แบบบันทึกการปฏิบัติงาน สังเกตการสอน

แบบบนั ทกึ การฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 2 ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ชื่อ-นามสกุล นายธีรพัฒน์ พทุ ธวงษ์ รหสั ประจาตวั นกั ศกึ ษา 60115260107 สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา โรงเรยี น เทพศิรนิ ทร์ พุแค สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๔ อาเภอเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั สระบุรี ฝ่ายฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี

คานา เอกสารฉบับนี้เป็นคู่มือประกอบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 เป็นส่วนหน่ึงของ กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู เพ่ือให้นกั ศกึ ษาได้มีโอกาสเรียนรแู้ ละเข้าในวิชาชีพครู ซ่ึง ได้แก่ กระบวนการเรียนการสอน หลักสูตร ระบบการบริหารงานการศึกษาในโรงเรียนและได้ ทางานร่วมกบั ผู้อื่น ซ่ึงกิจกรรมเหล่านี้จะสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักศึกษาได้เป็น อยา่ งดี การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 เป็นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเพื่อเตรียมความ พรอ้ มก่อนออกปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาโดยการสังเกตสภาพท่วั ไปของโรงเรียน พฤตกิ รรมการ เรียนร้ขู องนกั เรียน งานในหนา้ ที่ครผู ู้สอน ครูประจาช้ัน การศึกษางานด้านการบริหารและบริการ สภาพชมุ ชนและความสัมพนั ธ์ระหว่างโรงเรยี นกับชุมชน หวังว่าเอกสารฉบับน้ีคงให้ประโยชน์ในการเรียนรู้และเข้าใจในวิชาชีพครูก่อนท่ีจะออกฝึก ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพครใู นขั้นตอ่ ไป ฝ่ายฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

สารบญั เรอื่ ง หนา้ การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2........................................................................................ 1 จดุ ประสงค์ของการฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2............................................................... 1 ขอ้ เสนอแนะในการฝึกและการใช้เอกสาร ............................................................................... 3 การประเมินผลการฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรยี น 2................................................................ 4 เกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติวชิ าชีพคร.ู ......................................................................... 5 ปว.1-1 แบบบันทกึ การสงั เกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน ........................................................ 6 ปว.1-2 แบบบนั ทึกการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน .................................................................. 12 ปว.1-3 แบบบันทึกการสัมภาษณ์นักเรยี น ............................................................................. 14 ปว.1-4 แบบบนั ทึกการสังเกตสภาพชมุ ชนและความสัมพนั ธร์ ะหว่างโรงเรียนกบั ชมุ ชน ........ 18 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ตั งิ าน .......................................................................................... 19 ปว.1-6 แบบสัมภาษณ์ครูพี่เลยี้ ง.............................................................................................. 26 ปว.1-7 แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................... 27 ปว.1-8 การวิจยั ในชน้ั เรียน .................................................................................................... 31 ปว.1-9 แบบประเมนิ การปฏบิ ัติตนของนกั ศึกษา ................................................................... 39 ปว.1-10 แบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ (ครพู เี่ ลีย้ ง) 40 ปว.1-10 แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ (ครผู สู้ อน) 42 ปว.1-11 แบบประเมนิ ด้านคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอน (ครูพเ่ี ลีย้ ง) 44 ปว.1-11 แบบประเมนิ ดา้ นคุณภาพการจดั การเรยี นการสอน (ครูผู้สอน) 50 ภาคผนวก ............................................................................................................................... 56

1 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี เป็นมหาวิทยาลัยที่ทาหน้าที่ผลิตครูให้กับโรงเรียน ประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษาในทอ้ งถ่ินเขตรับผดิ ชอบ 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ ลพบุรี สระบุรี และสิงห์บุรี การผลิตครใู ห้มคี ณุ ภาพสามารถปฏบิ ัติงานในหน้าทค่ี รูได้เป็นอย่างดี และมีจิตวิญญาณของความเป็น ครูข้ึนอยู่กบั กระบวนการผลติ ซ่ึงได้แก่ กระบวนการเรยี นการสอนหลักสูตร การฝึกประสบการณ์ วิชาชพี ครู และกระบวนการประเมนิ ผล การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นกิจกรรมที่เป็นหัวใจสาคัญของการผลิตครู ในช่วงที่ฝึก ประสบการณ์ วิชาชีพครู นักศึกษาจะมีโอกาสนาความร้คู วามเข้าใจในวชิ าชีพครู และวิชาเฉพาะที่ ศกึ ษาในมหาวิทยาลยั ไป ฝึกปฏิบตั ิในช้ันเรียน นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้เกีย่ วกบั ระบบการบริหารงาน การศกึ ษาในโรงเรียนและได้ทางานร่วมกับบุคคลอนื่ กจิ กรรมเหลานี้ชว่ ยให้นักศกึ ษาได้พฒั นาตนเองให้ มีทักษะในวชิ าชพี จนสามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ครูไดอ้ ย่างมัน่ ใจและมีเจตคติทีด่ ีตอ่ วิชาชีพ งานวจิ ัยหลาย เร่ืองท้ังในและต่างประเทศยืนยันตรงกันว่า นกั ศึกษาที่ประสบความสาเร็จในการฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชพี ครจู ะมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพครูและแนวโน้มจะเปน็ ครทู ่ีดีในอนาคต จากแผนหลักการปฏริ ูปการฝึกหัดครู พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหค้ วามสาคัญ กบั การฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพราะเปน็ กลไกสาคัญยิ่งในการสรา้ งบัณฑิตครูที่ดี มเี จตคติท่ีดี ต่อวิชาชีพครู สถาบันฝึกหัดครูควรจะต้องปรับปรุงและพัฒนางานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้ เอื้ออานวยตอ่ การเรียนรูง้ านครู จากครูทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งท่ีมใี นโรงเรียนและชมุ ชน นอกจากนี้ควรจะ พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการฝึกหัดครูให้เปิดกว้างสู่ชุมชนขยายความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัย ขยายแหล่งเรียนรู้ แหล่งวิทยากร และแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอย่าง กว้างขวาง จุดประสงคข์ องการฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพระหว่างเรียน 2 1. เพ่ือให้นักศกึ ษามคี วามพร้อมก่อนออกปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 2. เพ่ือให้นักศึกษาได้ศึกษา สังเกตสภาพท่ัวไปของโรงเรียน ท้ังด้านการเรียนการสอน ดา้ นสถานท่ี และดา้ นกจิ กรรม 3. เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูใน สถานศกึ ษา 4. เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาได้ศกึ ษาและฝึกปฏิบัตกิ ารวางแผนการศกึ ษาผเู้ รียนโดยการสังเกต 5. เพื่อใหน้ ักศกึ ษาไดส้ มั ภาษณ์งานในหน้าทข่ี องครูผู้สอน งานในหนา้ ท่ีของครปู ระจาชนั้

2 6. เพื่อให้นักศกึ ษาได้ศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ลักษณะความแตกต่าง และพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น งานบรหิ ารและบริการของโรงเรยี น 7. เพื่อให้นกั ศึกษาได้ทดลองเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้วชิ าเอก การฝึกเป็นผู้ช่วยครดู า้ น การจดั การเรียนรูห้ รือสนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ งานธุรการชัน้ เรียน 8. เพ่ือให้นักศึกษาได้จัดทาโครงงานทางวชิ าการโดยเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานศึกษา และ รวบรวมขอ้ มูลนาเสนอผลการศกึ ษา

3 ข้อเสนอแนะในการฝกึ และการใชเ้ อกสาร การประกอบวิชาชีพให้เกิดประสิทธผิ ล ไม่เพียงแต่จะเรยี นร้ใู นภาคทฤษฎคี วามรอบรูใ้ นด้าน วิชาการเท่านน้ั ทสี่ าคญั ย่งิ กวา่ อ่ืนใดคือการฝกึ ภาคปฏบิ ัตอิ ยา่ งจรงิ จังและต่อเน่อื ง วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ครูเป็นผู้รับผิดชอบ “ชีวิต” ของมนุษย์ เช่นเดียวกับแพทย์มี หน้าที่รักษาโรคภัยไขเ้ จบ็ มีสขุ ภาพดีท้ังกายและใจ แต่ครูนอกจากให้ชวี ิตเหล่าน้ันมคี วามรู้ สามารถ อยู่ไดใ้ นสังคมอย่างมีความสุข มีคุณธรรม เป็นพลเมืองดีของชาติแล้วยังต้องพัฒนาให้เขาเหล่านั้นมี คุณภาพชีวติ ดว้ ย นกั ศึกษาแพทยท์ ุกคนตอ้ งฝกึ ในโรงพยาบาลเปน็ ระยะๆ อยา่ งต่อเน่อื งฉันใดนักศึกษาครูย่อม ฝึกในโรงเรียนในสถานการณ์จรงิ ฉนั นนั้ การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครตู ามหลักสูตรนบั เป็นโอกาสดีท่ี ได้เสริมสร้างคุณภาพในวิชาชีพของตน ข้อเสนอแนะต่อไปนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา และการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน วชิ าชีพครูและการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาอย่างย่ิง คอื 1. ศกึ ษาเอกสารโดยตลอดทาความเข้าใจและปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอน 2. เข้าปฐมนิเทศ และเขา้ รว่ มกิจกรรมตลอดรายการ 3. ปฏิบัติงานเป็นขน้ั ตอนตามกาหนดการ 4. บนั ทึกลงในแบบฟอร์มตา่ งๆ ตามลาดบั อยา่ งครบถ้วน 5. ให้ผูร้ บั ผดิ ชอบลงช่ือในแบบบนั ทึกแตล่ ะแบบตามลาดับ 6. ให้ผู้รับผิดชอบประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน เมื่อฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ระหวา่ งเรยี นและบันทกึ การปฏิบตั งิ าน ครบถว้ นตามกาหนด 7. หลังจากทางโรงเรียนประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียนโดยอาจารย์พ่ีเลี้ยง แล้ว ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูและอาจารย์ผู้สอนจะประเมินผลคร้ังสุดท้ายหลังจากครบ กาหนดเวลาการปฏบิ ตั งิ านวชิ าชพี ครู

4 การประเมนิ ผลการฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2 การประเมินผลการปฏิบตั ิงานวิชาชีพครู ประเมินตามรายวชิ าทฝ่ี ึกทุกปีการศกึ ษา นกั ศึกษา ต้องผา่ นการฝกึ เป็นขั้นตอนตามลาดับ หากไม่ผา่ นในขน้ั ตอนใดต้องซ่อมเสริมให้ “ผ่าน” จึงฝึกในขั้น ต่อไปได้ การประเมินผลการปฏิบัติงานวิชาชีพครู เป็นการประเมินผลท่ีครอบคลุมทั้งคุณลักษณะ ความเปน็ ครแู ละเทคนิควิธี โดยมีผปู้ ระเมนิ ทง้ั ฝา่ ยมหาวทิ ยาลยั และโรงเรยี น ในการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณข์ ้ันศกึ ษาสังเกตและมีส่วนร่วม นบั ตั้งแต่ปีการศึกษา 2542 เป็นต้นไป จะเปลี่ยนระบบการประเมินผลจาก ผ่านดีเย่ียม, ผ่าน, ไม่ผ่าน เป็นระบบการ ประเมินแบบให้เกรดคือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ E ประเภทของแบบประเมิน แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพครู หรอื ปว. มที ั้งหมด 9 ชดุ แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 1. สาหรบั นักศึกษา ปว.1-1 ถงึ ปว.1-8 จะเป็นแบบบันทกึ การสังเกต การสัมภาษณ์ การ จดั ทาแผนการจดั การเรยี น และการวิจัยในชนั้ เรยี น ดังน้ี ปว.1-1 แบบบนั ทกึ การสงั เกตสภาพทั่วไปของโรงเรยี น ปว.1-2 แบบบันทึกการสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น ปว.1-3 แบบบนั ทกึ การสัมภาษณน์ กั เรยี น 2 คน ปว.1-4 แบบบนั ทกึ การสังเกตสภาพชุมชนและความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ชมุ ชน ปว.1-5 แบบบนั ทกึ การปฏิบัตงิ าน ปว.1-6 แบบสมั ภาษณ์การจดั การเรียนรู้ ปว.1-7 แผนการจดั การเรยี นรู้ 1 แผน ปว.1-8 การวิจัยในชนั้ เรยี น นักศึกษามีหน้าท่ีบนั ทกึ ผลการศกึ ษาสังเกตให้ถูกต้องตามความเป็นจริงและสะอาด เรยี บร้อย หลังจากนัน้ ใหอ้ าจารย์พเ่ี ล้ียงและอาจารยน์ ิเทศกล์ งชื่อรบั รอง 2. สาหรับอาจารย์พ่ีเลี้ยง ปว.1-9 แบบประเมินการปฏิบัติตนของนักศึกษา โดยให้ อาจารย์พ่ีเล้ียงประเมิน จากนั้นอาจารย์ผู้รับผิดชอบในรายวิชาการปฏิบัติงานวิชาชีพครจู ะทาการ ประเมินสรปุ ผลครั้งสุดทา้ ยในลกั ษณะของผลการเรียนทีค่ วรจะไดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิงานวชิ าชพี ครู

5 เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลการฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1. คะแนนจาก ปว.1-6 และ ปว.9 ซ่ึงได้รับการประเมนิ จากอาจารย์พ่เี ลย้ี งประจาโรงเรียน 2. คะแนนจากการประเมินของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาการปฏิบัติงานวิชาชีพครู ซึ่ง ประกอบด้วย คะแน นจากการมาเรียน การแต่งกาย การมีส่วนร่วมในห้อง งาน 9 ช้ิน และการนาเสนอ 3. แนวทางการใหค้ ะแนนรายวชิ าการฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 2 คาชแ้ี จง ในการฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพระหวา่ งเรียน 2 กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดังน้ี 3.1 งานทัง้ หมด 40 คะแนน (อาจารยผ์ ูส้ อน) 3.1.1 แบบบนั ทึกปฏิบัติงานของนกั ศกึ ษา 10 คะแนน 3.1.2 แผนการจดั การเรยี นรู้ 10 คะแนน 3.1.3 การจดั การเรยี นรู้ 20 คะแนน (อาจารย์ผ้สู อนและครูพ่ีเลี้ยง) 3.2 งานวิจยั ในช้นั เรียน 10 คะแนน (อาจารย์ผูส้ อน) 3.3 นาเสนอ 10 คะแนน (อาจารย์ผสู้ อน) 3.4 บคุ ลกิ ภาพ 20 คะแนน (อาจารยผ์ ู้สอนและครพู ่เี ลีย้ ง) 3.5 การแต่งกาย/การใชว้ าจา/กิรยิ าทา่ ทาง ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง/ต่อเพอ่ื น/ตอ่ โรงเรียน 20 คะแนน (อาจารยผ์ สู้ อนและครพู ีเ่ ล้ยี ง) รวม 100 คะแนน 4. นาคะแนนจากขอ้ 1 และ 2 มารวมกันแล้วปะเมินเป็นเกรดโดยมเี กณฑ์ ดงั นี้ คิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน คะแนน 90 – 100 ไดร้ ะดบั A คะแนน 85 – 89 ได้ระดับ B+ คะแนน 80 – 84 ไดร้ ะดับ B คะแนน 75 – 79 ไดร้ ะดับ C+ คะแนน 70 – 74 ไดร้ ะดับ C คะแนน 65 – 69 ได้ระดับ D+ คะแนน 60 – 64 ไดร้ ะดับ D คะแนน 0 – 59 ไดร้ ะดบั E

6 ปว.1-1 แบบบนั ทกึ การสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรยี น คาชแ้ี จง ใหน้ ักศกึ ษาบนั ทึกข้อมลู การศกึ ษาและสังเกตสภาพท่ัวไปตามความเปน็ จรงิ ของสถานศกึ ษา ลงในช่องว่างตามหวั ขอ้ ท่กี าหนด 1. โรงเรียน เทพศริ นิ ทร์ พุแค สังกัด สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๔ . เลขท่ี 175 หมู่ 1 ซอย/ถนน พหลโยธิน ตาบล/แขวง พุแค . อาเภอ/เขต เฉลมิ พระเกียรติ จงั หวดั สระบุรี . รหัสไปรษณยี ์ 18240 โทรศพั ท์ 036-909996 โทรสาร - . 2. คตพิ จน/์ ปรัชญาของโรงเรียน/วิสยั ทศั นข์ องโรงเรียน ปรัชญา : นกั เรียนมีความรู้ คคู่ ณุ ธรรม และทกั ษะชีวติ วิสัยทศั น:์ เปน็ สถานศึกษาชนั้ น า ผ้เู รยี นมีมาตรฐาน และเปน็ คนดมี คี ณุ ธรรมของสังคมไทย 3. ชอื่ ผ้บู ริหารโรงเรียน : นายธนาพล จีรเดชภทั ร์ รองผ้อู านวยการโรงเรียน ฝ่ายวิชาการ : รองผูอ้ านวยการ นางสาวหทัยพชั ร ทองเดช ฝ่ายปกครอง : รองผอู้ านวยการ นางสาวประภาภรณ์ วงษ์ทอง ฝา่ ยธุรการ : ผูช้ ว่ ยผู้อานวยการ นางสาววิจิตรา รัตนไชย ฝ่ายบริการ : รองผูอ้ านวยการ นางสาวจฑุ ามาศ มรเมทนิ ฝ่ายกิจการ : ผ้ชู ่วยผ้อู านวยการ นางสาวประภาภรณ์ วงษท์ อง ฝา่ ยบุคคล : ผชู้ ว่ ยผูอ้ านวยการ นางสาวณฐิดา เหลก็ ชยั 4. บุคลากร 4.1 ครอู าจารย์ ระดบั การศึกษา สาขาวิชา จานวน รวม ชาย หญิง ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรี ป.กศ.สูงหรอื เทยี บเทา่ ครูอตั ราจา้ ง ธรุ การ อ่ืนๆ รวม 86

7 4.2 คนงาน มที ้ังหมด......10......คน เปน็ หญงิ ......4......คน เป็นชาย.....6.......คน 4.3 นกั เรยี น มีทั้งหมด.... 1846...คน เป็นหญิง...1027....คน เป็นชาย....819...คน แยกตามลาดับขัน้ ต่าง ๆ ไดด้ ังน้ี จานวนหอ้ ง จานวนนกั เรยี น ระดบั ชั้น หญงิ ชาย รวม - 1. อนุบาล 1 - --- 2. อนบุ าล 2 - --- 3. อนบุ าล 3 - --- 4. ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - --- 5. ประถมศึกษาปีท่ี 2 - --- 6. ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 - --- 7. ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - --- 8. ประถมศึกษาปที ่ี 5 - --- 9. ประถมศึกษาปที ่ี 6 11 --- 10. มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 10 211 196 407 11. มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 11 213 201 414 12. มัธยมศึกษาปีท่ี 3 7 181 182 363 13. มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 6 148 88 236 14. มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 6 143 69 212 15. มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 131 83 214 16. 17. 107 1027 819 1846 18. รวม สรปุ อตั ราสว่ นระหว่างจานวนครอู าจารย์ตอ่ จานวนนกั เรียน โดยประมาณ คือ ครูอาจารย์…………1………คน ต่อนักเรียน…………21…………คน

8 5. อาคารสถานที่ 5.1 ห้องเรียน มที ัง้ หมด 60 ห้อง 5.2 ห้องพักครูอาจารย์ มที ง้ั หมด 9 ห้อง 5.3 หอ้ งส่งเสรมิ วชิ าการ มที ้งั หมด 10 ห้อง คือ (ระบุช่ือห้อง) คือ ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร,์ ห้องภาษาจีน, หอ้ งภาษาญี่ป่นุ , ห้องสมุด, หอ้ งดนตรี , หอ้ งนาฏศลิ ป์ 6. สภาพแวดล้อม 6.1 สถานท่ีสาคญั ท่อี ย่ใู กลโ้ รงเรยี น ไดแ้ ก่ 6.1.1 สวนพฤกษศาสตร์ พแุ ค 6.1.2 ศนู ย์ โอทอป พุแค 6.2 สถานทใ่ี กลเ้ คียงโรงเรียนทเี่ ป็นแหล่งวทิ ยาการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน 7. สภาพของนักเรียน 7.1 สภาพครอบครวั (อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกจิ ) - สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกร มฐี านะปานกลาง 7.2 พฤติกรรมนกั เรียน - มีระเบียบวินัย ปฏิบัตติ ามกฏระเบยี บของโรงเรียน 8. ภาระหน้าทข่ี องครผู ้สู อน 8.1 ครูประจาช้ัน 1. อบรมนักเรยี นใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บของโรงเรียนอยเู่ สมอ 2. ใหค้ าปรึกษาแก่นักเรยี น 3. ใหว้ ชิ าความรู้แกน่ กั เรียน 8.2 งานอ่ืนๆ 1. ประสานงานคณุ ครูแตล่ ะทา่ นในกลุ่มสาระ 2. งานทะเบยี น

9 9. แผนผังแสดงบรเิ วณและทต่ี ง้ั ของโรงเรียน 10. ประวัตโิ รงเรยี น ประวัติโรงเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค เดิมช่ือโรงเรียนพุแควิทยา ได้รับอนุมัติจ าก กระทรวงศึกษาธิการใหจ้ ัดตั้งเมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2519 โดยจดั สอนตามหลักสูตรโครงการทดลอง สง่ เสรมิ การเรียนการสอนวิชาชพี ควบคไู่ ปกับวิชาชีพสามญั ในโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอนต้นระดบั ตาบล ในระยะสองปีแรกได้อาศัยพ้นื ทีโ่ รงเรยี นหนา้ พระลาน “พบิ ูลสงเคราะห์”ตาบล หน้าพระลาน อาเภอ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เป็นสถานทเี่ รียนชัว่ คราวท่ตี ั้งปจั จุบันของโรงเรียนเทพศิรินทร์ พแุ ค ตงั้ อยู่ใกลแ้ ยกสามแยกพุแคหลัก ก.ม. ท่ี 123-124 ถนนพหลโยธนิ หมู่ที่ 1 ตาบลพุแค อาเภอเฉลิม พระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ท่ีดินของโรงเรียนได้รับการอนุมัติจากกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ให้ใช้ท่ีดินป่าสงวนแห่งชาติป่าพระพุทธบาท-พุแค จานวน 50 ไร่ ผู้เร่ิมก่อตั้งโรงเรียนคือ นายสละ หนูเงิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรจังหวดั สระบุรี ร่วมกับประชาชนของตาบล พุแค, หน้าพระลาน และตาบลใกล้เคียง มีความปราถนาท่ีจะให้มี โรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาในชุมชน เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสรับการศึกษาเพิ่มขึ้น จึงได้ ดาเนินการ ขออนมุ ตั ิตอ่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ตามลาดับกรมสามัญศึกษา ได้แตง่ ต้งั นายอดุ ม ปญั ญา ผู้ช่วยอาจารยใ์ หญ่โรงเรียนสุธีวิทยา อาเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี มาดาารงตาแหน่งครใู หญ่ ตัง้ แต่วันท่ี 1 มิถุนายน 2519

10 ปกี ารศึกษา 2521 ประชาชนชาวตาบลพุแค ตาบลหน้าพระลานและตาบลใกล้เคียง ได้ช่วยกัน จัดสร้างอาคารเรียน “ประชานเุ คราะห์” จานวน 1 หลัง จานวน 9 หอ้ งเรยี นราคาก่อสร้าง 550,000 บาท จึงได้ย้ายมาจัดการเรยี นการสอน ณ สถานที่ต้ังโรงเรยี นปัจจุบันเม่ือวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2521 โดยมี นายก่อ สวัสด์ิพาณชิ ย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ในขณะน้นั ) มาเปน็ ประธานในพิธี มอบและเปิดอาคาร เม่ือวนั ที่ 23 มีนาคม 2522 ในปีการศกึ ษา 2524 กรมสามญั ศกึ ษา ไดอ้ นมุ ัติให้เปดิ สอนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 และ ม.ศ.4) โดยเปิดสอนตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2518 และหลักสูตร มธั ยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2524 หลักสตู รละ 2 ห้องเรยี นและได้จดั การเรียนการสอนตามโครงการ ส่งเสริมสมรรถภาพการเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างภายในและภายนอกโรงเรียนของกรมสามัญ ศึกษาในปี พ.ศ.2546 สาานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐานอนมุ ัติให้เปล่ยี นชื่อจาก โรงเรยี นพุ แควทิ ยา เป็นโรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ พแุ ค ตามประกาศสาานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกาศ ณ วนั ที่ 9 มถิ ุนายน 2546

11 แผนภูมิโครงสร้างการบริหารของโรงเรยี น ลงช่อื ธรี พัฒน์ พทุ ธวงษ์ ผู้บนั ทึก ( นายธีรพัฒน์ พทุ ธวงษ์ ) วนั ท่ี 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563 . ลงชื่อ………………………………………….ครูพี่เลย้ี ง ( นายวริ ตั น์ เชาวส์ นุ ทร ) วนั ที่ 21 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563 .

12 ปว.1-2 แบบบันทกึ การสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น ตอนท่ี 1 ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาสังเกตพฤติกรรมโดยทั่วไปของนักเรียนในช้ันเรยี นลงใน ชอ่ งผลการสังเกต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี น เทพศริ ินทร์ พแุ ค ลาดับ รายการ ผลการสังเกต ท่ี 1 ด้านการศึกษาเล่าเรยี น - พฤตกิ รรมขณะเรียน ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ฟังครูผู้สอน อย่างตง้ั ใจ ไม่ พดู คุยเสยี งดัง - ความสนใจในการคน้ คว้าหาความรู้เพิ่มเติม ผู้เรียนมีการยกมือถามครูผู้สอนเม่ือเกิดข้อ สงสัย หรือ เดินมาถามครูผู้สอนเพ่ือให้ อธิบายในส่ิงทต่ี นสงสัย - การใช้เวลาว่างในโรงเรยี น ผเู้ รยี นมีการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ เช่น ทบทวนสิ่ง ท่ีเรียน เข้าใช้บริการห้องสมุด เพ่อื สบื คน้ ข้อมูล - การใชห้ ้องปฏบิ ัตกิ ารตา่ ง ๆ ในโรงเรียน ผู้เรียนใช้ห้องปฏิบัติการต่างๆในโรงเรียน ดว้ ยความ เรียบรอ้ ยและเปน็ ระเบียบ 2 ด้านสุขภาพอนามยั - ความสะอาดของเสือ้ ผ้าเครอื่ งแตง่ กาย ผู้เรียนแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ถูกต้องตาม กฎระเบยี บ ของโรงเรยี น - ความสะอาดของรา่ งกาย ผู้เรียนลา้ งมอื ทกุ คร้งั เมอื่ เข้าหอ้ งเรยี น - การรับประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ ผู้เรยี นรับประทานอาหารครบ 5 หมู่ - การรักษาสขุ ภาพ อนามยั การเจริญเติบโต ผู้เรียนมีการออกก าลังกาย เช่น การเล่น เหมาะสมกับวัย กีฬา 3 ดา้ นสงั คม - การปฏิบัตติ ามระเบียบของโรงเรยี น ผเู้ รยี นปฏบิ ัติตามระเบียบของโรงเรยี นอยา่ ง เครง่ ครดั - ความสมั พันธ์ระหวา่ งนักเรยี นกับเพอื่ น ๆ ผเู้ รียนแตล่ ะคนมมี นษุ ย์สัมพันธท์ ดี่ ีต่อกนั

13 - ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครู / ผเู้ รียนมีสัมมาคารวะ อ่อนน้อมถ่อมตน เช่ือ อาจารย์ ฟังครผู ู้สอน 4 ดา้ นเศรษฐกจิ - ความเหมาะสมของเคร่ืองแต่งกายกับ ผ้เู รียนมีฐานะปานกลาง ส่วนใหญ่ประกอบ สภาพของนักเรยี น อาชีพ เกษตรกร - ความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายท่ีได้รับมา เหมาะสมกับค่าใช้จา่ ยที่ผเู้ รยี นไดร้ บั ต่อวนั โรงเรยี น - การรูจ้ ักใชจ้ า่ ยเงินในโรงเรยี น มีความประหยัดการใช้จา่ ยเหมาะสมกับเงิน ของตนเอง ตอนท่ี 2 ให้นกั ศึกษาสรปุ ผลการสังเกตศึกษาสงั เกตนักเรยี นตามหวั ข้อตอ่ ไปน้ี 1. พฤตกิ รรมดา้ นทีเ่ ด่นทส่ี ดุ ของนักเรียน - มคี วามตง้ั ใจเรียน - ไมพ่ ดู คยุ กนั - ไมเ่ ลน่ โทรศัพทม์ อื ถอื ขณะท าการเรียนการสอน 2. พฤติกรรมดา้ นที่ควรปรับปรงุ ของนักเรียน - การทบทวนเน้อื หาเก่าๆทตี่ ้องในบทถัดไปให้มากขึน้ สมาธิสน้ั 3. ถ้านกั ศึกษาเป็นอาจารย์ประจ าชนั้ น้ี นักศึกษาจะมีแนวปฏบิ ตั ิเพ่ือปรับปรุงพฤติกรรมของนกั เรียน ใหด้ ขี ้ึนอยา่ งไร (ตอบเป็นข้อ ๆ) 1. ทาสื่อการสอนทนี่ า่ สนใจมเี น้ือหาเข้าใจง่าย 2. มีกจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดเ้ ล่นได้ตอบค าถามกระตุ้นผู้เรยี น 3. มขี องเสริมแรงใหผ้ เู้ รยี น 4. ใหผ้ ้เู รียนทวนคาถามหรอื ทบทวนเนอ้ื หาการสอนโอยการตอบถามในชั้นเรียน ลงชอื่ ธรี พฒั น์ พทุ ธวงษ์ ผู้บันทึก ( นายธีรพฒั น์ พุทธวงษ์ ) วันท่ี 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพี่เลีย้ ง ( นายวิรัตน์ เชาว์สุนทร ) วนั ที่ 21 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563

14 ปว.1-3 แบบบันทึกการสัมภาษณ์นักเรยี น คาช้แี จง ให้นกั ศกึ ษาบันทึกผลการสัมภาษณน์ กั เรยี นในชน้ั เรียนมา 2 คน ตามหัวขอ้ ทีก่ าหนด 1. ชื่อ นายศิรวิชญ์ เปล่ียนฟ้า ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/2 . อายุ 16 ปี โรงเรยี น เทพศริ นิ ทร์ พแุ ค . 2. จานวนพ่ีน้อง 2 คน เปน็ บตุ รคนที่ 2 คน. 1 คน ยงั เรียนอยู่ 1 ทางานแล้ว 3. ช่ือบิดา นายธงชัย เปลี่ยนฟา้ อาชีพ รับจา้ ง . ชื่อมารดา นางจิรัชญา จิระราชวโร . สถานภาพการสมรส  อย่ดู ว้ ยกัน อาชีพ ค้าขาย  บดิ าถงึ แกก่ รรม  แยกกันอยู่  หยา่ ร้าง  มารดาถงึ แกก่ รรม 4. ไดร้ ับเงินมาโรงเรียนเปน็  รายวัน  รายสปั ดาห์  รายเดอื น (ระบจุ านวนเงิน) 100 บาท 5. เงินท่ไี ด้รบั  เพยี งพอ  ไม่เพียงพอ ถา้ ไม่เพยี งพอตอ้ งการ (ระบจุ านวนเงิน)……………………….บาท 6. เดนิ ทางมาโรงเรยี นโดย  รถโดยสารประจาทาง  รถรับสง่  รถสว่ นตัว  อ่ืน ๆ ระบุ……………………….  รถไฟ  เดินเท้า 7. คะแนนเฉลย่ี ภาคเรียนที่แล้ว 2.58 . 8. ไดร้ ะดบั คะแนนสงู สุดวิชา วทิ ยาศาสตร์, สงั คม ไดร้ ะดบั คะแนนตา่ สุดวิชา ศลิ ปะ . 9. ปัญหาในการเรียน  มี  ไม่มี ถ้ามรี ะบุเป็นข้อ ๆ 1. เขา้ กับเพ่ือนไมไ่ ด้ (บางคน) . 2……………...………………………………………………………………………………………………………………….....

15 10. ชอบวิชา ิวิทยาศาสตร์ มากที่สุด เพราะ สนุก . ไมช่ อบวิชา คณิตศาสตร์ มากท่ีสุด เพราะ ไมช่ อบตวั เลข . 11. ชอบครู / อาจารย์ ครูเจนขดนิ ทร์ ยศปน่ิ ตา มากทส่ี ดุ เพราะ เข้ากนั ไดด้ ี, ทัศนะคตติ รงกนั . 12. เม่อื จบแลว้ ต้องการ  เรียนต่อ  ไม่เรยี นตอ่ ระบสุ ถานที่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ . 13. ในอนาคตตอ้ งการประกอบอาชีพ ทนาย, ผพู้ ิพากษา . 14. ความภาคภมู ิใจในโรงเรียน  ภูมิใจ  ไม่ภูมใิ จ ในดา้ น เปน็ พรเี ซน็ เตอรช์ ุดนกั เรียน . 15. ปญั หาสว่ นตัวของนักเรียนทต่ี อ้ งการใหโ้ รงเรียนช่วยเหลอื คอื …………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 16. จากการสมั ภาษณ์นักเรยี นใหป้ ระโยชนแ์ ก่ครู คือ ..............................................................................................…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..................................... 17. ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการสมั ภาษณ์นกั เรยี น ..........................................................................................................………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................... ลงชือ่ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผูบ้ นั ทกึ ( นายธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 21 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชอ่ื ………………………………………….ครูพเี่ ลยี้ ง ( นายวิรตั น์ เชาวส์ นุ ทร ) วันท่ี 21 เดอื น ธันวาคม พ.ศ 2563

16 ปว.1-3 แบบบันทกึ การสัมภาษณ์นกั เรยี น คาช้แี จง ให้นักศกึ ษาบนั ทึกผลการสมั ภาษณน์ ักเรียนในช้ันเรยี นมา 2 คน ตามหวั ขอ้ ที่กาหนด 1. ชื่อ นางสาวฐิตาภา ไพเราะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/5 . อายุ 18 ปี โรงเรยี น เทพศริ ินทร์ พุแค . 2. จานวนพี่นอ้ ง 2 คน เป็นบุตรคนที่ 2 คน. 1 คน ยังเรยี นอยู่ 1 ทางานแล้ว 3. ชื่อบิดา นายผล ไพเราะ อาชพี พนกั งานบรษิ ทั . ชอ่ื มารดา นางสุนันท์ สีดาพาลี . สถานภาพการสมรส  อยู่ดว้ ยกัน อาชพี ค้าขาย  บิดาถงึ แก่กรรม  แยกกนั อยู่  หย่าร้าง  มารดาถึงแก่กรรม 4. ไดร้ ับเงนิ มาโรงเรยี นเป็น  รายวนั  รายสปั ดาห์  รายเดือน (ระบจุ านวนเงิน) 500 บาท 5. เงินท่ีไดร้ บั  เพียงพอ  ไมเ่ พยี งพอ ถา้ ไมเ่ พียงพอต้องการ (ระบจุ านวนเงิน)……………………….บาท 6. เดินทางมาโรงเรยี นโดย  รถโดยสารประจาทาง  รถรับส่ง  รถส่วนตัว  อน่ื ๆ ระบุ……………………….  รถไฟ  เดินเทา้ 7. คะแนนเฉลี่ยภาคเรยี นท่แี ล้ว 3.18 . 8. ได้ระดบั คะแนนสงู สุดวิชา วทิ ยาศาสตร์, สงั คม ได้ระดับคะแนนต่าสุดวชิ า ศลิ ปะ . 9. ปัญหาในการเรยี น  มี  ไมม่ ี ถา้ มรี ะบุเป็นข้อ ๆ 1. . 2……………...………………………………………………………………………………………………………………….....

17 10. ชอบวิชา ภาษาไทย มากทีส่ ุด เพราะ เรียนแล้วเขา้ ใจมาก . ไมช่ อบวิชา ภาษาอังกฤษ มากทส่ี ดุ เพราะ เนอ้ื หาคอ่ นขา้ งงยาก . 11. ชอบครู / อาจารย์ ครชู ญานุช สนพลอย มากท่สี ดุ เพราะ อาจารยใ์ จดี . 12. เมอ่ื จบแล้วต้องการ  เรียนต่อ  ไม่เรยี นต่อ ระบสุ ถานท่ี มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ . 13. ในอนาคตตอ้ งการประกอบอาชพี ทนาย, ผู้พิพากษา . 14. ความภาคภูมใิ จในโรงเรยี น  ภูมใิ จ  ไม่ภมู ใิ จ ในดา้ น วฒั นธรรมเทพศริ นิ ทร์ . 15. ปัญหาสว่ นตัวของนักเรยี นทต่ี อ้ งการให้โรงเรยี นช่วยเหลอื คอื …………….………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 16. จากการสัมภาษณ์นักเรียนใหป้ ระโยชน์แก่ครู คอื ..............................................................................................…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..................................... 17. ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการสมั ภาษณ์นักเรียน ..........................................................................................................………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................... ลงชอื่ ธรี พฒั น์ พทุ ธวงษ์ ผบู้ ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 21 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชื่อ………………………………………….ครูพเี่ ลยี้ ง ( นายวิรัตน์ เชาว์สนุ ทร ) วนั ท่ี 21 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563

18 ปว.1-4 แบบบันทึกการสังเกตสภาพชุมชนและความสัมพนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน โรงเรยี น................................................................................................................................................ วนั ……………………เดอื น……………………………….....….……พ.ศ.……………………………(ที่ศกึ ษาและสงั เกต) คาชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกตสภาพชุมชน ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง โรงเรยี นกบั ชุมชนในชอ่ งวา่ งตามหัวขอ้ ทกี่ าหนดให้ 1. ช่อื ชุมชน/หมู่บา้ น.............................................................ตาบล/แขว.............................................. อาเภอ/เขต........................................................................จงั หวัด.................................................. 2. อาชพี หลกั ของประชากรสว่ นใหญ่ในชมุ ชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………................................................................................................................ .......................................... 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบดว้ ยผ้ใู ดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… 4. โครงการ/แผนงาน/งบประมาณของสถานศกึ ษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… 5. การประชาสมั พันธโ์ รงเรยี น (การจัดทาขา่ วสื่อสารสมั พนั ธ์กบั โรงเรียน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………. . . …………………………………………………….………… 6. ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นในด้าน.................................................................จานวน....................คน โรงเรยี นนาภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ เข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาหรอื ไม่อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………… ลงชื่อ ธีรพฒั น์ พุทธวงษ์ ผบู้ นั ทกึ ( นายธรี พฒั น์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 21 เดอื น ธันวาคม พ.ศ 2563 . ลงช่ือ………………………………………….ครูพีเ่ ล้ยี ง ( นายวิรัตน์ เชาว์สุนทร ) วันที่ 21 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563

19 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ที่ปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 14 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ที่ไดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิคการสอนท่ี ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรูปแบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การช้ันเรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารุงอปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู นั ทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 14 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 14 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563

20 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ท่ีปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 15 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชน้ั เรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 15 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

21 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ท่ีปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 16 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชน้ั เรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 16 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 16 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

22 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ท่ีปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 17 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบัตงิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชน้ั เรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 17 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

23 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏิบัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ท่ีปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 18 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชน้ั เรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วันท่ี 18 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 18 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

24 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ท่ีปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 21 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วิธกี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชน้ั เรยี นและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดหอ้ งเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเรอ่ื งและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพัฒน์ พุทธวงษ์ ผ้บู ันทกึ ( นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 21 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวริ ัตน์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

25 ปว.1-5 แบบบันทึกการปฏบิ ัติงาน คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทกึ ผลการปฏบิ ัติงานในสถานศกึ ษาทุกครงั้ ที่ปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา ตาม รายการที่กาหนดให้ วันที่ 22 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 . วนั /เดือน/ปี รายการทป่ี ฏบิ ัติ/ที่ได้เรยี นรู้ ส่งิ ทไ่ี ดร้ ับจากการ หมาย ปฏิบตั งิ านน้ี เหตุ 1. งานในหนา้ ท่ี วธิ กี ารจดั การหอ้ งเรยี น - ทกั ษะและเทคนิดการสอนที่ ครูประจาช้นั เทคนิคการสอน หลากหลายรปู แบบ อานวยความสดวกในช้ันเรียน - ไดร้ บั ประสบการณ์ในการ จดั การชัน้ เรียนและวิธรี ับมือ 2. งานบรกิ ารของ งานฝา่ ยวิชาการ กับเดห็ ายรปู แบบ โรงเรียน - ถ่ายเอกสาร - เก็บกวาดห้องเรยี น 3. งานธุรการชั้น - - ทานบุ ารงุ อปุ กรณ์ในชั้นเรียน เรียน - รับเร่ืองและจดั ทา ป.พ 1 ให้ นักเรยี น - ลงช่ือ ธีรพฒั น์ พุทธวงษ์ ผ้บู นั ทกึ ( นายธีรพฒั น์ พุทธวงษ์ ) วนั ท่ี 22 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563 . ลงชือ่ ………………………………………….ครูพีเ่ ลย้ี ง ( นายวิรตั น์ เชาว์สุนทร ) วันท่ี 22 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2563

26 ปว.1-6 แบบสัมภาษณ์การจดั การเรียนรู้ (สมั ภาษณค์ รูพ่ีเลี้ยง) ชือ่ นายวิรัตน์ สกุล เชาวส์ นุ ทร . โรงเรยี น เทพศิรินทร์ พุแค อาเภอ เฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวัด สระบรุ ี . คาช้ีแจง ใหน้ กั ศึกษาสัมภาษณ์การจดั การเรียนรู้ของครูพีเ่ ล้ียงและบันทึกลงในชอ่ งวา่ งทกี่ าหนด 1. ทา่ นสอนก่รี ายวชิ า วิชาอะไรบา้ ง จานวนกชี่ ว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ 2 รายวิชา 1. วทิ ยาการคานวณ ว20284 10 ชม./สัปดาห์ 2. วิทยาการคานวณ ว21182 8 ชม./สัปดาห์ 2. ปญั หาท่ีพบในรายวิชาท่ีสอน มอี ะไรบ้าง - ขาดทกั ษะในการใชง้ านคอมพิวเตอร์ . - ขาดทกั ษะคิดแบบกระบวนการ . 3. ท่านไดด้ าเนินการแก้ไขอย่างไร/มีเทคนิคใดในการดาเนินการแก้ไข - ฝึกกระบวนการเสริมทกั ษะใหเ้ ด็ก . . 4. ท่านมีข้อเสนอแนะอยา่ งไรในการดาเนินการจดั การเรียนรู้ หรอื งานด้านอนื่ ๆ - เพิ่มเวลาในการจดั การเรียนการสอนใหม้ ากข้ึน . 5. ท่านมกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ะหวา่ งเพอ่ื นครหู รอื ไมอ่ ย่างไร (PLC) ถ้ามีท่านดาเนินการอย่างไร และผลการดาเนินการเป็นอย่างไร - มีการจัดประชมุ ในการจัดการเรียนการสอนแตล่ ะดบั ช้ัน เพ่อื แรกเป็นวชิ าการสอนและกระบวนการ สอนต่างๆ .

27 ปว.1-7 แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาการคานวณ รหสั วิชา ว22184 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 การแกป้ ญั หาด้วยโปรแกรม Scratch เรือ่ ง การแกป้ ัญหาด้วยโปรแกรม Scratch เวลา 2 ช่ัวโมง มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง อย่างเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทางาน และการ แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตวั ชี้วดั ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใี่ ชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรอื การทางานที่ พบในชวี ิตจริง ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทใี่ ชต้ รรกะและฟังกช์ ันในการแก้ปัญหา 2. สาระสาคญั Scratch เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับสร้างผลงานต่างๆ เช่น การทาแอนิเมชัน การจาลอง ทางวิทยาศาสตร์ เกม ดนตรี ศลิ ปะ การสร้างสื่อแบบมปี ฏิสัมพันธ์ โดยมวี ิธกี ารโปรแกรมท่ีไม่ตอ้ งมี การพิมพ์คาส่ังที่ยุ่งยากซับซ้อน เหมาะกับการสอนหลักการโปรแกรมท่ีส่งเสริมความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีระบบ ชิ้นงานในโปรแกรม Scratch เรียกว่าโปรเจกต์ ซ่ึงประกอบด้วย โครงสร้างที่สาคญั อยู่ 3 ส่วน ได้แก่ เวที (Stage) ตัวละคร (Sprite) และสคริปต์ (Script) โดยแต่ละ สว่ นมีความสัมพันธก์ ันและทางานรว่ มกัน การสร้างโปรเจกต์เกิดจากการเขียนสคริปต์ (ชุดคาสั่ง) ซ่ึง โปรแกรม Scratch ใช้การวางบล็อกเรยี งตอ่ กันแทนการเขียนคาสง่ั ในโปรแกรมภาษาท่ัวไป เพือ่ สั่งให้ ตวั ละครทางาน ณ ตาแหน่งตา่ งๆ บนเวที 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 ผเู้ รียนสามารถบอกสว่ นประกอบของโปรแกรม Scratch ได้ 3.1.2 ผเู้ รยี นสามารถเขยี นและอธิบายอัลกอรทิ มึ ในการแกไ้ ขปญั หา อย่างงา่ ยได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) 3.2.1 ผู้เรียนสามารถออกแบบวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาดว้ ยโปรแกรม Scratch ได้ 3.2.2 ผูเ้ รียนสามารถเขยี นอลั กอรทิ ึมในการแกไ้ ขปญั หาได้

28 3.3 ดา้ นคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A) 3.3.1 ผเู้ รียนสามารถใช้งานโปรแกรม Scratch ได้ 3.3.2 ผ้เู รยี นสามารถเขียนอลั กอริทึมได้ 3.3.3 ผเู้ รียนมคี วามสนใจ และความต้งั ใจ 4.สาระการเรยี นรู้ 4.1 สว่ นประกอบของโปรแกรม Scratch 4.2 การเขยี นอลั กอรทิ ึมในการแก้ไขปัญหา 4.3 การใชง้ าน โปรแกรม Scratch ในการแกไ้ ขปญั หา รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ - วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย อธบิ ายเมนตู ่าง ๆ ของโปรแกรม Scratch - วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย อธบิ ายการใชง้ าน ของโปรแกรม Scratch - วิธีการสอนแบบสาธิต สาธิตการเขียนอลั กอริทึมในการวาดรูป สเ่ี หลยี่ มจัตรุ สั - วธิ กี ารสอนแบบให้แบบฝกึ หดั ให้ผเู้ รยี นเขยี นอลั กอรทิ มึ ในการวาดรปู แปดเหลยี่ ม 5. หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล ดา้ น วิธวี ัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วัดและ เกณฑ์ท่ใี ชว้ ัดและ ประเมินผล ประเมินผล ความรู้ (K) 1. การเขียนอลั กอรทิ ึมในการวาด จากสมดุ และชินงานใน เกณฑก์ ารผ่าน คอื รูป เป็ดเหลย่ี ม การวาดรปู แปดเหลี่ยม คะแนนแบบทดสอบ หลงั 2. วธิ เี ขียนอลั กอรทิ มึ ในการ และการเขยี นอลั กอรทิ ึม เรียนรอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป ทางาน ทกั ษะ/ 3. สงั เกตทกั ษะการทางาน จาก 3. แบบสงั เกตทักษะ/ คะแนนเกณฑผ์ ่านอยู่ ใน กระบวนการ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กระบวนการทางาน ระดับ “ดี” ข้นึ ไป (P) คณุ ลักษณะ 4.สงั เกตพฤตกิ รรมตาม 4.แบบสงั เกตพฤตกิ รรม คะแนนเกณฑ์ผ่านอยู่ ใน อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พึง ระดับ “ดี” ข้นึ ไป (A) ประสงค์

29 6. ภาระงาน / ชิน้ งาน 1. จดส่วนประกอบของโปรแกรม Scratch ลงสมดุ 2. การใช้งานโปรแกรม Scratch เขียนอลั กอรทิ ึมในการวาดรูปเเปดเหลี่ยม 3. เขียนอัลกอรทิ มึ ลงในสมุดในการวาดรปู แปดเหล่ียมลงสมุด 7. ข้นั การสอน 7.1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรยี น - ครูกลา่ วทักทายนักเรยี นทุกคนในห้องเรียน - ครตู ัง้ คาถามเกย่ี วกบั การใช้งานโปรแกรม Scratch 7.2 ข้นั ดาเนนิ การสอน - ครเู กรนิ่ นาเกยี่ วกบั โปรแกรม Scratch - ครูอธบิ ายพรอ้ มใหผ้ ู้เรยี นจดบันทึก ถึงส่วนเมนูต่างๆของโปรแกรม Scratch - ครอู ธิบายใหผ้ เู้ รียนฟงั ถงึ วิธใี ชง้ านเบือ้ งตน้ - ครสู าธิตการใช้โปรแกรม Scratch โดยสงั่ ให้วาดรปู ส่ีเหล่ียม 7.3 ขัน้ สรุปบทเรยี น - ครูให้ผู้เรยี นส่งสมุด และใชง้ านโปรแกรม Scratch ในการวาดรูปแปดเหล่ียม 7.4 ฝึกฝนนักเรียน - ครใู ห้นักเรยี นใชโ้ ปรแกรม Scratch ในการวาดรปู แปดเหล่ยี ม 7.5 นาไปใช้ - ผูเ้ รียนสามารถใชโ้ ปรแกรท Scratch ในการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งง่ายและสามารถตอ่ ยอดไปใช้ งานในการเขียนโปรแกรมหรอื อลั กอรทิ มึ ในงานตา่ งๆได้อยา่ งเหมาะสม 8. สื่ออปุ กรณ์และแหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื อุปกรณ์ แหลง่ เรียนรู้ โปรแกรม Scratch V.3 1.คอมพวิ เตอร์ //scratch.mit.edu/

30 9. บันทึกหลังการสอน ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. ..................................................................................................................... ........................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงชอื่ ธรี พัฒน์ พทุ ธวงษ์ . (นักศกึ ษา) ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................. (ครพู ่ีเลี้ยง)

31 ปว.1-8 องคป์ ระกอบการเขยี นเคา้ โครงงานวิจัย 1. ชือ่ เรอื่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาและความพึงพอใจในการเรียน เร่ืองวางแผน สร้างสรรค์ และนาเสนอ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชส้ ่ือ CAI คอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ พุแค 2. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา การเรียนการสอนในปจั จบุ นั มีการพัฒนากา้ วหน้าไปอย่างมาก โดยไมส่ ามารถปฏิเสธไดว้ ่า เทคโนโลยี ได้นาพาความเจริญเขา้ สู่โลกอย่างรวดเรว็ ซึง่ เป็นเคร่ืองมอื ในการนามาพฒั นาประเทศและ เป็นที่เห็นได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเป็นอย่างมาก เช่น เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต การบริหารจัดการได้เป็นอย่างดี ตลอดจนส่งเสริม คุณภาพการเรียนร้ทู าให้ประเทศ ตา่ ง ๆ ทั่วโลกพยายามใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง กว้างขวาง และเต็มประสิทธิภาพ เพ่ือให้ ตอบสนองความตองการท่ีแตกต่างกันไปของบุคคลแต่ละ บุคคล และด้วยเทคโนโลยีท่ีก้าวหนา ทาใหรูปแบบ ของการจัดการการเรียนการสอนในปัจจุบันมี ความหลากหลายมากกวาแต่ก่อน สงผลใหนักเรียนมีแนวทางใน การเรียนรูมากขึ้น เพ่ือเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน มุ่งเน้นการพัฒนาประเทศไปสู่เศรษฐกิจและสังคม แห่งภูมปิ ัญญาและ การเรียนรู้ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มมากขึ้น และจาก ความก้าวหนา้ อย่าง รวดเร็วของเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้เทคโนโลยไี ดเ้ ข้ามามีส่วนเกีย่ วข้องกบั วิถี ชวี ิตของ ทุกคนอยา่ งหลีกเลย่ี ง ไมไ่ ด้ตงั้ แต่วัยเรยี นรู้จนถึงวยั ทางาน โดยจะเห็นวา่ ทกุ สถานศกึ ษาไมว่ ่า จะเป็นสถานศึกษาของรัฐบาลหรือเอกชน ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรยี นการสอนทุกระดับชั้น โดยคานึงถึงความ แตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ การประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้นักเรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณจ์ ริง ฝึกปฏิบัตใิ ห้สามารถคิดเปน็ สอ่ื การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ จงึ มบี ทบาท สาคัญที่จะช่วยอานวยความสะดวก ขยายความรูกอให้เกิด ความเขาใจตรงกัน ถูกตอง ช่วย ป ร ะ ห ยั ด เว ล า ท่ี ต อ ง พู ด อ ธิ บ า ย ได้ ม า ก แ ล ะ ยั ง ช่ ว ย ให นั ก เรี ย น เกิ ด ค วา ม เข า ใจ แจ่มแจงในเนอ้ื หาและคนพบความถนัดของตนเองและจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดข้ึนไดท้ ุกเวลาทกุ สถานที่ จากสภาพการจัดการเรียนรูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาระท่ี 4 รายวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิต ใน สงั คมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และ ศาสตรอ์ ื่น ๆ เพ่ือแกป้ ญั หาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบ เชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม

32 ตัวชีว้ ัดที่ ว.4..1 ม.2/1 ออกแบบและเทคโนโลยี เรอื่ งวางแผน สร้างสรรค์ และนาเสนอ ของนกั เรยี น ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค พบว่าในการจัดการเรียนการสอนในวิชา ออกแบบและเทคโนโลยี เรอ่ื งวางแผน สร้างสรรค์ และนาเสนอ นกั เรียนแต่ละคนมีความสามารถใน การเรยี นรทู้ ี่แตกตา่ งกัน การเรยี นรู้ ทาความเขา้ ใจในเน้ือหาบทเรยี นค่อนข้างชา้ สง่ ผลให้นกั เรียนขาด ความกระตือรือร้นในการเรียน หรือไม่มีความสนใจในการเรยี น ในรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี เรือ่ งวางแผน สร้างสรรค์ และนาเสนอ ทาให้การเรียนในรายวชิ าออกแบบและเทคโนยี มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ตามทม่ี าตรฐานของโรงเรยี น กาหนด คือ ร้อยละ 70 อยูเ่ ปน็ จานวนมาก หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาการคานวณ เป็นวิชา ใหมข่ อง นักเรยี นไทย เรยี นตอนเปดิ เทอมใหม่ปกี ารศึกษา 2561 (พฤษภาคม 2561) ในกลุม่ สาระการ เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ซึ่งเรมิ่ ตน้ ใน 4 ช้ันเรียนก่อน คือ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในปีต่อไปก็จะเริ่มต้นในช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 และช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ในปีการศึกษา 2563 ก็จะเร่ิมชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 เพราะเป็นเนอ้ื วิชาใหม่ทม่ี สี ื่อการ สอนยงั ไมม่ ากเท่าท่ีควร ส่งผลใหน้ กั เรยี นไมม่ คี วามสนใจในการเรียนและทา ความเขา้ ใจในบทเรยี นได้ ค่อนข้างช้า ในรายวิชาวิทยาการคานวณ ประกอบกับในการจัดการเรียนการสอน แบบปกติอาจมี เวลาจากัด ไม่เพียงพอท่ีจะช่วยใหนักเรียนเกิดทักษะหรือความรูความเขาใจตามที่ตองการได้ และ เน่ืองจากการสอนในรายวิชาวทิ ยาการคานวณ ไมม่ สี ่ือการสอนประเภทบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ใน รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ซึ่งทาให้นกั เรียนขาดความกระตือรือรน้ และความสนใจในการเรียน จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทาให้ผู้วิจัยสนใจหาส่ือที่จะช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ โดยผู้วิจัย พบ แนวทางหน่ึง ท่ีน่าสนใจ คือ การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะคุณสมบัติของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สามารถนาเสนอข้อมูลได้ท้ังท่ีเป็นข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว กราฟิก เสียงและวีดิทัศน์มานาเสนอ ร่วมกัน และเปน็ สือ่ การเรียนการสอนที่นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้ จากการมีปฏิสัมพันธห์ รือการโต้ตอบระหว่าง นักเรียนกับบทเรียน โดยนักเรียนตอบสนองบทเรียน ด้วยการตอบคาถามบทเรียน นักเรยี นจะได้รับผล ป้อนกลับทันที (Immediate Feedback) ซ่ึงข้อดี ของผลป้อนกลับทันทีทาให้นักเรียนสามารถประเมิน ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของตนเอง และ สามารถแก้ไขท่ีผิดได้ทันที ทาให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ซ่ึงเป็น การกระตุ้นผู้เรียนได้คิดค้น นอกจากน้นั บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เป็นส่ิงทเ่ี อ้อื อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ นักเรยี น นักเรยี น ยงั สามารถทาความเข้าใจด้วยตนเองได้ ซึ่งจะทาให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นดขี ้ึน อีกท้งั ยัง สนอง ความแตกต่างระหว่างบุคคลได้เป็นอยา่ งดี เพราะนกั เรียนได้เรียนไปตามความสามารถของแต่ ละบคุ คลไมจ่ ากัดเวลในการเรียน ซงึ่ จากงานวจิ ัย (ประภาทิพย์ อคั คะปัญญาพงศ, 2559:8) บทเรียน

33 คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน คอื การนาเสนอเน้ือหาผ่านเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ซ่งึ มกี ารออกแบบอย่างเป็น ระบบ ในลักษณะ Tutorial instruction ซึ่งมลี ักษณะ ประกอบดว้ ยภาพน่งิ ภาพเคล่อื นไหว ขอค้ วาม เสียงและ กราฟกิ ต่าง ๆ ตลอดจนการใชป้ ฏิสัมพันธแ์ ละการเสรมิ แรงผเู้ รียนและใช้สถานการณป์ ัญหา ท่ีผู้เรียนจะได้ เรียนรู้จากเน้ือหาท่ีได้กาหนดไว้ (วณิชารีย จุไล, 2558:13) “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือ CAI คือการนา คอมพิวเตอร์มาเปน็ เครื่องมือสรา้ งให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ืออให้ผ้เู รียน นาไป เรียนด้วยตนเองและเกิด การเรียนรู้ในโปรแกรมประกอบไปด้วยเนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบลักษณะของการนาเสนออาจมี ท้ังตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมากยง่ิ ข้ึน รวมทั้ง การแสดงผลการเรียนให้ทราบทนั ทีดว้ ยขอ้ มูล ย้อนหลับ (feedback) แก่ผู้เรยี นและยังมีการจัดลาดับวิธีการ สอนหรือกิจกรรมต่าง ๆ ข้ึน เพ่ือให้ เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละคน ท้ังนี้จะต้องมีการวางแผนการในการผลิต อย่างเป็นระบบใน การ นาเสนอเน้อื หาในรปู แบบท่ี แตกต่างกัน มีคาภาษาอังกฤษทใ่ี ช้เรียก คอมพวิ เตอรช์ ่วย สอน ทนี่ ิยมใช้ ท่ัวไปในปจั จุบัน ได้แก่ Computer Assisted Instruction หรอื CAI จากความสาคัญและบทบาทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน จะเห็นได้วา่ การใชส้ ่ือบทเรียน คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ จะช่วยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามกระตือรือร้นในการเรยี น ซึ่งมี ต่อการ จัดการเรียนการสอน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง วางแผน สร้างสรรค์และนาเสนอ สาหรับนักเรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เพื่อเปน็ การแกป้ ญั หาในการ เรยี นรแู้ ละทาให้ผล สัมฤทธิ์ของนกั เรียนพัฒนาข้ึน อีกท้ังยัง เปน็ เคร่ืองมือประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนซึ่งนักเรียน สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้และเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนครัง้ ตอ่ ๆ ไป 3. วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพ่อื เปรียบเทียบทักษะการแก้ไขปญั หาของนกั เรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ท่ีเรียนด้วยส่อื CAI คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ระหว่างก่อนเรยี นกบั หลังเรยี น 2. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจตอ่ การเรียนในรายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี ของนกั เรยี นชั้นมะธยมศกึ ษาปที ่ี 2 4. แนวคิดหรือสมมุติฐาน 1. ทักษะการแก้ไขปญั หาของนักเรยี น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ที่เรียนด้วยสอ่ื CAI คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น 5.ข้อตกลงเบือ้ งตน้ การทาขอ้ ทกุ ข้อ นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ตอบตามความสามารถปราศจากการเดา

34 6. ขอบเขตงานวจิ ยั 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ พุแค จานวน 246 คน 1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง กลุม่ ตวั อย่างนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ พแุ ค ปี การศึกษา 2563 ภาคเรียนท่ี 1 ได้มาโดยสุ่มตวั อยา่ ง แบบกลุม่ (Cluster Random Sampling) จาก 10 หอ้ ง สุม่ มา 1 หอ้ ง เปน็ นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 มนี กั เรียน 20 คน 2. ตวั แปรทใ่ี ช้ในการวิจยั 2.1 ตวั แปรต้น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน 2.2 ตัวแปรตาม 2.2.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 2.2.2 ความพงึ พอใจในการเรียน 3. เนื้อหา 3.1 เนื้อหาที่ใชใ้ นการวิจยั เนอื้ หาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยคร้งั น้ี ได้แก่ เน้ือหาในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เรอ่ื งวางแผน สร้างสรรค์ และ นาเสนอ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เรอื่ ง 1. วางแผนแกไ้ ขปัญหา เรอ่ื ง 2. สิง่ ท่คี วรรูก้ อ่ นลงมือทา เร่อื ง 3. การทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ข เร่อื ง 4. การนาเสนอ 4. เวลา 4.1 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ดาเดนิ การทงั้ หมด 2 คาบ คาบละ 50 นาที รวม 1 ชั่วโมง 40 นาที 5. สถานท่ี 5.1 โรงเรยี นเทพศิรินทร์ พุแค ตึก 3 ช้ัน 2 ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ 1 จงั หวดั สระบรุ ี 7. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 7.1 สือ่ CAI หมายถึง (CAI) หมายถงึ สอ่ื การเรยี นการสอนทางคอมพิวเตอรร์ ปู แบบหนงึ่ ซ่ึงใช้ ความสามารถของคอมพวิ เตอร์ในการนาเสนอสอ่ื ประสมอันไดแ้ ก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิกแผนภูมิ กราฟ วดิ ที ัศน์ ภาพเคล่อื นไหว และเสยี ง เพ่อื ถ่ายทอดเน้อื หาบทเรยี น หรือองคค์ วามรูใ้ นลกั ษณะที่ ใกล้เคียงกบั การสอนจริงในหอ้ งเรยี นมากทส่ี ดุ 7.2 การวางแผนแกไ้ ขปญั หา หมายถงึ การวางแผนอยา่ งเป็นข้ันตอนและเปน็ ระบบ เพื่อใหศ้ กึ ษา กระบวนการในการทางาน ข้ันตอนการแกป้ ญั หาซง่ึ แต่ละปญั หามขี นั้ ตอนการแต่ละการทางานที่ แตกตา่ งกัน ซึง่ ชว่ ยใหส้ ามารถรบั รถู้ งึ การทางานแตล่ ะขั้นตอน สามารภทางสนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

35 โดยฝึกทกั ษะการคิดเชงิ คานวณ การคดิ วเิ คราะห์ และการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ 7.2 สร้างสรรค์ หมายถงึ การสรา้ งสง่ิ ใหมๆ่ ที่มคี ณุ ค่า โดยสิ่งใหม่ทเี่ กดิ ข้ึนอาจมกี ารอ้างถึงบคุ คล ผสู้ ร้างสรรค์ หรอื สังคมหรือขอบเขตภายในที่ได้สรา้ งสรรคส์ ง่ิ แปลกใหมข่ ึน้ มา ซึง่ การวดั คุณค่า ดังกลา่ วอาจใชไ้ ด้หลายวิธี 7.3 นาเสนอ หมายถงึ กระบวนการ วิธกี าร เพือ่ ใหร้ ู้ ให้ทราบ ใหเ้ ข้าใจ ในกจิ กรรมขององคก์ ร ของสถาบัน ของหน่วยงาน ไดอ้ ยา่ งชัดเจน การนาเสนอ คอื การถ่ายทอดเนื้อหา สาระทผ่ี สมผสานกัน ระหวา่ ง ศิลปะการพดู กบั การแสดงขอ้ มูล ในรปู แบบตา่ งๆ ผ่านส่อื และอุปกรณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7.4 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนรตู้ ามหลกั สูตร ได้มาตามหลักการวดั และ ประเมินผล ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค หลงั จากทไ่ี ดเ้ รยี นด้วย บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 7.5 ความพึงพอใจตอ่ การเรยี น หมายถงึ ความรสู้ กึ หรอื ทัศนคติทด่ี ขี องนกั เรยี นทมี่ ีตอ่ การ จัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าออกแบบเทคโนโลยี 7.6 นกั เรยี น หมายถึง ผู้รบั การศกึ ษาจากโรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ พุแค ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 8. ข้อจากัดของการวจิ ยั - 9. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั 9.1 ตวั แปรทใี่ ช้ในการวจิ ยั 9.1.1 ตัวแปรตน้ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 9.2.1 ตัวแปรตาม 1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 2. ความพงึ พอใจในการเรยี น 9.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 9.2.1 ประชากร คอื นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ พุแค จานวน 414 คน 9.2.2 กล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอยา่ งนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ พุแค ปี การศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 1 ได้มาโดยสุม่ ตวั อยา่ ง แบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling) จาก 10 หอ้ ง สุ่มมา 1 หอ้ ง เปน็ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/3 มนี ักเรียน 20 คน แบบแผนการวิจยั การศึกษาคร้งั นีผ้ ู้วิจยั ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดยี ววัดซ้า (One-Group Pretest – Posttest Design) มีรายละเอียดดงั น้ี รปู แบบ E O1 X O2

36 รูปแบบการทดลอง The One-Group Pretest – Posttest Design มสี ญั ลกั ษณะ ดังน้ี E หมายถึง กลุม่ ทดลอง O1 หมายถงึ การวดั ผลกอ่ นการทดลอง X หมายถงึ การจัดการเรียนร้โู ดยใช้สอ่ื CAI คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน O2 หมายถงึ การวดั ผลหลงั การทดลอง 9.4 เครื่องมือวจิ ัย 1. แบบสอบถามความคิดเหน็ ผูเ้ ชียวผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน เก่ยี วกบั ประสิทธภิ าพของ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน โดยใชก้ ารตรวจสอบหาค่า IOC ในการประเมนิ คุณภาพ ดา้ นเน้ือหา ดา้ นบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เพื่อใหม้ คี ุณภาพอยูใ่ นระดับมาก ผา่ นเกณฑแ์ ละนาไปใชใ้ นการ จัดการเรยี นการสอนกบั กลมุ่ ตัวอย่างได้ 2. บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน วชิ าวิทยาการคานวณ เรอ่ื ง แนวคิดเชงิ คานวณกบั การ แก้ปัญหาสาหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เรอื่ ง แนวคิดเชิงคานวณกับ การแกป้ ญั หา สาหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เปน็ แบบปรนยั 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ หาค่า IOC จากผเู้ ชย่ี วชาญ จานวน 3 ท่าน เพื่อหาค่าความยากงา่ ยระหวา่ ง ค่าอานาจจาแนก และคา่ ความ เช่ือมน่ั เพือ่ ใหส้ ามารถนาไปใชท้ ดลองกบั กลมุ่ ตัวอยา่ งได้ 4. แบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ รียนทม่ี ีต่อบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เรอื่ ง แนวคดิ เชิง คานวณกบั การแกป้ ญั หา แบบมาตราส่วนประเมินคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ โดยต้องผา่ นการ ตรวจสอบคา่ IOC จาก ผู้เช่ยี วชาญ จานวน 3 ทา่ น เพ่ือให้สามารถนาไปใช้ทดลองกบั กลมุ่ ตวั อย่างได้ 9.5 วธิ ีการเก็บข้อมลู 1. ขออนุญาตผ้บู รหิ ารและประสานงานกบั ครผู ู้สอนรายวชิ าคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ขอทาการวิจยั ระยะเวลาที่ ใชใ้ นการทดลองทั้งหมด 2 คาบ คาบละ 50 นาที 2. ผวู้ ิจัยดาเนนิ การทดสอบวดั ผลการเรยี นร้กู ่อนเรียน (Pretest) กับกลุม่ ตัวอยา่ ง E O1 X O2 3. นักเรยี นเริ่มเรียนเร่อื งการแกป้ ัญหา ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เมอื่ นกั เรยี น เรยี นจบ ในแตล่ ะหน่วยนนั้ นกั เรยี นจะตอ้ งทาแบบทดสอบระหว่างเรยี นในแต่ละหนว่ ยท่ไี ดเ้ รยี นไป 4. ผวู้ ิจยั ดาเนนิ การทดสอบวัดผลการเรียนรูห้ ลังเรยี น (Posttest) กบั กลมุ่ ตัวอย่าง 5. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบความพึงพอใจของผ้เู รยี นท่ีมตี ่อการเรยี นด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยสอน 6. ผู้วจิ ยั เกบ็ รวบรวมข้อมลู ทงั้ หมดไปวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ

37 9.6 วิธีวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มลู ของการวิจัยในครง้ั น้ี ประกอบด้วย 1. การวเิ คราะห์หาประสทิ ธิภาพของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรอ่ื งวางแผน สรา้ งสรรค์ และนาเสนอ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค 2. การวิเคราะหเ์ พอื่ เปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ยบทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรื่องวางแผน สรา้ งสรรค์ และนาเสนอ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ พุแค 3. การวิเคราะห์แบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ รยี นทมี่ ีตอ่ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เรือ่ งวางแผน สร้างสรรค์ และนาเสนอ สาหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ พุ แค 9.7 งบประมาณ - 9.8 ปฏิทินงานวิจยั ว/ด/ป รายการ 15 ก.ค. - 15 ส.ค. 63 เขยี นโครงการวจิ ัย 16 - 31 ส.ค. 63 สร้างเคร่ืองมอื 1-15 ก.ย. 63 ทดลองสอนในโรงเรียน 16 -19 ก.ย. 63 วิเคราะหข์ อ้ มูล 20 - 30 ก.ย. 63 เขยี นรายงาน-ทาเล่ม-ส่ง

38 เอกสารอ้างองิ ณิชารยี จุไล. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่อื งระบบคอมพิวเตอร์ วิชาการงาน อาชพี และเทคโนโลยสี าหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 1. สบื ค้น กรกฎาคม 30, 2563, จาก //cms.dru.ac.th/jspui/bitstream/123456789/30/1/title%201.pdf ขวัญชนก บัวทรพั ย์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่อื ง การใชโ้ ปรแกรมการพิมพ์ สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี3 โรงเรยี นเทศบาล 2 วัดเสนหา (สมคั รพลผดุง) สบื คน้ กรกฎาคม 30, 2563, จาก //he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E- Journal/article/view/28892 เสถยี ร หอศิลาชยั . (2552). การพฒั นาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนสาระดนตรี สาหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 เรือ่ งความรู้เรอ่ื งเครื่องดนตรีไทย โรงเรยี นชุมชนบา้ นหวั ขวั สบื คน้ กรกฎาคม 30, 2563, จาก //chair.rmu.ac.th/file- paper/[email protected] ประภาทิพย์ อคั คะปญั ญาพงศ์. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน โดยใช้สถานการณ์ ปญั หา เป็นฐานเพ่อื สรา้ งเสริมความสามารถในการคดิ วิเคราะห์เร่อื ง มงคลชวี ิต วิชา พระพทุ ธศาสนา สาหรบั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่6 สืบค้น กรกฎาคม 30, 2563, จาก //digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920951.pdf ความหมายและความสาคญั ของความพึงพอใจ. สบื คน้ กรกฎาคม 26, 2563, จาก //krufonclass9.blogspot.com/p/blog-page.html กติกา ศรที อง. (2562). การออกแบบ และเทคโนโลยี. สืบคน้ กรกฎาคม 30, 2563, จาก //sites.google.com/site/krukatika001/wichakar-ngan-xachiph-laea- thekhnoloyi-m-5/03-kar-xxkbaeb-thekhnoloyi --------------. (2560). การวางแผนแก้ไขปัญหา (algorithm design). สบื ค้น กรกฎาคม 30,2563, จาก //sites.google.com/site/piriya23101y2555/neuxha/det --------------. (2560). สร้างสรรค์. สืบคน้ กรกฎาคม 30, 2563, จาก //sites.google.com/site/karphathnakhwamkhidsrangsrrkh/khwam- hmay- kar-phathna-khwam-khid-srangsrrkh -------------. (2560). การนาเสนองาน. สบื คน้ กรกฎาคม 30, 2563, จาก //sites.google.com/site/yadaviwviw/khan-txn-karna-senx-ngan

39 ปว.1-9 แบบประเมินการปฏิบตั ิตนของนักศกึ ษา ชอื่ นายธรี พัฒน์ พุทธวงษ์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ศกึ ษา . รหสั ประจาตัว 60115260107 . สถานศึกษา โรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ พแุ ค คาช้แี จง ขอใหอ้ าจารย์พเี่ ลี้ยงของโรงเรยี นประเมนิ การปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษาตามรายการที่กาหนด โดยพิจารณารายการประเมนิ แลว้ ทาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งผลการประเมิน ผลการประเมิน รายการประเมิน ดีมาก พอใช้ ควรปรับปรุง 321 1.แต่งกายสะอาด สภุ าพเรยี บรอ้ ย 2.แสดงกริ ยิ ามารยาทเหมาะสมกบั ความเปน็ ครู 3.ใชว้ าจาสภุ าพ 4.มีมนุษย์สมั พันธท์ ดี่ ี 5.ทางานเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย 6.มีความรับผดิ ชอบต่องานท่รี บั มอบหมาย 7.มคี วามเอาใจใส่และใฝร่ ู้ในงานครู 8.มีความรูค้ วามสามารถปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 9.มีความต้งั ใจในการทางาน 10.ปฎิบติงานตรงเวลา รวม รวมคะแนนท้ังหมด ลงช่อื ………………………………………….ครูพเี่ ล้ียง ( นายวิรัตน์ เชาวส์ นุ ทร ) วนั ท่ี 22 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563

40 ปว.1-10 แบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ (ครูพ่ีเล้ียง) รายวิชา วทิ ยาการคานวณ ภาคเรยี นที่ 1 ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ปีการศึกษา 2563 . โรงเรียน เทพศิรินทร์ พุแค ครูพเี่ ลี้ยง นายวริ ตั น์ เชาว์สนุ ทร . กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี . คาชแี้ จง โปรดเขยี นเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับการประเมนิ ระดับการประเมนิ 5 หมายถงึ ดีมาก ระดับการประเมนิ 4 หมายถึง ดี ระดบั การประเมนิ 3 หมายถงึ พอใช้ ระดบั การประเมนิ 2 หมายถึง ปรับปรงุ ระดับการประเมิน 1 หมายถงึ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน รายการประเมิน ระดับการประเมิน 5432 1 1. กาหนดมาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั /จดั ประสงคก์ ารเรยี นรู้ครอบคลุม พฤติกรรมการเรยี นรดู้ ้านพทุ ธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ัย และจิตพิสยั 2. ความสอดคลอ้ งมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั /สาระสาคัญและ กจิ กรรมการเรียนรู้ 3. กจิ กรรมการเรียนรู้มีความครอบคลุมการพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ี ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะท่ีสาคญั ของผู้เรยี นและ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 4. กิจกรรมการเรียนรูต้ อบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้หลากหลายและเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ 6. นาภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นและสอื่ เทคโนโลยมี าประยุกตใ์ ช้ในการเรยี น การ สอน 7. ส่อื การเรยี นรู้มีความเหมาะสมสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียน การ สอน 8. ประเมินความกา้ วหนา้ ของผู้เรยี นดว้ ยวธิ ที ห่ี ลากหลายเหมาะสม กบั ธรรมชาตวิ ชิ า 9. วเิ คราะห์ผลการประเมนิ แลว้ น ามาใช้ในการสอนซ่อมเสรมิ 10. วธิ ีวดั และเคร่ืองมอื วดั สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมทก่ี าหนดไวใ้ น ตวั ช้วี ดั หรือจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

41 รวม/สรปุ ผล รวมเฉลยี่ สรปุ ผล ขอ้ คิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... ...................................................................................................................................................... สรปุผลการประเมินแผนการจดัการเรยี นรู้ 4.50 – 5.00 หมายถึง ดมี าก 2.50 – 3.49 หมายถงึ พอใช้ ต่ากว่า 1.50 หมายถงึ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 3.50 – 4.49 หมายถึง ดี 1.50 – 2.49 หมายถงึ ปรับปรงุ ลงชือ่ ………………………………………….ครูพ่เี ลีย้ ง ( นายวริ ัตน์ เชาวส์ ุนทร ) วนั ท่ี 22 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563

42 ปว.1-10 แบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ (ครูผสู้ อน) รายวชิ า วิทยาการคานวณ ภาคเรียนที่ 1 ช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ปีการศึกษา 2563 . โรงเรยี น เทพศริ ินทร์ พุแค ครูผู้สอน อาจารย์ ขจติ พรรณ ทองคา . กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี . คาชี้แจง โปรดเขยี นเครอ่ื งหมาย √ ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ระดับการประเมนิ ระดบั การประเมนิ 5 หมายถงึ ดมี าก ระดบั การประเมิน 4 หมายถึง ดี ระดับการประเมิน 3 หมายถงึ พอใช้ ระดับการประเมนิ 2 หมายถึง ปรับปรงุ ระดับการประเมิน 1 หมายถงึ ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน รายการประเมิน ระดบั การประเมิน 5432 1 1. กาหนดมาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั /จัดประสงคก์ ารเรียนรคู้ รอบคลมุ พฤติกรรมการเรยี นรดู้ า้ นพุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ยั และจติ พิสยั 2. ความสอดคล้องมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /สาระสาคญั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ 3. กิจกรรมการเรียนรมู้ คี วามครอบคลมุ การพฒั นาผู้เรียนให้มี ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะที่สาคญั ของผู้เรยี นและ คณุ ลักษณะอันพึง ประสงค์ 4. กิจกรรมการเรียนรตู้ อบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 5. กจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลากหลายและเน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั 6. นาภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ และส่ือเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี น การ สอน 7. สือ่ การเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรยี น การ สอน 8. ประเมนิ ความกา้ วหน้าของผู้เรยี นดว้ ยวิธีท่ีหลากหลายเหมาะสม กับ ธรรมชาติวชิ า 9. วิเคราะห์ผลการประเมนิ แล้วน ามาใชใ้ นการสอนซ่อมเสรมิ 10. วิธวี ดั และเครอื่ งมือวดั สอดคล้องกบั พฤตกิ รรมท่กี าหนดไวใ้ น ตัวชีว้ ดั หรอื จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

43 รวม/สรปุ ผล รวมเฉลย่ี สรุปผล ขอ้ คดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................... ................ สรปุผลการประเมนิ แผนการจดกั ารเรยี นรู้ 4.50 – 5.00 หมายถงึ ดีมาก 2.50 – 3.49 หมายถงึ พอใช้ ต่ากว่า 1.50 หมายถึง ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน 3.50 – 4.49 หมายถงึ ดี 1.50 – 2.49 หมายถึง ปรับปรุง ลงชื่อ………………………………………….ครูผูส้ อน ( อาจารย์ ขจติ พรรณ ทองคา) วันที่ 29 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2563

44 ป.ว 1-11 แบบประเมินดา้ นคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอน (ครูพเ่ี ลย้ี ง) ช่ือ-นามสกุล (นกั ศกึ ษา) นายธีรพฒั น์ พุทธวงษ์ . สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา วชิ าทสี่ อน วิทยาการคานวณ โรงเรียน เทพศิรินทร์ พแุ ค ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ชอื่ ผู้ประเมิน นายวิรตั น์ เชาวส์ นุ ทร ประเมินครงั้ ท่ี 1 วันประเมิน วนั ที่ 22 เดือน ธันวาคม . . พ.ศ. 2563 . คาช้ีแจง แบบประเมนิ ตอ่ ไปน้ีเปน็ เคร่อื งมอื ในการใหค้ ะแนนทีม่ ี 2 ลกั ษณะ 1. ขอ้ มลู ในเชงิ คุณภาพ ใหค้ ะแนนเป็น 4,3,2 และ 1 ตามพฤติกรรมท่ีบรรยายในแตล่ ะระดบั 2. ขอ้ มูลในเชงิ ปริมาณ หากแจงนบั ได้ ให้ใช้ลักษณะของปรมิ าณทป่ี ฏิบตั ติ ามจานวน ที่กาหนดไว้ในแต่ละระดบั ดังนี้ 4 ยอดเยยี่ ม หมายถึง การปฏบิ ตั มิ ีปรมิ าณ 90 - 100 % 3 ยอดเยย่ี ม หมายถงึ การปฏบิ ัติมีปริมาณ 75 - 89 % 2 ยอดเยี่ยม หมายถงึ การปฏบิ ตั ิมีปริมาณ 60 - 74 % 1 ยอดเยยี่ ม หมายถงึ การปฏบิ ตั ิมีปรมิ าณต่ากว่า 60 % 3. โปรดประเมนิ ใหส้ อดคลอ้ งตามความเปน็ จริงหรอื ตามคุณลักษณะของนกั ศกึ ษา พร้อมใส่ระดบั คะแนนลงในช่องการประเมินตามความคิดเหน็ ของท่าน 4. โปรดสรปุ จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย และข้อเสนอแนะในท้ายแบบประเมิน 5. อาจารยน์ ิเทศก์จากมหาวทิ ยาลัยและครพู เ่ี ล้ยี ง ประเมนิ นักศกึ ษาฝกึ สอนในสปั ดาหท์ ่ี 4, 8, 12, 16 และ 20 6. นักเรียนประเมินนักศึกษาฝึกสอนในสปั ดาหท์ ่ี 6, 10, 15 และ 19

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั 4 (ยอดเยีย่ ม) ร 3 (ดี) 90 - 100% 75 – 89% บุคลกิ ลักษณะเหมาะสมกับอาชีพครู มกี ารวางแผนการส และสามารถทา 1. การวางแผนการสอนและ มีการวางแผนการสอน แผนการสอนล่วงห ตามกาหนดเวลา 7 สามารถทาแผนการสอนล่วงหน้า และสามารถทา 89% ของทั้งหมด ตามกาหนดเวลา แผนการสอนล่วงหน้า สามารถเขยี นแผน สอนทีม่ อี งคป์ ระกอ ตามกาหนดเวลาไม่ ถูกต้องระหวา่ ง 75 89% นอ้ ยกว่า 90% ของ ของท้ังหมด ทัง้ หมด 2. สามารถทาแผนการสอนได้ สามารถเขยี นแผนการ อย่างถกู ต้อง และครบทกุ สอนท่ีมอี งคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบ ครบถว้ นสมบรู ณไ์ ม่ น้อยกว่า 90% ของ ทัง้ หมด

45 ระดับคุณภาพ 1 (ควรปรับปรุง) คะแนนประเมิน 2 (พอใช)้ ต่ากว่า 60% 60 – 74% สอน มีการวางแผนการสอน มีการวางแผนการสอน และสามารถทา และสามารถทา หนา้ แผนการสอนลว่ งหนา้ แผนการสอนล่วงหน้า 75- ตามกาหนดเวลา 60- ตามกาหนดเวลา 40% 75% ของทั้งหมด ของทั้งหมด นการ สามารถเขยี นแผนการ สามารถเขยี นแผนการ อบ สอนทมี่ อี งค์ประกอบ สอนท่มี อี งค์ประกอบ 5- ถกู ต้อง 60-74% ของ ถกู ต้องนอ้ ยกวา่ 90% ท้ังหมด ของทัง้ หมด

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก