รัตนโกสินทร์มีความเหมาะสมในการเป็นราชธานีของไทยอย่างไรบ้าง

.สาเหตุการย้ายราชธานี

     เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงปราบจลาจลภายในกรุงธนบุรีและสร้างความมั่น

ประเทศแล้วพระองค์ทรงย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีซึ่งอยู่ทางฝั่งตะวันตกมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทั้งนี้เนื่องด้วยสาเหตุหลายประการ ดังนี้

1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาบอยู่ทั้ง 2 ด้าน คือ วัดแจ้ง(วัดอรุณราชวราราม)และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ทำให้ไม่สามารถขยายอาณาเขตของพระราชวังให้กว้างขวางขึ้นได้

2. พระองค์ไม่ทรงเห็นด้วยที่จะให้พระนครแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลาง เป็นเสมือนเมืองอกแตก เพราะหากข้าศึกยกทัพเข้ามาตามลำแม่น้ำ ก็สามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวงได้ ทำให้ยากแก่การเคลื่อนพลจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง ซึ่งเป็นการยากลำบากมาก ดังนั้นพระองค์จึงย้ายพระนครมาอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเพียงแห่งเดียว โดยมีแม่น้ำเป็นคูเมืองทางด้านตะวันตกและใต้ ส่วนทางด้านตะวันออกและทางด้านเหนือโปรดเกล้าฯให้ขุดคลองขึ้นเพื่อเป็นคูเมืองป้องกันพระนคร
3. พื้นที่ทางฝั่งตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม สามารถขยายเมืองให้กว้างออกไปได้เรื่อยๆ เพราะส่วนทางฝั่งตะวันออกของพื้นที่เป็นแหลม โดยมีแม่น้ำเป็นกำแพงกั้นอยู่เกือบครึ่งเมือง

4. ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา พื้นที่เป็นท้องคุ้ง น้ำกัดเซาะตลิ่งพังทลายอยู่เสมอ จึงไม่เหมาะแก่การสร้างอาคารหรือถาวรวัตถุใดๆ ไว้ริมฝั่งแม่น้ำ

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงให้สร้างเมืองใหม่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่บริเวณหัวโค้งแม่น้ำเจ้าพระยา คือ บริเวณพระบรมมหาราชวังในปัจจุบันและพระราชทานนามเมืองใหม่นี้ว่า กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร์ มหินทราอยุธยามหาดิลก ภพนพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถานอมรพิมานอวตารสถิต สักกทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์ ต่อมาในรัชกาลที่ 3 ทรงเปลี่ยนจากคำว่า บวรรัตนโกสินทร์ เป็น อมรรัตนโกสินทร์

Advertisement

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบจลาจลภายในกรุงธนบุรีและสร้างความมั่นคงภายในประเทศแล้ว พระองค์ทรงย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีซึ่งอยู่ทางฝั่งตะวันตกมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาและตั้งชื่อใหม่ว่ากรุงเทพฯ ทั้งนี้เนื่องด้วยสาเหตุหลายประการ คือ

  1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาบอยู่ทั้ง 2 ด้าน คือ วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ทำให้ไม่สามารถขยายอาณาเขตของพระราชวังให้กว้างขวางขึ้นได้
  2. พระองค์ไม่ทรงเห็นด้วยที่จะให้พระนครแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลางเป็นเสมือนเมืองอกแตก ดังเช่น เมืองพิษณุโลก สุพรรณบุรี เพราะหากข้าศึกยกทัพมาตามลำน้ำ ก็สามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวงได้ ทำให้ยากแก่การป้องกันพระนคร ครั้นจะสร้างป้อมปราการทั้ง 2 ฝั่งแม่น้ำ ก็จะเป็นการสิ้นเปลืองเงินทองมาก ทำให้ยากแก่การเคลื่อนพลจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง ซึ่งเป็นการยากลำบากมาก ดังนั้นพระองค์จึงย้ายพระนครมาอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเพียงแห่งเดียว โดยมีแม่น้ำเป็นคูเมืองทางด้านตะวันตก และใต้ ส่วนทางด้านตะวันออกและทางด้านเหนือ โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองขึ้นเพื่อเป็นคูเมืองป้องกันพระนคร
  3. พื้นที่ทางฝั่งตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม สามารถขยายเมืองให้กว้างขวางออกไปได้เรื่อยๆ ตรงบริเวณที่ตั้งพระนครพื้นที่เป็นแหลม โดยมีแม่น้ำเป็นกำแพงกั้นอยู่เกือบครึ่งเมือง
  4. ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา พื้นที่เป็นท้องคุ้ง น้ำกัดเซาะตลิ่งพังทลายอยู่เสมอ จึงไม่เหมาะแก่การสร้างอาคารหรือถาวรวัตถุใดๆ ไว้ริมฝั่งแม่น้ำ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชมีรับสั่งให้สร้างเมืองใหม่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่บริเวณหัวโค้งแม่น้ำเจ้าพระยา คือ บริเวณพระบรมมหาราชวังในปัจจุบัน พระราชทานนามเมืองใหม่นี้ว่า “กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธนา มหาดิลกภพนพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถานอมรพิมาน อวตารสถิต สักกทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนจากคำว่า “บวรรัตนโกสินทร์” เป็น “อมรรัตนโกสินทร์”

ในการสร้างพระมหาบรมราชวัง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นภายในด้วย คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว แล้วให้อัญเชิญพระแก้วมรกตขึ้นประดิษฐาน ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร” เพื่อเป็นสิริมงคลแก่กรุงเทพฯ

ขอบคุณที่มาเนื้อหาจาก บ้านจอมยุทธ

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡


เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว
เปิดอ่าน 13,724 ครั้ง


มาทำความรู้จักกับวันสำคัญทางพระพุทธศาสนากันเถอะ
เปิดอ่าน 10,773 ครั้ง


ศาลปกครองคืออะไร
เปิดอ่าน 22,909 ครั้ง


เหรียญราชการชายแดน
เปิดอ่าน 18,924 ครั้ง


ASEAN
เปิดอ่าน 13,406 ครั้ง


หน้าที่ชาวพุทธ
เปิดอ่าน 1,363 ครั้ง


ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของไทย
เปิดอ่าน 49,091 ครั้ง


ย้อนรอยสายราชสกุล…ในพระบรมราชจักรีวงศ์ (จบ)
เปิดอ่าน 26,166 ครั้ง


เหรียญงานพระราชสงครามยุโรป
เปิดอ่าน 13,477 ครั้ง


คำอธิษฐานวันลอยกระทง
เปิดอ่าน 18,017 ครั้ง


จารีตประเพณีของชาวสยามตามชั้นบุคคลในฐานะต่าง ๆ
เปิดอ่าน 12,951 ครั้ง


เรือวิกตอเรีย เป็นเรือลำแรกที่เดินทางรอบโลกได้สำเร็จ
เปิดอ่าน 15,056 ครั้ง


ตำนาน บ้านบางระจัน
เปิดอ่าน 175,667 ครั้ง


ความเป็นมาของพระไตรปิฎก
เปิดอ่าน 28,475 ครั้ง


หลักเกณฑ์ใหม่ในการตั้งชื่อวัด
เปิดอ่าน 15,079 ครั้ง

กรุงรัตนโกสินทร์มีความเหมาะสมในการเป็นราชธานีของไทยอย่างไรบ้า

เนื่องจากกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งอยู่บริเวณตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยาและติดกับอ่าวไทย ช่วยให้การค้าและการคมนาคมกับชาวต่างชาติสะดวกมากขึ้น และนำความมั่งคั่งมาสู่กรุงรัตนโกสินทร์ได้ ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการเดินเรือของชาติอื่น ๆ กรุงรัตนโกสินทร์จึงพลอยได้อานิสงส์ความเจริญนี้ด้วย

บริเวณที่ตั้งราชธานีของกรุงรัตนโกสินทร์มีความสำคัญทางเศรษฐกิจอย่างไร

บริเวณที่ตั้งราชธานีของกรุงรัตนโกสินทร์มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจอย่างไร answer choices. เป็นบริเวณที่มีพ่อค้าตั้งถิ่นฐานกันมาก เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์เพาะปลูกได้ดี

การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์มีความเป็นมาอย่างไร

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325. อาณาจักรรัตนโกสินทร์

กรุงรัตนโกสินทร์ได้รับการสถาปนาเป็นราชธานีเมื่อใด

วันที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ วันสถาปนากรุงเทพมหานคร เพื่อรำลึกถึงวันสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ราชธานีแห่งที่ ๔ ของสยามประเทศ และในปี พุทธศักราช ๒๕๖๓ นี้ กรุงรัตนโกสินทร์ บรรจบครบรอบเป็นปีที่ ๒๓๘ แล้ว ย้อนไปเมื่อ ๒๓๘ ปีก่อน ในวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุง ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก