การประปาส่วนภูมิภาคค่าน้ำหน่วยละกี่บาท

วันนี้จะมาแนะนำค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายกันทุกสิ้นเดือนนั้นก็คือการคำนวณค่าไฟและค่าน้ำ ว่าแต่ละเดือน บ้านเราใช้ไปเท่าไหร่ และเยอะเกินไปไหม ซึ่งก็อาจจะคำนวณค่าใช้จ่ายต่อเดือนได้เลย หรือจะใช้โปรแกรมคำนวณก็ได้ แต่สำหรับผู้ที่อยากลองคำนวณเองก็สามารถเข้ามาดูที่บทความนี้ได้เลยครับ 

สูตรคำนวณอัตราค่าไฟบ้าน 

การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คิดอัตราบริการต่อหน่วยเท่ากัน โดยคิดเป็นอัตราก้าวหน้า ยิ่งใช้ไฟฟ้ามากเท่าไหร่ก็ยิ่งจ่ายค่าไฟเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ในบ้านเรือนส่วนใหญ่จะใช้กำลังไฟไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย 

จะมีสูตรคำนวณดังนี้ 

ค่าไฟฟ้าฐาน = จำนวนยูนิต x อัตราค่ากระแสไฟฟ้าต่อหน่วย

ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร(ft) + ภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) = ค่าไฟฟ้า 

ค่าไฟฟ้าที่ต้องใช้จ่ายในละเดือนเราสามารถคำนวณได้ดังนี้

ความหมายของคำอธิบาย 

ค่าไฟฟ้าฐาน ก็คือ อัตราการคิดแบบลำดับขั้น ยิ่งใช้ไฟฟ้ามาก ยิ่งต้องจ่ายเพิ่มขึ้น

ค่าไฟฟ้าผันแปร = จำนวนพลังไฟฟ้า x ค่า Ft (หน่วยละ - 11.60 สตางค์/หน่วย)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม = (ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft ) x 7/100

เช่น

1-5 หน่วย = 2.34 บาท /หน่วย

16-25 หน่วย = 2.98 บาท/หน่วย

36 - 100 หน่วย = 3.62 บาท / หน่วย 

101 - 150 หน่วย =  3.71 บาท / หน่วย 

151 - 400 หน่วย = 4.22  บาท / หน่วย 

การคำนวณค่าน้ำประปาจะแบ่งออกเป็น 2 เขตได่แก่พื้นที่กทม และ พืนที่ต่างจังหวัด

การคำนวณค่าน้ำประปา คือ 

ค่าน้ำประปา ก็จะแบ่งอัตราค่าบริการตามเขตพื้นที่ตั้ง อย่างพื้นที่กรุงเทพ จะขึ้นกับการประปานครหลวง ส่วนต่างจังหวัดจะขึ้นกับการประปาส่วรภูมิภาค และบางพื้นที่อาจจะมีเอกชนรร่วมลงทุนด้วย โดยจะแบ่งประเภทตามที่ลักษณะที่อยู่อาศัยออกเป็น 2 ประเภท ด้วยกันได้แก่ ที่พัก และ ธุรกิจ รายการ รัฐสาหกิจ เป็นต้น 

สูตรคำนวณค่าน้ำ มีดังนี้

( ปริมาณน้ำที่ใช้ x ราคาต่อหน่วย ) + ค่าบริการ + ภาษี 7 เปอรเซ็นต์ = ค่าน้ำประปา 

ค่าบริการที่ระบุไว้ในสูตรข้างต้นตามขนาดของมาตรวัด 

1/2 นิ้ว ค่าบริการ 25 บาท * ซึ่งบ้านเรือนส่วนใหญ่ใช้มาตรวัดนี้ ในการคิดค่าบริการ

3/4 นิ้ว ค่าบริการ 40 บาท

1 นิ้ว ค่าบริการ 50 บาท

1.1/2 ค่าบริการ 80 บาท 

2 ค่าบริการ 300 บาท เป็นต้น 

อัตราค่าน้ำประปานครหลวง ซึ่งจะแนะนำเฉพาะส่วนของกรุงเทพมหานครครับ 

1 - 30 ลบ.ม = 8.50 บาท / หน่วย 

31 - 40 ลบ.ม = 10.03 บาท / หน่วย 

41 - 50 ลบ.ม  = 10.35 บาท / หน่วย 

51 - 60 ลบ.ม = 10.68 บาท / หน่วย

สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ การประปานครหลวง 

และนี้ก็เป็นวิธีการคำนวณของค่าไฟและค่าน้ำ หลังจากนี้ก็คงต้องประหยัดการใช้งานและเพราะยิ่งใช้เยอะก็ยิ่งแพง อีกทั้งยังมี ค่าVAT ที่เพิ่มเข้ามาด้วยและ

อ้างอิง

- สูตรการคำนวณค่าน้ำค่าไฟ ใน  บ้าน [ออนไลน์] นำเข้ามาจาก  //today.line.me/th/v2/article/68Paxn

- การคำนวณค่าน้ำค่าไฟ [ออนไลน์]นำเข้ามาจาก //www.workventure.com

หลายท่านอาจจะมีคำถามคาใจว่า เราจ่ายค่าน้ำประปาเดือนละเท่านั้นเท่านี้หน่วย ตกลงว่าเราใช้น้ำไปกี่ลิตรกันแน่ๆ วันนี้เรามีวิธีคำนวณอย่างง่ายๆมาบอกกันครับ

คำว่าน้ำประปา 1 หน่วย หมายถึง น้ำจำนวน 1 คิวบิคเมตร (1 คิวบิคเมตรมีขนาดเท่ากับถังสี่เหลี่ยมขนาด กว้าง x ยาว x สูง ด้านละ 1 เมตร) ซึ่งน้ำจำนวน 1 คิวบิคเมตร จะมีปริมาณน้ำเท่ากับ 1,000 ลิตรนั่นเอง

คิดแบบง่ายที่สุดก็คือ ใช้น้ำไป 3 หน่วย หมายถึงใช้น้ำไป 3 x 1,000 = 3,000 ลิตร ถ้าใช้น้ำไป 4.7 หน่วย หมายถึงใช้น้ำไปจำนวน 4.7 x 1,000 = 4,700 ลิตรนั่นเองครับ ไม่ยากเลยใช่มั๊ยครับเพื่อนๆ ^ ^

…พบกับ เรื่องน่ารู้ดีๆได้มากมายที่นี่ เกร็ดความรู้.net

ผมอยู่คอนโดคับค่าน้ำที่คอนโดหน่วยละ 20 บาท ผมใช้อยู่ตกเดือนละ 10 หน่วย
แต่เดือนนี้ใช้เยอะหน่อยคือ 14 หน่วย คือ 280 บาท ผมเลยสงสัยว่าจิง ๆ แล้ว
การประปาคิดราคาเท่าไรเลยเข้าไปดูข้อมูลจาก
//www.mwa.co.th/ewt_news.php?nid=303

ค่าน้ำตามจำนวนหน่วยที่ใช้ ในส่วนนี้ จะแบ่งการคิดคำนวณออกเป็น 2 ส่วน คือ
R1 สำหรับเคหสถานประเภท บ้าน ที่อยู่อาศัย และ R2 สำหรับเคหสถานประเภทธุรกิจ ราชการ รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม และอื่นๆ
ถ้าไม่ผิดผมอยู่ในประเภท R2 คือ เคหะสถานประเภทธุรกิจ ผมใช้น้ำไป 14 หน่วย แสดงว่าผมใช้อยู่หน่วยที่ 11-20 หน่วย ราคาหน่วยละ 10.70
อาจบวกภาษีมุลค่าเพิ่มอีกนิดหน่อย ข้อมูลผิดพลาดยังไงต้องขออภัยด้วยนะคับ


�ѵ�Ҥ�ҡ����俿������Ѻ����Сͺ���

�ѵ������Ѻ����Сͺ��à (��ҹ��ҵ�ҧ�)� �����
1-150 ˹�� ���������� �������������������������������������   �Դ���Թ� 3.75� �ҷ/˹���
151-500 ˹�� ���������������� ����������������������������   �Դ���Թ� 4.00� �ҷ/˹���
�Թ 500� ˹��¢��仠 (˹��·�� 501 �繵��)� ���� �Դ���Թ� 4.25 �ҷ/˹���

�ѵ�Ҥ�ҹ�ӻ�л�����Ѻ����Сͺ�����ҹ���/����ѷ

�ѵ������Ѻ����Сͺ�����ҹ���/����ѷ� �������������Է������
�Դ���������ѵ�����Ǡ ������������������������������������ ˹����Р 16.00 �ҷ

������ҧ� �ԸդԴ��ҡ����俿��
��ҹ��� �. ������俿�����͹���Ҥ�� 2554� �ӹǹ� 160� ˹��  �е�ͧ�����Թ�����

������俿�Ҩӹǹ�� 160�� ˹���

1-150 ˹���� �Р 3.75� �ҷ� ����� (150X3.75 =� 562.50� �ҷ)
151-160� ˹�����Р 4.00� �ҷ� �� (10X4.00 = 40 �ҷ)
                                         =�     562.50+40=602.50� �ҷ
������� 7% = 602.50X7%�    =�     42.17� �ҷ
������Թ����ͧ���Р��������   =����� 644.67� �ҷ

������ҧ� �ԸդԴ��ҹ�ӻ�л�
��ҹ��� �. ���ӻ�л����͹���Ҥ�� 2554� �ӹǹ� 50� ˹��  �е�ͧ�����Թ�����

���ӻ�лҨӹǹ�� 50�� ˹���

�Դ���������ѵ�����Ǡ 16� �ҷ� (16X50 = 800� �ҷ)
������� 7% = 800X7%�         =�       56.00� �ҷ
������Թ����ͧ���Р��������    =������� 856� �ҷ

ค่าน้ำประปายูนิตละกี่บาท

1-150 หน่วย คิดเป็นเงิน 3.75 บาท/หน่วย 151-500 หน่วย คิดเป็นเงิน 4.00 บาท/หน่วย เกิน 500 หน่วยขึ้นไป (หน่วยที่ 501 เป็นต้นไป) คิดเป็นเงิน 4.25 บาท/หน่วย อัตราค่าน้ำประปาสำหรับผู้ประกอบการร้านค้า/บริษัท

ค่าน้ำประปาคิดยังไง

สูตรคำนวณอัตราค่าน้ำประปา สูตรในการคำนวณค่าน้ำประปาคือ (ปริมาณน้ำที่ใช้ x ราคาต่อหน่วย)+ค่าบริการ+ภาษี 7 % = ค่าน้ำประปา ค่าบริการที่ระบุไว้ในสูตรข้างต้นคิดราคาตามขนาดของมาตรวัด ซึ่งมีดังนี้ ½ นิ้ว ค่าบริการ 25 บาท ¾ นิ้ว ค่าบริการ 40 บาท

ค่าน้ําเกินกําหนด จ่ายที่ไหน 2564 การประปาส่วนภูมิภาค

จ่ายค่าน้ำ กรณีชำระเกินกำหนด และกรณีถูกระงับการใช้น้ำชั่วคราว ชำระได้ที่ • เว็บไซต์ eservicesapp.mwa.co.th • แอปฯ MWA onMobile / ShopeePay • เคาน์เตอร์เซอร์วิส บิ๊กซี โลตัส CenPay. โดยทั้งสองกรณี จะมีค่าบริการหากชำระกับตัวแทน

น้ำประปา 1 ลิตรเท่ากับกี่บาท

อัตราน้ำประปาช่วงการใช้น้ำที่ 0 – 10 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน ในอาคารประเภทบ้านเรือนที่อยู่อาศัยมีอัตราค่าน้ำอยู่ที่ 10.20 บาท[2] ดังนั้น เมื่อเปรียบเทียบกันระหว่างการซื้อน้ำจากประปาส่วนภูมิภาค Vs. รถน้ำ น้ำจากประปาส่วนภูมิภาค 1 ลิตร = 0.01 บาท

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก