เชน ใหม กี ารลงประชามตเิ ร่อื งทีเ่ ปนประเด็นสาธารณะตาง ๆ ในชุมชน รวมท้งั เร่ืองโครงการกองทุนหมูบานทใี่ หอาํ นาจประชาชนในพ้นื ทีเ่ ปนผตู ดั สินใจทั้งหมด 32  กจิ กรรม  ชวนเพือ่ น 3 คน มารวมกลมุ เพอื่ ทบทวนเร่อื งหลักการสรา งการมีสวนรว มของประชาชนในพืน้ ท่ี เมอื่ ชว ยกนั สรปุ แลว หาอาสาสมคั รเปน ผแู ทนเพือ่ เลา เรือ่ งราวใหเพอื่ นกลุม อืน่ ฟง กิจกรรมนเ้ี ปนการฝก การมีสว นรว มของสมาชิกกลมุ รวมกนั ทบทวน รว มกนั ทําความเขาใจรว มกนั อธิบายใหแ กก ันและรว มกันสรุปยอ เมอื่ ทุกคนไดฝ ก การทาํ งานรว มกนั แตละคนจะไดร ับโอกาสในการพัฒนาความคดิความมีเหตุมีผล พรอมที่จะรบั รขู อ มูลตาง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนตอ ตนเอง ชุมชนและสงั คม ไดร ับการพัฒนาใหคดิ ดแี ละมีจติ ใจดี เปนคนท่ีมีคณุ ภาพ ซึ่งคณุ ลกั ษณะเหลา นเี้ ปน รากฐานของสงั คมประชาธปิ ไตยและเปน กลไกสําคญั ในการพัฒนาประเทศชาติ กอ นผา นการเรยี นรเู รื่องการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ขอชื่นชมที่ไดใ ชเวลาในเรื่องนอี้ ยา งเต็มท่ี เรอ่ื งบางเร่ืองจะเรียนรไู ดตอ งอาศยั ใจมากอน จากนนั้ ตามดว ยความรูสึกนกึ คดิ ที่ดีเมอ่ื เขา ใจอยา งถองแทและยอมรบั สภาพทีเ่ ปน จรงิ ของมนษุ ยแ ลว เราจะรูสกึ ไดวา การเรยี นรูเรื่องนี้ไมยากอยางที่คดิ 33 บรรณานุกรมการพฒั นาตนเองของครูสคู วามเปน เลิศ. //202.143.146.195/km/index.php?option=com_ Content & task = view & id = 983 & Itemid = 57. คนเมื่อ 2 มนี าคม 2553.การมสี ว นรวมของประชาชน. www.moph.go.th/opdc/data. คน เมือ่ 2 มนี าคม 2553.การวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม. www.nonthaburi.go.th/Strategy/KPI_tem51_6M/2.1.doc. คน เมื่อ 2 มีนาคม 2553.เทคนคิ การวเิ คราะหขอมลู . //xdhool.ofec.go.th/noonkuschool/multimedia/rabobsarasontes. Php. คน เมื่อ 5 มีนาคม 2553.ประชาชนกบั การมีสว นรวมในการพฒั นาสงั คม. //dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc2/so31-2-4.htm. คน เมอื่ 5 มนี าคม 2553.ระดบั การมีสวนรว มของประชาชน. www.portal.in.th/clinictech/news/384/. คนเมอ่ื 5 มีนาคม 2553.วธิ กี ารเก็บขอ มลู . www.moac.go.th/bulider/gsilkkm/images/05Analysis.doc. คนเม่ือ 12 มนี าคม 2553.วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มูล. //webwerv.kmit.. Ac.th/&7065545/unit%201%20-%203.html. คน เม่ือ 12 มีนาคม 2553.วิธกี ารจดั เก็บขอมลู . http ://202.129.1.133/createweb/00000//00000-504.html. คน เมอ่ื 12 มีนาคม 2553.หลกั การพัฒนาชมุ ชน. www.nesdf.go.th/Portals/0/news/plan/p4/m3_8.doc. คนเมื่อ 12 มนี าคม 2553.หลักเกณฑก ารเลอื กหัวขอ ในการวิเคราะห. www.moac.go.th/builder/qsilkkm/images/04 Collect.doc. คนเมอ่ื 12 มีนาคม 2553. 34 ที่ปรึกษา คณะผจู ดั ทํา1. นายประเสรฐิ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. รองเลขาธกิ าร กศน.2. ดร.ชยั ยศ อิม่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. ทป่ี รึกษาดา นการพฒั นาหลักสูตร กศน.3. นายวชั รนิ ทร จําป ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ศูนยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี นผูเขียนและเรียบเรยี ง ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ ขา ราชการบํานาญ2. นางชนิดา ดียิง่ ขา ราชการบาํ นาญ ขาราชการบํานาญผูบรรณาธิการ และพฒั นาปรบั ปรุง ขา ราชการบาํ นาญ ขา ราชการบํานาญ1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน2. นางชนิดา ดยี ิง่ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น4. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น5. นางสาวสุรีพร เจรญิ นิช กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน6. นางพิชญาภา ปตวิ รา7. นางธัญญวดี เหลาพาณิชย8. นางเออ้ื จติ ร สมจติ ตชอบ9. นางสาวชนติ า จิตตธรรมคณะทํางาน1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน2. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป3. นางสาววรรณพร ปท มานนท4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นาผพู มิ พต น ฉบบั ปท มานนท นางสาววรรณพร ศรีรตั นศลิ ปผอู อกแบบปก นายศภุ โชค 35 คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560ที่ปรึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ1. นายสุรพงษ ปฏิบัติหนา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.2. นายประเสรฐิ สุขสุเดช ผูอาํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ3. นางตรนี ุช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยผปู รบั ปรุงขอมูลนางพรสวสั ด์ิ เถ่อื นมูลละ กศน.เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานครคณะทาํ งาน1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย4. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ชิ ยั 36


Author

Top Search

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก