นวัตกรรม การ งาน อาชีพ ม. 2

  • คำบรรยายสินค้า

รายละเอียด
ชื่อหนังสือ : ชุดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิด การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้แต่ง  : ฝ่ายพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
สำนักพิมพ์ : บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด
ขนาดรูปเล่ม : B5 (18.2 x 25.5 ซม.)
จำนวนหน้า :  152   หน้า
ราคา : 75 บาท
รหัสสินค้า :  885-4515-69-888-5

จุดเด่น/เนื้อหา 
            จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยการจัดทำชุดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
ได้นำแนวคิดสำคัญที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มาเป็นฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
 1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้พัฒนาทักษะทุกด้าน
 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดเล่มนี้ ใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่กระตุ้นการทำงานของสมองตามหลัก
     Brain Based Learning เพื่อหล่อหลอมการคิดทุกมิติให้ผู้เรียน
 3. การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ตามความถนัดและความสนใจ
     ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
 

  • Views: 3528
  • รหัสสินค้า: 885-4515-69-888-5
  • สถานะสต๊อก: มีสินค้าในสต๊อก
  • 75.00฿

ถามตัวเองว่า "เราทำอะไรได้บ้าง"

รู้จักตัวเองให้มากขึ้นโดยการ สำรวจตัวเองก่อนออกตามหาอาชีพที่ใช่ ขอให้อยู่กับตัวเองก่อน ลองถามตัวเองดู ลองฟังเสียงของตัวเอง มันอาจเป็นเสียงที่เบาที่สุด เงียบที่สุด แต่มันคือกุญแจไขความลับว่า "มันไม่มีอาชีพเดียวในชีวิตเรา" ปริญญาตรีคืออาชีพแรก แต่เมื่อค้นพบตัวเองแล้ว เราจะพบว่า เราทำอะไรได้อีกเยอะเลย:

ภาษาไทยภาษาอังกฤษแนะแนวการงานอาชีพกิจกรรมเสริมเกมและกิจกรรม

Advertisement


 

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งหวังให้

ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ  และได้รับประสบการณ์เบื้องต้นกับการทำงานในชีวิตประจำวัน และ

งานที่เป็นพื้นฐานอาชีพ  มีทักษะในการทำงาน ทำงานอย่างมีกระบวนการ  มีนิสัยรักการทำงานเห็น

คุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่องาน  การจัดการเรียนในปัจจุบันมีวิธีสอนหลายวิธี การเรียนรู้แบบโครงงาน

เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจและได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง   จาก

การสำรวจ  ค้นคว้า  ทดลอง  สามารถสรุปองค์ความรู้ใหม่  และสามารถนำประสบการณ์ที่ได้ไปใช้

ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้      การศึกษาครั้งนี้  มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้

แบบโครงงาน   เรื่อง   เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์     กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6   ที่มีประสิทธิภาพ  80/80   เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผน

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน   และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ

โครงงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/5 จำนวน 47 คน โรงเรียนเทศบาลสวนสนุ 

สำนักการศึกษา   เทศบาลนครขอนแก่น    กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น    กระทรวงมหาดไทย 

ภาคเรียนที่  2   ปีการศึกษา  2550     ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม   (Cluster  Random  Sampling)  

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า  ได้แก่  แผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน   จำนวน  15   แผน

ใช้เวลาสอน 18  ชั่วโมง  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดเลือกตอบ  4  ตัวเลือก จำนวน

20  ข้อ   ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.21  ถึง  0.92  และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ  0.94  และ

แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยโครงงานซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่  0.31 ถึง 

0.57  และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ  0.91  แบบประเมินโครงงานสถิติที่ใช้ในการศึกษาในการวิเคราะห์

ข้อมูล  คือ  ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบว่า  แผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง   เศษผ้าไหมมีค่านำมา

สร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี  ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่พัฒนาขึ้น

มีประสิทธิภาพ  91.43/87.45  มีค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเท่ากับ

0.7659  หมายความว่า  ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 77  และนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 6    มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง   เศษผ้าไหมมีค่านำมา

สร้างสรรค์   โดยรวมและเป็นรายข้อ  4  ด้าน  คือ  1) ด้านเนื้อหา/สาระการเรียนรู้    2) ด้านการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้  3) ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้   4) ด้านตัวครู อยู่ในระดับมาก  โดยสรุปแผนการจัด

การเรียนรู้แบบโครงงานที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมาะสม ครูผู้สอนในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6   สามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้

แบบโครงงาน  เรื่อง  เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์  ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน

และพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ในเรื่องอื่น ๆ  ที่มีคุณภาพต่อไปอีก

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

                   การพัฒนาแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง   เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์   กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี   ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  สรุปผล

การศึกษาค้นคว้าตามลำดับดังนี้

1.       ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

2.       สรุปผล

3.       อภิปรายผล

4.       ข้อเสนอแนะ

ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

1.       เพื่อพัฒนาแผนนวัตกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน เรื่อง  เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์

80 / 80

2.       เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนนวัตกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน เรื่อง เศษผ้าไหม

มีค่านำมาสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

3.       เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6   ที่มีต่อการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง  เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์

สรุปผล

                   1.        การพัฒนาแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง  เศษผ้าไหมมีค่านำมา

สร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 91.43 / 87.45  เป็นไปตามเกณฑ์ 80 / 80  ที่ตั้งไว้

2.        ดัชนีประสิทธิผลของแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง  เศษผ้าไหม

มีค่านำมาสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีค่า

เท่ากับ 0.7659 หมายความว่า หลังจากที่นักเรียนเรียนด้วยแผนการเรียนรู้แบบโครงงาน เรื่อง เศษผ้าไหม

มีค่านำมาสร้างสรรค์   กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี  เรื่อง  เศษผ้าไหมมีค่านำมา

สร้างสรรค์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ  77

3.        ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  เรื่อง

เศษผ้าไหมมีค่านำมาสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี   ชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 6   มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  3.81  หมายความว่า  ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้

แบบโครงงานอยู่ในระดับมาก

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก