ข้อสอบกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค พร้อมเฉลย

นางสมใจอาศัยอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม เธอต้องการยื่นเรื่องร้องเรียนเพราะถูกละเมิดและไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการบริโภคสินค้า เธอควรปฏิบัอย่างไร

  1.   ?    ร้องเรียนต่อคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
  2.   ?    ร้องเรียนต่อคณะอนุกรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัด
  3.   ?    ร้องเรียนต่อกองคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณาประจำจังหวัด
  4.   ?    ร้องเรียนต่อกองคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาประจำจังหวัด
  • กฎกหมายฉบับแรกที่ให้ความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีข้อบัญญัติถึงสิทธิของผู้บริโภคที่ย่อยไดรับการคุ้มครองคือข้อใด

    ภริยาเป็นผู้รับผลประโยชน์ในสัญญาที่สามีทำประกันชีวิตไว้กับบริษัทประกันชีวิต ภริยามีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท เมื่อสามีเสียชีวิตตามเงื่อนไขในกรมธรรม์ ดังนี้ผลตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค จัดภริยาอยู่ในฐานะตามข้อใด

    ก. เป็นผู้รับผลประโยชน์ตามสัญญาเพื่อบุคคลภายนอกข. เป็นผู้บริโภคเพราะเป็นผู้ได้มาไม่ว่าด้วยประการใดๆโดยให้ค่าตอบแทนเป็นเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นค. ไม่เป็นผู้บริโภค เพราะภริยาไม่ได้เป็นผู้ใช้บริการกับบริษัทประกันชีวิตจำกัดง. เป็นผู้บริโภค เพราะภริยาเป็นผู้รับบริการจากบริษัทประกันชีวิตจำกัด ตามกรมธรรม์ประกันชีวิต

    Correct

    Incorrect

     

    2.

    นาย ก. ซื้อแผ่นไม้จาก นาย ข. และต่อมาได้นำมาประกอบเป็นลังไม้ใช้บรรจุสินค้าผลไม้ขาย ส่งต่างประเทศผู้ซื้อส่งสินค้าคืนเนื่องจากมีแมลงอยู่ที่ลังไม้ ดังนี้พฤติกรรมดังกล่าวของนาย ก. ที่ ซื้อแผ่นไม้มาประกอบเป็นลังไม้นั้น จัดเป็นบุคคลตามข้อใด

    ก. ผู้ประกอบธุรกิจเนื่องจากเป็นผู้ซื้อเพื่อขายต่อสินค้าข. ผู้ประกอบธุรกิจเนื่องจากเป็นผู้ขายสินค้าค. ผู้บริโภคเนื่องจากเป็นผู้ซื้อไม้แล้วนำไม้มาใช้ประกอบเป็นลังไม้เป็นภาชนะบรรจุสินค้าผลไม้ขายต่างประเทศง. เป็นทั้งผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจ

    Correct

    Incorrect

     

    3.

    บุคคลตามข้อใดไม่จัดเป็นผู้บริโภค

    ก. ผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิตข. ผู้กู้เงินจากธนาคารมาซื้อบ้านอาศัยค. ผู้ได้รับการเสนอขายสินค้าจากผู้ขายง. ผู้ซื้อสินค้ามาเพื่อขาย

    Correct

    Incorrect

     

    4.

    คำร้องตามข้อใดที่เป็นอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ในการรับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทำของผู้ประกอบธุรกิจ

    ก. ลูกจ้างร้องเรียนนายจ้างที่บอกเลิกสัญญาจ้างโดยไม่เป็นธรรมข. ชาวบ้านร้องเรียนโรงงานที่ปล่อยควันพิษออกมาจากโรงงานฟุ้งกระจายอยู่ในอากาศบริเวณที่อยู่อาศัยของชาวบ้านทำให้ชาวบ้านป่วยเป็นโรคทางเดินหายใจค. ผู้ซื้อร้องเรียนว่าตนซื้อยาจากร้านขายยามาใช้แล้วพบว่ายาไม่มีคุณภาพ และร้านขายยาดังกล่าวจำหน่ายยาที่หมดอายุโดยทำฉลากปลอมง. ผู้ว่าจ้างให้ผลิตร้องเรียนผู้ผลิตผิดสัญญา

    Correct

    Incorrect

     

    5.

    คดีใดมิใช่คดีผู้บริโภคตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค

    ก. ผู้รับเหมางาน ฟ้องผู้ว่าจ้าง เรียกค่าจ้างที่ค้างข. ผู้ขายสินค้าฟ้องบริษัทที่รับจ้างบริหารโรงแรม เรียกค่าสินค้าจากการที่บริษัทรับจ้างบริหารสั่งสินค้าเข้ามาใช้ในกิจการของโรงแรมค. เจ้าของอาคารผู้ว่าจ้าง ฟ้องผู้รับเหมา เรียกค่าเสียหายจากงานที่ผู้รับเหมาทำไม่สำเร็จง. ธนาคารผู้ให้กู้ฟ้องเรียกเงินจากลูกหนี้

    Correct

    Incorrect

     

    6.

    คดีใดที่ไม่ใช่คดีผู้บริโภค

    ก. คดีที่ธนาคารฟ้องเรียกเงินกู้ยืมจากลูกหนี้ตามสัญญากู้ข. คดีที่ผู้ประกอบกิจการเลี้ยงกุ้งซื้ออาหารกุ้งไปเลี้ยงกุ้งของตนจากผู้ขายอาหารกุ้งค. คดีที่ผู้รับเหมาซื้ออิฐปูนที่ใช้ในการก่อสร้างเพื่อไปสร้างอาคารที่ตนรับเหมาสร้างง. คดีที่ผู้ซื้อ ซื้อน้ำมันเตาเพื่อไปใช้กับเครื่องจักรในโรงงานของตน

    Correct

    Incorrect

     

    7.

    คดีใดไม่เป็นคดีผู้บริโภค

    ก. คดีเกี่ยวกับการที่ในแดงซื้อน้ำปลามาทำกับข้าวที่บ้านข. คดีพิพาทเกี่ยวกับการผิดสัญญาระหว่างผู้รับเหมา กับผู้รับเหมาช่วงค. คดีที่องค์การบริหารส่วนตำบลฟ้องเรียกเงินกู้และดอกเบี้ยจากการให้สมาชิกกู้ยืมเงินง. คดีพิพาทระหว่างคนไข้กับแพทย์ที่ทำศัลยกรรมจมูกจนจมูกหายไป

    Correct

    Incorrect

     

    8.

    ข้อใดจัดเป็นคดีผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551

    ก. คดีแพ่งเกี่ยวกับสัญญาระหว่างบริษัทรับจ้างปลูกบ้านกับผู้รับเหมาข. คดีแพ่งพิพาทเกี่ยวกับสัญญาระหว่างร้านค้าปลีกกับร้านค้าส่งค. คดีแพ่งพิพาทเกี่ยวกับสัญญาระหว่างผู้จัดสรรที่ดินกับบริษัทรับจ้างปลูกบ้านในที่ดินโครงการจัดสรรง. คดีแพ่งพิพาทเกี่ยวกับสัญญาระหว่างนาย ก. เจ้าของที่ดินกับบริษัทรับจ้างปลูกบ้านในที่ดินของนาย ก. เพื่อการอยู่อาศัย

    Correct

    Incorrect

     

    9.

    การคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับสิทธิในความปลอดภัยจากการใช้สินค้าจัดเป็นมาตรการคุ้มครองผู้บริโภคด้านใด

    ก. ด้านฉลากข. ด้านโฆษณาค. ด้านบริการง. ด้านสัญญา

    Correct

    Incorrect

     

    10.

    คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอำนาจออกคำสั่งข้อใด

    ก. ห้ามโฆษณาสินค้าที่มีข้อเท็จข. ห้ามขายสินค้าที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคค. ห้ามใช้ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมง. ห้ามใช้ฉลากสินค้าที่มีข้อความเกินจริง

    Correct

    Incorrect

     

    11.

    ข้อใดไม่ใช่เงื่อนไขการพิจารณาในการดำเนินคดีแทนผู้บริโภคของ คกก. คุ้มครองผู้บริโภค

    ก. ผู้ขอใช้สิทธิต้องเป็นผู้บริโภคข. เป็นผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายจากผู้ประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิค. ต้องมีทุนทรัพย์พิพาทไม่ต่ำกว่าหนึ่งแสนบาทง. การดำเนินคดีแทนจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคเป็นส่วนรวม

    Correct

    Incorrect

     

    12.

    ข้อใดที่แสดงสิทธิผู้บริโภคได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ

    ก. สิทธิได้รับความคุ้มครองด้านโฆษณาสินค้าและบริการข. สิทธิที่มีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการค. สิทธิที่ได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายง. สิทธิที่ได้รับความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    Correct

    Incorrect

     

    13.

    ข้อใดคือหน่วยงานที่มีอำนาจฟ้องคดีละเมิดสิทธิผู้บริโภคตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2552

    ก. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคข. สำนักกฎหมายและคดีค. คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคง. คณะกรรมการว่าด้วยสัญญา

    Correct

    Incorrect

     

    14.

    นางสาว ก. ทำสัญญาเสริมความงามกับบริษัทแห่งหนึ่ง มีข้อสัญญาว่าบริษัทฯจะไม่คืนค่าบริการที่จ่ายล่วงหน้าไม่ว่าจะเป็นกรณีใด ปรากฏว่านางสาว ก. ใช้บริการแล้วไม่ได้ผลจึงบอกเลิกสัญญาและขอรับเงินค่าบริการล่วงหน้าคืน แต่บริษัทฯไม่คืนให้เพราะทำสัญญาไว้ว่าไม่ต้องคืน นางสาว ก. มาร้องเรียนที่ สคบ. ปรากฏว่าธุรกิจเสริมความงามยังไม่มีการควบคุมให้เป็นธุรกิจควบคุมสัญญา ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 สคบ. เจรจาไกล่เกลี่ยแล้ว ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถตกลงกันได้ นางสาว ก. จึงขอให้คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคดำเนินคดีกับบริษัทฯต่อศาลแทนตน เพื่อบังคับให้บริษัทฯคืนเงินให้แก่ผู้ร้องตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ดังนี้ คณะกรรมการมีอำนาจดำเนินการกับบริษัทฯได้หรือไม่

    ก. มีอำนาจ เพราะนางสาว ก. เป็นผู้บริโภคข. มีอำนาจ เพราะการดำเนินคดีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคเป็นส่วนรวมง. ไม่มีอำนาจ เพราะนางสาว ก. ไม่เป็นผู้บริโภคง. ไม่มีอำนาจ เพราะบริษัทฯ ข้อสัญญาบังคับกันได้ เนื่องจากข้อสัญญาไม่ขัดต่อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

    Correct

    Incorrect

     

    15.

    บุคคลตามข้อใดที่เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษาในคดีผู้บริโภค

    ก. นิติกรข. ผู้เชี่ยวชาญคดีผู้บริโภคค. ผู้ช่วยผู้พิพากษาง. เจ้าพนักงานคดี

    Correct

    Incorrect

     

    16.

    ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง

    ก. การขอให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีใดเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ถ้าคู่ความเป็นผู้ขอในคดีผู้บริโภคต้องกระทำอย่างช้าในวันนัดพิจารณาข. การขอให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีใดเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ถ้าคู่ความเป็นผู้ขอในคดีอื่นต้องกระทำอย่างช้าในวันชี้สองสถานหรือวันสืบพยานในกรณีที่ไม่มีการชี้สองสถานค. การขอให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีใดเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ โดยศาลเห็นสมควร ศาลสามารถขอได้ก่อนคดีเสร็จการพิจารณาในศาลชั้นต้นง. ไม่มีข้อถูก

    Correct

    Incorrect

     

    17.

    ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นแก่ร่างกาย สุขภาพ หรือ อนามัย และในเวลาที่พิพากษาคดีเป็นการพ้นวิสัยจะหยั่งรู้ได้ว่าความเสียหายมีแท้จริงเพียงใด ศาลอาจกล่าวในคำพิพากษาว่ายังสงวนไว้ซึ่งสิทธิที่จะแก้ไขคำพิพากษานั้นอีกภายในเวลาที่ศาลกำหนด ทั้งนี้ ต้องไม่เกินกี่ปีนับแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษา

    ก. สองปีข. สามปีค. ห้าปีง. สิบปี

    Correct

    Incorrect

     

    18.

    ข้อใดเป็นกระบวนพิจารณาที่พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคมิได้บัญญัติให้กระทำใน "วันนัดพิจารณา" 

    ก. สืบพยานข. ชี้สองสถานค. ไกล่เกลี่ยง. จำเลยยื่นคำให้การ

    Correct

    Incorrect

     

    19.

    ในคดีผู้บริโภคข้อใดผิด

    ก. ในวันนัดพิจารณา หากจำเลยมาศาลแต่ไม่ยอมยื่นคำให้การ ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การข. ในวันนัดพิจารณา หากจำเลยไม่มาศาลและไม่ได้ยื่นคำให้การ ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาค. ในวันนัดพิจารณา หากจำเลยไม่มาศาล แต่ได้ยื่นคำให้การไว้ก่อนหน้านั้น ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาง. ในวันนัดพิจารณา หากจำเลยไม่มาศาลและไม่ได้ยื่นคำให้การ ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ

    Correct

    Incorrect

     

    20.

    ค่าเสียหายอันอาจฟ้องร้องได้ ตาม พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค คือ

    ก. ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตาม ป.พ.พ.ข. ค่าเสียหายเชิงลงโทษค. ค่าเสียหายต่อจิตใจง. ถูกทุกข้อ

    Correct

    Incorrect

     

    21.

    ผู้บริโภคที่ประสงค์จะฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายต่อร่างกายสุขภาพและอนามัย อันเนื่องมาจากผลของสารสะสมที่อยู่ในร่างกายของผู้บริโภคนั้น อาจใช้สิทธิเรียกร้องได้ภายในอายุความ

    ก. ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายและรู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องรับผิด แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่ขายสินค้าข. ภายใน 3 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายและรู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องรับผิด แต่ไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันที่บริโภคสินค้าค. ภายใน 3 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายและรู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องรับผิด แต่ไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายง. ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายและรู้ตัวผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องรับผิด แต่ไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันละเมิด

    Correct

    Incorrect

     

    22.

    ผู้ประกอบการที่ไม่ต้องรับผิดตามที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551

    ก. ผู้ผลิตสินค้าข. ผู้ว่าจ้างให้ผลิตสินค้าค. ตัวแทนจำหน่ายสินค้าจากบริษัทผู้ผลิตสินค้าในประเทศง. ผู้นำเข้า

    Correct

    Incorrect

     

    23.

    ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ผู้เสียหายไม่มีหน้าที่ต้องพิสูจน์ในเรื่องใด ในกรณีเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ประกอบการ

    ก. ได้ใช้หรือเก็บรักษาสินค้านั้นข. เป็นการใช้หรือเก็บรักษาไปตามปกติค. ได้รับความเสียหายจากสินค้านั้นง. ไม่รู้ว่าสินค้านั้นเป็นสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

    Correct

    Incorrect

     

    24.

    พืชผลทางการเกษตรในข้อใด ถือว่าเป็นสินค้าตามมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551

    ก. ข้าวที่ผ่านการ สี ฝัด หรือ ขัดขาวแล้วข. เนื้อหมูบดค. เม็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ผ่านการกะเทาะเมล็ดแล้วง. ถั่วลิสงอบ

    Correct

    Incorrect

     

    25.

    นาย ก. ประสบอุบัติเหตุขับรถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท ข. จำกัด พุ่งชนต้นไม้ใหญ่ริมถนนอย่างแรงปรากฏว่าถุงลมไม่ทำงานเป็นเหตุให้หน้าอกกระแทกกับพวงมาลัยรถยนต์จนซี่โครงหัก หากนาย ก. ประสงค์จะดำเนินคดีกับบริษัท ข. จำกัด ในชั้นศาลยุติธรรม นาย ก. จะต้องพิสูจน์ตามพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ให้ได้ความในข้อใด

  • Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก