การ พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรียน โดย ใช้ แบบจำลอง

รสสุคนธ์ รุ้งประนมกร. 2558. ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในศูนย์เครือข่ายการพัฒนาการศึกษาแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. , มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช;

รสสุคนธ์ รุ้งประนมกร. (2558) ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในศูนย์เครือข่ายการพัฒนาการศึกษาแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน . มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช/นนทบุรี.

การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) นี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยใช้แบบจำลองเป็น
ฐาน (Model-based learning) ประชากรที่ศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม จังหวัดน่าน
จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์ของมนุษย์ ในกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง
กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จำนวน 3 คาบเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียน เรื่อง กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จำนวน 2 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย (Mean) และการวัด
พัฒนาการจากร้อยละของการเปลี่ยนแปลง

โดยคัดเลือกข้อสอบท่ผี า่ นเกณฑ์ 0.50 ข้นึ ไป หากไมผ่ า่ นเกณฑจ์ ะดำเนนิ การปรบั ปรงุ หรือสร้างข้อสอบข้อ

น้ันๆใหม่

52

2.5 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง โครงสร้างภายในโลกมาปรับปรงุ

ตามคำแนะนำของผู้เช่ียวชาญไปทดลองกับนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเทศบาลบ้านส่องนางใย

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 27 คนเพื่อหาค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก(r)และค่า

ความเชอื่ ม่ันจากสตู ร KR-20

4. การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ใช้การจัดกิจกรรมการเรียน

แบบจำลองเปน็ ฐาน มีข้นั ตอน ดงั นี้

4.1 ศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจจากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่

เกยี่ วขอ้ ง

4.3 สรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจโดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบมาตราส่วนกำหนด

ตัวเลข กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ แตล่ ะช่วงคะแนนมคี วามหมาย ดังนี้

3 หมายถงึ มีความพอใจมากท่สี ุด

2 หมายถงึ มีความพอใจปานกลาง

1 หมายถงึ มีความพอใจนอ้ ยทสี่ ุด

การให้คะแนนผู้วิจัยประเมินโดยการสงั เกตการขณะนกั เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยการแปลความหมายของ

ค่าเฉลีย่ มเี กณฑ์ดังน้ี (บญุ ชมศรสี ะอาด, 2546 น. 162)

สูตรอันตรภาคชัน้ (คะแนนสงู สดุ คะแนนตำ่ สุด) = (3-1) = 0. 6 จำนวนชัน้ 3

ค่าเฉลย่ี 2.41-3.00 หมายถึงมีพฤติกรรมดี

คา่ เฉลี่ย 1.61-2.40 หมายถงึ มีพฤติกรรมพอใช้

ค่าเฉล่ีย 1.00-1.60 หมายถงึ มพี ฤติกรรมทตี่ ้องปรับปรุง

4.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความตรง

เชิงเนอื้ หาในเบอ้ื งต้น และปรบั ปรุงตามคำแนะนำของอาจารย์ทีป่ รึกษา

4.5 นำแบบสอบถามความพึงพอใจเรือ่ ง โครงสร้างภายในโลกเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญจำนวน

3 ท่านเพื่อตรวจสอบความสดคล้องขององค์ประกอบต่างๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้และความเที่ยงตรง

ของเนื้อหา จุดประสงค์ กิจกรรมการสอน การวัดการประเมินผล ความเหมาะสม นำข้อมูลความคิดเห็น

ของผ้เู ชยี่ วชาญมาหาค่าดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) โดยกำหนดเกณฑ์การพิจารณา คอื

เห็นว่าสอดคลอ้ ง ให้คะแนน +1

ไมแ่ น่ใจ ให้คะแนน 0

เหน็ ว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1

53

การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมสอดคล้องของแบบสอบถามความคิดเห็น โดยใช้ดัชนีความ
สอดคลอ้ ง (IOC) คำนวณคา่ ตามสูตร

IOC = ∑
N

IOC = ดชั นีความสอดคลอ้ งของแบบสอบถามความคดิ เหน็
∑R = ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญ
N = จำนวนผูเ้ ชย่ี วชาญ
4.6 นำแบบสอบถามความพึงพอใจมาปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญและ
นำไปใชใ้ นการประเมินทักษะการสรา้ งแบบจำลองของนักเรยี น
3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.3.1 แบบแผนการวิจัย
แบบแผนกลุ่มเดียวทดสอบกอ่ นหลงั (One Group Pretest-Posttest Design) จะมีวิธีวิจยั
ดังนี้
1. เลอื กกลุม่ ทดลองมา 1 โดยวธิ กี ารสุ่มอยา่ งงา่ ยโดยใชว้ ิธจี ับฉลาก
2. ทำการสังเกตนักเรียนก่อนทำกิจกรรมการเรียนและวัดประเมินความรู้ ทักษะต่างๆตาม
จุดประสงคก์ อ่ นทำกิจกรรมการเรียน (01)
3. จัดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้แบบจำลองเปน็ ฐานเพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษา
4. ทำการสังเกตนักเรียนขณะทำกิจกรรมการเรียนและวัดประเมินความรู้ ทักษะต่างๆตาม
จดุ ประสงค์หลงั การจดั การเรียนการสอน (02) และทำการเปรยี บเทียผลการวัดก่อนกบั หลังการใช้แผนการ
จัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบจำลองเป็นฐานเพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา
3.3.2 ขน้ั ตอนารดำเนนิ งานวจิ ัย
1. ขัน้ เตรยี ม
ผู้วิจัยทำการสุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงง ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จำนวน 27 คน โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย ในภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา
2563
2. ขน้ั กิจกรรม
1. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรยี นจากน้ันดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนรู้
โดยใชแ้ บบจำลองเป็นฐานเพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะความคิดสรา้ งสรรค์ ท้ัง 5 แผนแผนละ 2 ช่วั โมง รวมเวลา 10
ช่วั โมง

54

2. ดำเนินกจิ กรรมการสอนตามแผนการเรยี นรูโ้ ดยใชแ้ บบบจำลองเป็นฐานครบ 5 แผน

3. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบบชุดเดียวกัน

กับขอ้ ที่ 1

3. ขน้ั สรปุ

1. นำคะแนนที่ไดจ้ ากการทดสอบไปวิเคราะห์ทางสถิติเพ่ือสรปุ ผลตามจดุ ประสงค์ของ

การวิจยั

2. นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียน โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้

แบบจำลองเป็นฐานทีผ่ วุ้ จิ ัยสรา้ งข้นึ จำนวน 10 ขอ้ พร้อมตรวจคะแนนและเกบ็ บนั ทกึ คะแนน

3.4 การจดั กระทำขอ้ มูลและการวิเคราะห์ข้อมลู

3.4.1 วเิ คราะห์ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ก่อนและหลงั เรียนโดยการหาค่ารอ้ ยละความกา้ วหน้า

3.4.2 วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อการเรียนโดยการใช้

แผนการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเปน็ ฐาน จากน้นั วเิ คราะห์นำคา่ เฉลย่ี มาเทยี บเกณฑ์ ดังนี้

คา่ เฉลยี่ ระดับความพึงพอใจ

4.51-5.00 มากท่ีสดุ

3.51-4.50 มาก

2.51-3.50 ปานกลาง

1..51-2.50 นอ้ ย

1.00-1.50 น้อยท่ีสุด

3.5 สถติ ิที่ใช้ในการวจิ ยั

3.5.1 สถิติทใี่ ชใ้ นการหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื

1. การหาค่าความเที่ยงตรงเชิงพินิจของแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบและวิเคราะห์เชิงปรมิ าณ

ค่าดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) โดยผู้เช่ียวชาญจะต้องประเมินดว้ ยคะแนน 3 ระดับ คือ

+1 = สอดคลอ้ ง หรอื แน่ใจว่านวัตกรรมน้นั หรือขอ้ สอบข้อนนั้ วดั จดุ ประสงค์เชงิ

พฤติกรรมทร่ี ะบุไวจ้ ริง

0 = ไมแ่ นใ่ จวา่ นวัตกรรมนั้นหรอื ข้อสอบขอ้ น้ันวดั จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมที่

ระบุไว้

-1 = ไมส่ อดคล้องหรอื แนใ่ จว่านวัตกรรมนั้นหรือข้อสอบข้อน้ันไมไ่ ดว้ ดั

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมทีร่ ะบไุ วค้ ่าดัชนคี วามสอดคล้องท่ียอมรบั ได้ตอ้ งมคี า่ ตง้ั แต่ 0.50 ข้นึ ไป

55

สตู รในการคำนวณ

IOC = ∑

N

เม่อื IOC = ดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามความคิดเหน็

∑R = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ

N = จำนวนผูเ้ ช่ยี วชาญ

2. ค่าความยากงา่ ย(p) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเปน็ รายขอ้ โดยใช้สูตร

P =

เมือ่ P = คา่ ความยากของคำถามแตล่ ะข้อ

R = จำนวนคนท่ีทำข้อนน้ั ถูก

N = จำนวนคนที่ทำขอ้ นน้ั ทัง้ หมด

1. ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเป็นรายขอ้ โดยใช้สตู ร

D = Ru – RL

2

เมื่อ D = คา่ อำนาจจำแนกเป็นรายข้อ

Ru = จำนวนนกั เรยี นท่ีตอบถกู ในกลุม่ เกง่

RL = จำนวนนักเรียนทต่ี อบถกู ในกลุ่มอ่อน

N = จำนวนนักเรยี นในกลมุ่ เก่งและกลุ่มออ่ น

2. คา่ ความเชอ่ื ม่นั ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยใช้สตู ร KR-20

rU = [ 1- ∑ 2 ]
−1
St

เมื่อ rU = คา่ ความเชือ่ มั่นของแบบทดสอบ

n = จำนวนขอ้ ของเครือ่ งมอื วัด

p = สัดส่วนของผู้ทีท่ ำได้ในขอ้ หน่งึ ๆ คือ สัดส่วนของคนทที่ ำถกู กับคนทั้งหมด

q2 = สัดสว่ นของคนทำผิดในแต่ละขอ้ คือ 1-p

St = คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมอื ฉบบั น้ัน

56

5. การหาค่าร้อยละความก้าวหน้าของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน ก่อนเรียน-หลังเรียน โดย

การใช้สูตร ดังน้ี (เกณฑ์ท่นี ่าพึงพอใจคือ ต้ังแต่รอ้ ยละ 25 ขน้ึ ไป)

รอ้ ยละความกา้ วหน้า = ̅2− ̅1 × 100
คะแนนเตม็

เมอื่ 1̅ = คะแนนเฉลีย่ ก่อนเรยี น
̅2 = คะแนนเฉล่ียหลงั เรยี น

3.5.2 สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
การวิเคราะห์จากแบบประเมินความสามารถด้านการคิดสร้างสรรค์เพื่อตอบคำถามการวิจัย

โดยใชส้ ถิติความถ่ีร้อยละคา่ เฉลี่ยดงั นี้ คา่ เฉล่ยี (mean) ร้อยละ (Percentage) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
สถติ ิอา้ งองิ พรเี ทส

1. ค่าเฉล่ียเลขคณิตของข้อมลู ท่ีแจกแจงความถ่ี สามารถคำนวณได้จากสูตร

̅ =

เมือ่ ̅ = คา่ เฉลยี่ เลขคณิต

Σf = ความถี่ของข้อมูล

X = ค่าของข้อมลู (ในกรณกี ารแจกแจงความถี่
n = จำนวนนกั เรยี น

2. รอ้ ยละ (Percentage)

เพื่อใช้แปลความหมายของข้อมลู ส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม การนำเสนอข้อมูล

โดยใช้ตารางแจกแจงความถ่ี (Frequency Table)

P = ×

เมือ่ P = คา่ รอ้ ยละ
f = ความถ่ที ต่ี ้องการแปลงใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ
n = จำนวนความถี่ทั้งหมด

57

3. แบบรบู ริคส์(rubric score) ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับคณุ ภาพ 2 ข้ึนไป

4. การหาส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน(S.D.) ในกรณีขอ้ มลู ไม่ได้มีการแจกแจงความถส่ี ามารถหาได้จากสตู ร

S.D. = ( − ̅)2
−1

เมอ่ื S.D. = สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
X = ขอ้ มูล ( ตวั ท่ี 1,2,3…,n)
̅ = คา่ เฉล่ียเลขคณติ
n = จำนวนขอ้ มูลทั้งหมด

บทท่ี 4
ผลการวจิ ัย

ในการวิจยั เรอ่ื ง การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้แบบจำลองเป็นฐาน
เรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัด
มหาสารคาม ผวู้ จิ ยั ขอเสนอผลการวจิ ัย ตามลำดบั ขั้นตอนดงั นี้

1. สญั ลกั ษณ์ที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู
2. ลำดับขั้นตอนในการวิเคราะหข์ ้อมูล
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1. สัญลักษณท์ ใ่ี ช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ผู้วิจัยได้กำหนดความหมายของสัญลักษณ์ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิด

ความเข้าใจในการแปลความหมายและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้อง ตลอดจน การสื่อความหมาย
ขอ้ มลู ทตี่ รงกนั ดังน้ี

N แทน จำนวนคน
∑ แทน คะแนนรวม
X แทน คะแนนเฉลี่ย
S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

2. ลำดับขั้นตอนในการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การวิจัยในครั้งนี้ มีขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามลำดับ

ขัน้ ตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเทศบาล
บา้ นส่องนางใย จังหวัดมหาสารคาม

59

ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนของนักเรียนโดยใช้รูปแบบจัดการเรยี นร้แู บบจำลอง
เป็นฐานเรื่อง โลกและทรพั ยากรธรรมชาตสิ ำหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย
จงั หวดั มหาสารคาม

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบสอบถาม
ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน จำนวน 20 ข้อ จากนั้นหาค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาลบ้าน
สอ่ งนางใย จงั หวัดมหาสารคาม

ตารางท่ี 4.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นก่อนและหลังเรียนโดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและ

ทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัด

มหาสารคาม

ที่ คะแนนก่อนเรียน(20) คะแนนหลงั เรียน (20) ผลต่างคะแนน

14 9 5

28 15 9

33 5 2

43 9 6

58 17 9

65 7 2

74 13 9

82 6 4

93 10 7

10 5 12 7

11 4 12 8

12 5 10 5

13 6 13 7

14 7 16 9

60

ท่ี คะแนนก่อนเรียน(20) คะแนนหลังเรียน (20) ผลต่างคะแนน
15 5 15 10
16 7 17 10
17 5 17 12
18 8 19 11
19 6 18 12
20 8 17 9
21 5 16 11
22 5 17 12
23 4 12 8
24 6 18 12
25 5 17 12
26 2 13 11
27 4 15 11
ค่าเฉล่ยี 4.96 14.04 9

จากตารางที่ 4.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน
เรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัด
มหาสารคาม พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.96และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 14.04 ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อ
เทียบกับคะแนนการสอบกอ่ นเรียนเฉลี่ย 9 คะแนน

ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง บรรยากาศ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน
เรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัด
มหาสารคาม
ตารางที่ 4.2 ร้อยละความก้าวหน้าของนักเรียนเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้าน
สอ่ งนางใย จังหวดั มหาสารคาม

ท่ี คะแนนกอ่ นเรียน(20) คะแนนหลังเรยี น (20) ผลตา่ งคะแนน 61
10
14 9 9 ร้อยละความก้าวหนา้
11 63
28 15 12 65
8 73
33 5 8 75
9 50
43 9 4 47
7 56
58 17 7 28
8 46
65 7 5 43
7 45
74 13 9 30
10 39
82 6 10 48
5 67
93 10 11 67
12 34
10 5 12 9 65
11 60
11 4 12 12 60
8 58
12 5 10 12 75
12 50
13 6 13 11 71
6 75
14 7 16 65
38
15 5 15
55.26 %
16 7 17

17 5 17

18 8 19

19 6 18

20 8 17

21 5 16

22 5 17

23 4 12

24 6 18

25 5 17

26 2 13

27 4 15

ค่าเฉล่ีย

62

จากตารางที่ 4.2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 10.96 และ 18.48 ตามลำดับ โดยมี
ค่าร้อยละความก้าวหน้าหลังจากเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและ
ทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัดมหาสารคาม
ร้อยละ 55.26 %

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรยี นรู้แบบจำลองเป็นฐานเร่ือง โลกและ
ทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัดมหาสารคาม
จำนวน 15 ขอ้ จากนั้นหาคา่ เฉลี่ย (x̅) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนต่อการเรียน เรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติ

โดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนช้ัน

มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทศบาลบ้านส่องนางใย จงั หวัดมหาสารคาม

ขอ้ รายการ x̅ S.D. ระดับความพงึ พอใจ
ดา้ นการจดั การเรียนรู้

1 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกับเนือ้ หา 4.59 0.49 มากที่สุด

2 กิจกรรมการจัดการเรียนร้ชู ว่ ยให้นักเรียนเข้าใจใน 4.45 0.63 มาก
เนือ้ หา

3 กิจกรรมการเรยี นรู้ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ 4.50 0.50 มากที่สุด

4 การจดั การเรยี นรู้ชว่ ยทำใหน้ ักเรยี นสร้างองค์ 4.66 0.47 มากที่สดุ
ความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง

ด้านส่ือการเรียนรู้

5 สื่อการเรยี นรู้นา่ สนใจสำหรับนกั เรยี น 4.59 0.49 มากทส่ี ดุ

6 ส่ือการเรยี นรู้ทำใหน้ กั เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น 4.52 0.50 มากที่สดุ

7 สื่อการเรนี ร้เู หมาะสมกบั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.40 0.66 มาก

ด้านประโยชน์ท่ไี ดร้ บั

8 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทำให้เกดิ ความสามัคคีใน 4.38 0.62 มาก
การทำงาน

9 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้สง่ เสรมิ ใหท้ ำงานร่วมกบั 4.54 0.50 มากทส่ี ดุ
ผู้อ่ืน

63

ข้อ รายการ x̅ S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ
10 ผูเ้ รียนสามารถนำแผนผังมโนมติไปใชใ้ น
4.50 0.50 มากท่ีสดุ
ชีวิตประจำวนั ได้
คา่ เฉลี่ย 4.51 0.53 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ โลกและทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัดมหาสารคาม พบว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
(x̅=4.51)

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ในการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรือ่ ง
โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย จังหวัด
มหาสารคาม ผู้วจิ ัยไดน้ ำเสนอ ดงั น้ี

1. สรุปผล
2. อภิปรายผล
3. ข้อเสนอแนะ

สรปุ ผล

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและ
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/2 โรงเรยี นเทศบาลบา้ นส่องนางใย จงั หวัดมหาสารคาม
พบว่าคะแนนเฉล่ยี ก่อนเรียนเทา่ กับ 4.96 และคะแนนเฉล่ยี หลงั เรียนเท่ากบั 14.04 ซึง่ เพมิ่ ขึ้นเม่อื เทียบกับคะแนน
การสอบก่อนเรียนเฉล่ีย 9 คะแนน

2. นักเรียนที่เรยี นเร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้การจดั การเรียนรูแ้ บบจำลอง
เป็นฐานเรอื่ ง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนน
กอ่ นเรียน คดิ เปน็ ร้อยละ 55.26

3. ความพึงพอใจของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่องโลกและ
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/2โรงเรียนเทศบาลบ้านสอ่ งนางใยพบว่านกั เรยี นมีระดบั
ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ (x̅=4.51)

65

อภิปรายผล

ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้ การจัดการ
เรยี นรแู้ บบจำลองเป็นฐานเรอื่ ง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทศบาล
บ้านส่องนางใย จงั หวัดมหาสารคาม มีประเด็นท่ีนำมาอภปิ รายผล ดงั นี้

1. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง โลกและทรัพยากรธรรมชาติสำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้าน
ส่องนางใย จังหวัดมหาสารคาม พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.96 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ
14.04 ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับคะแนนการสอบก่อนเรียนเฉลี่ย 9 คะแนน หมายความว่า ผู้เรียนได้คะแนนเฉลี่ย
เพิ่มขึ้นหลังจากการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน สอดคล้องกับนิภาภรณ์ จันทะโยธาและสุวัตร นานันท์ (
2557 ) การวิจัยการพัฒนาวิถีทางมโนมติวิทยาศาสตร์และการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ ด้วยการจัดการ
เรยี นรโู้ ดยใช้แบบจำลองเปน็ ฐาน เรอ่ื ง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัย
พบว่านกั เรยี นมีชนิดของความเขา้ ใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ท่ีสูงข้นึ มีระดบั ความสามารถในการสร้างแบบจำลอง
ทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น และพัฒนาวิถีมโนมติของนักเรียนได้ดีแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบจำลองเปน็ ฐานสามารถสร้างความเข้าใจมโนมติของนักเรยี นได้

2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องโลกและทรัพยากรธรรมชาตโิ ดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลอง
เป็นฐานของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย มีคะแนนหลงั เรียนสูงกว่าคะแนนก่อน
เรียน คิดเป็นร้อยละ 55.26 สอดคล้องกับ สุกัลยา หลำเหล็ม ( 2560 ) ได้ศึกษาการเปรียบเทียบผลของการ
จัดการเรียนรู้โดยใชแ้ บบจำลองเป็นฐาน เรื่อง การจำลองตัวของดีเอ็นเอต่อการพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 28 คน ด้วยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบจำลองเป็นฐานที่มีผลต่อมโนมติของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง การจำลองตัวของดีเอ็นเอของ
นักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการ จัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนมีความเข้าใจมโนมติที่สมบูรณ์(SU)หลงั
การจัดการเรยี นรูเ้ พิม่ สงู ขึน้ จากร้อยละ 0.00 เป็นร้อยละ 45.79 ทั้งนี้เน่ืองมาจากในการจัดการเรียนรู้แบบจำลอง
เป็นฐาน ผู้วิจัยได้มีการศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของเนื้อหาวิชาอย่างละเอียดรอบคอบ
จัดเตรียมเนื้อหาและกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และเหมาะสมกับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องพรเทพ
จันทราอุกฤษฎ์ ได้ทำการศึกษาและวจิ ยั เรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการรูปแบบการสบื
สอบแบบโต้แย้ง และแนวคดิ การเรียนรโู้ ดยใช้แบบจำลองเปน็ ฐานเพ่ือเสริมสร้าง สมรรถนะการรวู้ ิทยาศาสตร์และ
ความมีเหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่ารูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยขั้นตอน
สำคัญ 6 ขั้น ได้แก่ (1) ขั้นตั้งประเด็นคำถาม (2) ขั้นสร้างแบบจำลองเบื้องต้น (3) ขั้นสำรวจตรวจสอบ

66

แบบจำลอง (4) ขั้นปรับปรุงแบบจำลอง (5) ขั้นสร้างข้อสรุปและคำอธิบาย (6) ขั้นขยายความรู้ โดยมี
การอภิปรายโตแ้ ยง้ อยใู่ นทุกๆ ข้นั

3. ความพึงพอใจของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่องโลกและ
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านสอ่ งนางใย มีระดบั ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากที่สุด (x̅= 4.51) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ัยสำนักงานตรวจสอบ
ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร (2559) ได้ศึกษาการพฒั นาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ โดยจดั การเรียนรู้โดยใช้
แบบจำลองเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า 1) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 79.99/77.32 ซึ่งสูงกว่า
เกณฑ์ 75/75 ที่กำหนดไว้ 2) มดี ัชนปี ระสทิ ธิผลเทา่ กบั 0.65 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 0.50 ขน้ึ ไป 3) ความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนับสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 5) จิตวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมี
นยั สำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .056) คณุ ลกั ษณะตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง อยูใ่ นระดบั ดีมาก

ขอ้ เสนอแนะ
จากผลการวจิ ัยครงั้ น้ี มขี ้อเสนอแนะดังน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะในการนำไปใช้
จากการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผลของทางการเรียนเรื่องโลกและทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้การจัดการเรียนรู้

แบบจำลองเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวิชาวิทยาศาสตรข์ องนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ให้สูงขึ้น ดังนนั้ ครผู ูส้ อนหรอื ผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งควร
นำไปปรับใช้ในเนื้อหาหรือรายวิชาที่เกี่ยวข้องโดยควรเพิ่มการจัดการบรรยากาศภายในห้องเรียนให้เอื้อต่อการ
จัดการเรียนรู้ เช่น หนังสือ สื่อการเรียนรู้ เป็นต้น และในการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมการสร้างแบบจำลองควรมี
ข้อตกลงกับนักเรียนใหเ้ รียบร้อยกอ่ นทำกิจกรรมเพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดปัญหานักเรยี นโตเ้ ถียงกันในภายหลัง

2. ข้อเสนอแนะการทำวจิ ัยคร้ังต่อไป
ควรมีการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆ เช่น

วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาคณติ ศาสตร์ และวิชาภาษาไทย เปน็ ต้น

บรรณานกุ รม

กิ่งกาญน์ สริ สิ ุคนธ์. (2549). มาร้จู ักรูบรคิ กนั เถอะ. คน้ เมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก
//www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=11230&Key=
news_research

ครเู ชียงราย. (2562). การพฒั นารปู แบบการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ การสบื สอบโดยใช้
แบบจำลองเป็นฐาน. คน้ เม่ือ 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2562, จาก //www.kruchiangrai.net
/forums

________. (2558). การหาคา่ ดชั นคี วามสอดคล้องของนวตั กรรมและแบบทดสอบกับจดุ ประสงค์เชิง
พฤติกรรม. ค้นเมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก www.kruchiangrai.net//30/
การหาค่า-ioc-คอื /

ชวาลแพรรตั กุล. เทคนคิ การวัดผล. (พิมพ์ครง้ั ที่ 6). กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช, 2518.

ทิศนาแขมมณี. รปู แบบการเรยี นการสอนทางเลือกทห่ี ลากหลาย. (พิมพ์คร้งั ที่ 3). กรงุ เทพ:
โรงพมิ แ์ิ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 2548.

ธรี ะ รญุ เจรญิ . ความเปน็ มืออาชีพในการบริหารและการจัดการศกึ ษายคุ ปฏริ ปู การศึกษา (ฉบับ
ปรับปรงุ ). กรุงเทพฯ : แอล.ที.เพรส., 2550.

ธณฏั ฐา คงทน ผู้แต่งหลัก , บุญนาค สุขมุ เมฆ, ชาตรี ฝ่ายคำตา. (2559). วารสารหน่วยวจิ ัย
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อมเพ่ือการเรียนรู้ ปที ่ี 7 ,ฉบับที่ 1, เลขหนา้ : 62-76.

ธรี ะพงษ์ กระการดี. (มปป). การวดั แนวโน้มเขา้ สสู่ ่วนกลาง. คน้ เม่ือ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก
//www.stvc.ac.th/elearning/stat/csu2.html

68

บรรณานกุ รม(ต่อ)

นิภาภรณ์ จนั ทะโยธาและสวุ ตั ร นานันท์ . (2557). การพัฒนาวิถที างมโนมติวิทยาศาสตรแ์ ละการสรา้ ง
แบบจำลองทางวทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้แบบจำลองเปน็ ฐาน เร่ือง ของแข็ง
ของเหลว และแก๊ส ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 หนา้ :1978.

บุญชม ศรีสะอาด. วิธีการวิจัยทางสถิติสำหรับการวิจัยเล่ม 1. กรุงเทพฯ: ภาควชิ าพนื้ ฐานของการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒมหาสารคาม, (2532).

____________. การวจิ ัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งท่ี 7), กรุงเทพฯ: สวุ ริ ิยาสาส์น, (2545).
บญุ เชิด ภญิ โญอนันตพงษ.์ การทดสอบแบบองิ เกณฑ์: แนวคิดและวิธีการ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์

มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร, (2526).
ประวิตรชูศลิ ป.์ หลกั การประเมินผลวทิ ยาศาสตร์แผนใหม่, กรงุ เทพฯ: ภาคพัฒนาตำราและ

เอกสารหนว่ ยศึกษานิเทศก์กรมการฝึกหัดครู, (2524).
พิมพันธเ์ ดชะคปุ ต.์ วจิ ัยในชั้นเรยี นหลกั การสูก่ ารปฏิบตั ิ (พิมพ์คร้งั ที่ 4), กรุงเทพฯ: เดอะ

มาสเตอรก์ รุ๊ปแมนเนจเมน้ , (2544).
พวงรตั นท์ วรี ตั น.์ การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพมฯ : สำนักทดสอบ

ทางการศกึ ษาและจติ วทิ ยามหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒประสานมติ ร, (2530).
ไพศาล หวงั วานิช. การวัดผลการศึกษา. กรงุ เทพฯ: สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษาและจติ วทิ ยา

มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, (2533).
____________. การวัดผลการศึกษา. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ , (2526).

วดีวบิ ลู ยศ์ ร.ี หลกั การวดั และการสร้างข้อสอบ. (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
(2528).

ราช ศริ วิ ฒั น.์ (2560). สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล. ค้นเม่ือ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก
//doctemple.wordpress.com//25/สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเครา/

ลทั ธวรรณ ศรีวคิ า, คเชนทร์ แดงอดุ ม และธิติยา บงกชเพชร. (2558). ผลของการจัดการเรยี นรู้โดยใช้
แบบจำลองเป็นฐานทีม่ ตี ่อมโนมตเิ ร่ือง ปฏสิ ัมพันธใ์ นระบบสุริยะ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 หน้า :1418.

69

บรรณานกุ รม(ตอ่ )

ล้วน สายยศ,สุวริ ิ ยาสาส์นและอังคณา สายยศ. เทคนิคการวจิ ยั ทางการศกึ ษา (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5)
กรุงเทพฯ: สุวิรยิ าสาส์น, (2538).

เลาไพบูลย์. (2537). การสอนวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ ภพ
วกิ พิ เี ดีย สารานกุ รมเสร.ี (มปป). ทรพั ยากรนำ้ . ค้นเมอ่ื 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก

//th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ#การใชน้ ้ำ
_________________. (มปป). ธรณีพบิ ตั ภิ ัย. ค้นเม่ือ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก

//th.wikipedia.org/wiki/ธรณพี ิบัตภิ ัย
_________________. (มปป). อัคคภี ัย. ค้นเมือ่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก

//th.wikipedia.org/wiki/อัคคภี ยั
วรวฒั น ศลี บตุ รและบญุ นาค สุขุมเมฆ. (2558). การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน

รว่ มกับวธิ ีการแบบเปดิ เพอ่ื พัฒนาแนวคิดเรื่อง สารชวี โมเลกุลของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 6 หน้า :943.
วิเชยี รเกตุสิงห.์ หลกั การสร้างและวิเคราะห์เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั .กรุงเทพฯ: กองวิชยั การศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, (2523).
ศนู ยก์ ารเรยี นรโู้ ลกและดาราศาสตร์. (มปป). การแบง่ โครงสรา้ งโลกตามองคป์ ระกอบเคม.ี
คน้ เมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2562, จาก //www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-
structure/ [2562,
__________________________. (มปป). แหลง่ นำ้ . ค้นเมอ่ื 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2562, จาก
//www.lesa.biz/earth/hydrosphere/water-resources
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี การจดั สาระการเรยี นรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตร
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน.กรงุ เทพฯ: สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, (2546).
สมนกึ ภัททยิ ธนี. การวดั ผลการศกึ ษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กาฬสินธุ:์ ประสานการพิมพ์, (2546).
สมบตั ิท้ายเรอื คำ. ระเบยี บวธิ ีวิจยั สำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ = Research, (2551).
Methodology forSocial Sciences and Humanities. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 2) กาฬสนิ ธ:์ุ ประสานการพิมพ์
สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (มปป). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช
2551 และมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560). คน้ เม่อื 11 สิงหาคม
พ.ศ. 2562, จาก //academic.obec.go.th/newsdetail

70

บรรณานกุ รม(ตอ่ )

Abraharm, M. R. ; Renner, J. W. (2010). The Sequence of Learning by Model in High
School Chemicty. Journal of Research in Science Teaching. 23(8) : 690-705.

Clement, J. (2012). Model based learning as a key research area for science
education. International Journal of Science Education.

David, M. (2011). The Effectiveness of a Model Discovery Approach in Elementary
School Science Curriculum. Dissertation Abstracts International. 39 : 4164-A.

Sebtember 20, 2019, from //www.lib.umi.com/dissertations/fullcit/
Gobert, J. D. and B. C. Buckley. (2011). Introduction to Model-Based Teaching and

learning in Science Education. International Journal of science Education. 22
(9): 891-894.
Guilford, J.P. (1956). Structure of Intellect Psychological. New York : McGraw-Hill

Book Co. Torrance, E.P. and R.E. Myers. (1962). Creative Learning and
Teaching. New York : Good,Mead and Company.
Harrison, A. G and D. F. Treagust. (2000). “A typology of school science models.”
International Journal of Science Education 22 (9): 1011-1026.
Justi,R. and J.K. Gilbert. 2002. “ Models and modeling in chemical education”
Chemical Education:Toward Research-based Practice. Dondrecht: Kluwer
Academic Publisher.47-68
kanyavee chairian. (2012). สถติ ทิ ี่ใชก้ นั มากในงานวจิ ัย. [online]. Available:
//www.gotoknow.org/posts/403321 [2562, สงิ หาคม 11].
Neilson, D., Campbell, T., & Allred, B. (2010). Model-based inquiry in physics: A
buoyant force module. The Science Teacher, 77(8), 38-43.
sanomaru. (2560). โครงสร้างของโลก. [online]. Available:
//www.trueplookpanya.com/knowledge/content/63710/-blo-sciear-sci-
[2562, สงิ หาคม 11].

71

บรรณานกุ รม(ต่อ)

Sitthichai Laisema. (2557). ความคดิ สร้างสรรค์กับการเรยี นรู.้ [online]. Available:
//sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing-
srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru [2562, สงิ หาคม 11].

Wallach, Michael A. and kogan Nathan. (1965). Model of Thinking in Young
Children.New York Holt, Rinehartandwinston.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
เครอื่ งมือวิจยั

1. แผนการจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบจำลองเป็นฐาน
2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนโดยใชแ้ ผนการเรียนแบบจำลองเปน็ ฐาน

74

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101

ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 2 คาบ/ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 โลกและทรัพยากรธรรมชาติ เรื่อง โลกและโครงสรา้ งโลก

จำนวน 18 ชว่ั โมง ผู้สอน นางสาว กนกพร ละมัย

ชนั้ 2/1 สอนวันที่ เดอื น พ.ศ. 2563 ชั่วโมงท่ี

ช้นั 2/2 สอนวนั ที่ เดือน พ.ศ. 2563 ชั่วโมงท่ี

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลกกระบวนการเปลย่ี นแปลงภายใน

โลกและบนผวิ โลก ธรนีพบิ ัติภัยกระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลกรวมทง้ั ผลตอ่ สิง่ มีชวี ติ
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชีว้ ัด
ม.2/4 สรา้ งแบบจำลองที่อธบิ ายโครงสร้างภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมจี ากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้

1. สาระสำคญั
นกั ธรณวี ทิ ยาแบ่งโครงสร้างภายในของโลก โดยพจิ ารณาจากองคป์ ระกอบทางเคมี ออกเปน็ 3 ส่วน ได้แก่

- เปลือกโลก (Crust) เป็นผิวโลกชั้นนอก มีองค์ประกอบส่วนใหญเ่ ป็นซิลิกาไดออกไซด์ และอะลูมิเนียมออกไซด์
ประกอบดว้ ยเปลอื กโลกทวปี และเปลอื กโลกมหาสมุทร
- เนื้อโลก (Mantle) คือส่วนซึ่งอยู่อยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กิโลเมตร มีองค์ประกอบ
หลักเปน็ ซลิ คิ อนออกไซด์ แมกนเี ซียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์
- แก่นโลก (Core) คือสว่ นท่อี ยู่ใจกลางของโลก มีองคป์ ระกอบหลกั เปน็ เหลก็
2. จุดประสงค์

1. ระบโุ ครงสรา้ งภายในโลกและบรรยายลักษณะของโครงสรา้ งโลกแต่ละชั้นได(้ K)
2. สามารถสร้างแบบจำลองโครงสร้างโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมีได้ (P)
3. มคี วามรับผดิ ชอบ ตงั้ ใจเรียนและทำงานเสร็จลุลว่ งตามเวลาทกี่ ำหนด(A)

75

3. การบูรณาการหลกั แนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.1 ความพอประมาณ
- มคี วามพอประมาณกับมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชว้ี ดั ท่ีเลอื กมา
- มีความพอประมาณกับเวลาทใี่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
- มีการคดั เลือกเน้ือหา บทอ่าน และกิจกรรมที่มีความยากง่ายเหมาะสมกบั วัยของผูเ้ รียน
3.2 ความมเี หตุมผี ล
- การจัดการเรยี นการสอนที่เหมาะสมกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชวี้ ัดทเ่ี ลือกมา จะทำให้
ผู้เรียนมีโอกาสประสบความสำเร็จในการเรียน
- การจัดกจิ กรรมที่เหมาะสมกบั เวลาทก่ี ำหนดไว้ จะทำให้บทเรียนนา่ สนใจ การเรียนการสอนจะ

ดำเนนิ ไปอยา่ งราบร่ืน
- เน้ือหาของบทอ่านท่ีมีความยากง่ายเหมาะสมกับวัยของผู้เรยี น จะทำใหผ้ ู้เรียนสนใจและมี
โอกาสทจี่ ะประสบความสำเรจ็ ในการเรียนสงู

3.3 การมีภมู ิคุ้มกนั ในตวั ท่ีดี
- มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั จะเป็นกรอบทกี่ ำหนดใหค้ รผู สู้ อนสอนอยู่ในขอบข่ายและจดั

กจิ กรรมให้นักเรยี นไปถงึ เปา้ หมายท่ีกำหนดได้
- ครคู วรมกี ารจัดกจิ กรรมสำรองสำหรบั นักเรียนห้องเก่งหรือห้องอ่อน เพื่อเป็นตัวชว่ ยในกรณีที่

กจิ กรรมทเี่ ตรียมไว้อาจยากหรือง่ายเกินไป
- ครคู วรศกึ ษาความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน ก่อนที่จะเลือกบทอ่านทจี่ ะนำมาสอน และมี
การเตรียมการแกป้ ญั หาในกรณีท่ีเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดในขณะท่ีนักเรียนศึกษาบทอ่าน

3.4 ความรู้
- มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ัด
- การคดั เลอื กเนือ้ หาทีจ่ ะสอน
- การคน้ หาข้อมูลจากแหลง่ ต่าง ๆ
- การวดั ผลประเมนิ ผล

3.5 คุณธรรม
- ความอดทน
- ความเพียรพยายาม
- ความเสียสละ

76

4. สมรรถนะผู้เรียน
4.1 ดา้ นความร้(ู K)
- โครงสรา้ งภายในโลกแบง่ ตามองค์ประกอบทางเคมี
4.2 ด้านทกั ษะ(P)
- ทักษะการสงั เกต
- ทกั ษะการสร้างแบบจำลอง
4.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A)
- ความรบั ผดิ ชอบ
- ตัง้ ใจเรียน
- ทำงานเสร็จลุลว่ งตามเวลาท่ีกำหนด

5. กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ารจดั การเรยี นการสอนโดยใช้แบบจำลองเปน็ ฐาน
1. ข้นั กำหนดสถานการณ์
1.1 ครนู ำเขา้ สบู่ ทเรียน โดยเลา่ ถงึ ความร้ทู วั่ ไปของการกำเนดิ โลก
โลกในยุคแรกเป็นหินหนืดร้อน ถูกกระหน่ำชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุหนัก

เช่น เหล็กและนิเกิลจมตวั ลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะทีอ่ งค์ประกอบทีเ่ บากว่า เชน่ ซลิ ิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือก
นอก ธาตุและสารประกอบที่เบามาก เช่น ไฮโดรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ พยายามแทรกตัวออกจาก
พ้ืนผิวกลายเป็นบรรยากาศ เมื่อโลกเย็นลงเปลือกนอกตกผลึกเป็นแร่และหิน ไอน้ำในอากาศควบแน่นเกิดฝน
น้ำฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว ไหลลงทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมาการ
ววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ

1.2 ครถู ามนกั เรยี นเพอื่ กระตนุ้ ความสนใจ
-นักเรียนคิดว่าความเชื่อเรื่องการกำเนิดโลกนอกจากทางวิทยาศาสตร์มีอะไรอีกบ้าง? (แนวคำตอบมี

หลายคำสอนในหลายศาสนาที่เป็นศาสนาประเภท เทวนิยม ไม่ว่าจะเป็นศาสนาของชาวอียิปต์โบราณ ชาวสุเม
เรียน และชาวบาบิโลนเมื่อกว่า ๕๐๐๐ ปีก่อน เรื่อยมากระทั่ง พราหมณ์ คริสต์ อิสลาม หรือแม้แต่ ศาสนาชินโต
ของชาวญี่ปุ่น ต่างก็มีคำสอนว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพราะเทพเจ้าหรือพระเจ้าในศาสนาของตนเป็นผู้
บนั ดาลให้ เกิดขนึ้ หรอื สรา้ งข้ึนทง้ั สน้ิ ไม่ว่าจะเป็น ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว โลก มนษุ ย์ และสรรพสิ่งท้ังปวง
ล้วนเป็นผลงานของพระเจ้าท้ังส้นิ โดยแตล่ ะศาสนาก็มีบันทึกเร่ืองราวท่ีพระเจ้าในศาสนาของตนสร้างสิ่งต่าง ๆ ไว้
ในคัมภีร์)

77

1.3 ครแู จกแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 โลกและทรัพยากรธรรมชาติให้นักเรียนลงมือทำ
เพือ่ วดั ความเข้าใจก่อนทำการเรยี นการสอน

1.4 ครอู ธิบายเนอื้ หาโดยใชส้ ือ่ แบบจำลองโครงสร้างภายในของโลกที่แบ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี
ประกอบการนำเสนอเน้ือหา

2. ขั้นสรา้ งแบบจำลองเบ้อื งต้น
2.1 ครแู บ่งกลมุ่ นักเรียนออกเปน็ 5 กลุ่มตามความสมัครใจของนกั เรียนจากนั้นนักเรยี นแยกน่งั ตามกลุ่ม
2.2 ครูชแี้ จงกิจกรรมการสรา้ งแบบจำลองในหวั ข้อ “โครงสรา้ งภายในของโลกท่ีแบง่ ตามองคป์ ระกอบทาง

เคมี”โดยให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันสรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความสนใจจากอุปกรณ์ที่ครูนำมาให้พร้อมแจก
อปุ กรณ์และใบกจิ กรรม เรอื่ ง โครงสร้างภายในของโลกทีแ่ บ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี

2.3 สมาชิกในแตล่ ะกลุ่มร่วมกันสรา้ งแบบจำลองตามความคิดสรา้ งสรรค์ในเวลาทีก่ ำหนด
3. ขัน้ สำรวจแบบจำลอง

3.1 ครเู ดินสำรวจความคบื หน้าของนักเรยี นหากพบปัญหาจึงให้คำปรึกษาแกน่ ักเรยี น
4. ขัน้ ปรบั ปรงุ แบบจำลอง

4.1 ครใู ห้เวลานักเรยี นในการปรบั ปรุงแบบจำลองใหต้ รงประเดน็ แข็งแรงและแกไ้ ขข้อผดิ พลาด
4.2 เม่ือถึงเวลาท่ีกำหนดนักเรียนแตล่ ะกลุม่ นำเสนอแบบจำลองหนา้ ช้ันเรยี น ครูและนักเรยี นรว่ มกนั
วิเคราะห์แบบจำลองแต่ละชน้ิ วา่ ตรงประเดน็ ท่ีมอบหมายหรอื ไม่
5. ขน้ั โต้แยง้ ทางวิทยาศาสตร์
5.1 ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นเสนอความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การสร้างสรรคแ์ บบจำลองว่ามไี อเดยี รใ์ นการ
สรา้ งสรรค์แบบจำลองด้วยวิธีอน่ื หรอื ไม่? อยา่ งไร?
5.2 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายแลกเปลย่ี นความรโู้ ดยใช้แบบจำลองประกอบ
6. ขัน้ ขยายความรู้
6.1 ครนู ำผลงานการสร้างแบบจำลองของนักเรยี นไปเผยแพรบ่ นส่ือออนไลน์(ทางแฟนเพจเฟคบ๊กุ วทิ ย์ไป
ทวั่ ) เพอ่ื ใหค้ วามรู้กับผ้ทู สี่ นใจ

78

6. การวัดและการประเมนิ ผล

รายการประเมิน เคร่ืองมอื วธิ ีการ เกณฑ์การประเมนิ ผปู้ ระเมนิ
การตรวจให้ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ครผู สู้ อน
ระบโุ ครงสร้างภายในโลกและ แบบทดสอบก่อนเรียน 60 ขึ้นไป
คะแนน ครูผู้สอน
บรรยายลกั ษณะของโครงสรา้ ง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ผ่านเกณฑ์ระดบั
การประเมนิ คุณภาพ 2 ครูผสู้ อน
โลกแต่ละชน้ั ได(้ K) โลกและทรัพยากร แบบจำลอง
ผ่านเกณฑร์ ะดบั
ธรรมชาติ การประเมิน คณุ ภาพอยใู่ น
คุณลกั ษณะอนั ระดบั พอใชข้ ึ้นไป
สามารถสรา้ งแบบจำลอง ใบกจิ กรรม เร่ือง พงึ ประสงค์

โครงสรา้ งโลกตาม โครงสร้างภายในของ

องค์ประกอบทางเคมีได้ (P) โลกทีแ่ บง่ ตาม

องคป์ ระกอบทางเคมี

มีความรับผิดชอบ ตัง้ ใจเรียน แบบประเมิน

และใหค้ วามสนใจในการ พฤติกรรมในชน้ั เรยี น

ทำงานเปน็ กลุ่ม (A)

7. นวตั กรรมทางการศกึ ษา

7.1 ส่ือและอุปกรณ์การเรยี นรู้

- แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 โลกและทรพั ยากรธรรมชาติ
- ใบกิจกรรม เรื่อง โครงสรา้ งภายในของโลกทีแ่ บ่งตามองค์ประกอบทางเคมี
- หนงั สอื วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
- แบบจำลองโครงสรา้ งภายในของโลกท่ีแบ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี
- แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
- แบบประเมนิ ทักษะการสร้างแบบจำลอง
- อุปกรณส์ รา้ งแบบจำลอง กระดาษสามส,ี ดินน้ำมันสามสี,เทปกาว,,ไหมพรหมสามส,ี กาว,กรรไกร

79

8. กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

9. บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/1

1. ผลการนำไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................. .......
.......................................................................................................................

2. ปญั หา/อุปสรรค
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... .............................
.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ .................................................ผูส้ อน
( นางสาว กนกพร ละมยั )

ตำแหนง่ นกั ศึกษาฝึกประสบการวชิ าชีพครู
วันที่............ เดอื น............. พ.ศ. ..............

80

8. กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

9. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/2
1. ผลการนำไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

.......................................................................................................................................................................... ..........
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................. ......................................
....................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................

2. ปญั หา/อุปสรรค
....................................................................................................................................................... .............................
....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผู้สอน
( นางสาว กนกพร ละมยั )

ตำแหน่ง นกั ศึกษาฝกึ ประสบการวชิ าชีพครู
วันท่ี............ เดอื น............. พ.ศ. ..............

81

10. ความคิดเหน็ ของครพู เ่ี ล้ียง
………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................

ลงชอ่ื ...................................................ครูพ่ีเลย้ี ง
(นางณัฐฐาศิริ เพชรนาท)
ตำแหน่ง ครู

วันท.่ี ........... เดือน............. พ.ศ. ..............

11. ความคดิ เห็นของฝ่ายวิชาการ

………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................

ลงชือ่ …………………………………………………………….
(นายอดุ ม การะพตั ร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาฝา่ ยวิชาการ
วันท่.ี ........... เดอื น.................. พ.ศ. ..................

12. ความคิดเห็นของผอู้ ำนวยการ

………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................
………………………………………………………………………………………………….………………………………………………................

ลงชอ่ื ……………………………………………………………
(นายสิทธชิ ยั สมศลิ า)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา
วนั ท.ี่ ........... เดอื น.................. พ.ศ. ..................

กระดาษคำตอบ 82
ช่ือ....................................ช้ัน..........ห้อง.......เลขท่.ี ......
คำช้ีแจง จงกากบาทข้อท่ีถูกต้องท่ีสุดลงในกระดาษคำตอบ กระดาษคำตอบ
ชื่อ..................................ชนั้ ..........ห้อง.........เลขท่.ี ......
กอ่ นเรียน คำชีแ้ จง จงกากบาทขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ งท่ีสดุ ลงในกระดาษคำตอบ
ข้อท่ี ก ข ค ง จ
1 หลงั เรียน
2 ขอ้ ท่ี ก ข ค ง จ
3 1
4 2
5 3
6 4
7 5
8 6
9 7
10 8
คะแนนทไี่ ด้ 9
10
คะแนนทไี่ ด้

83

แบบประเมนิ แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 โลกและทรัพยากรธรรมชาติ

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1/2563

คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนทีไ่ ด้ คิดเปน็ รอ้ ยละ เกณฑก์ ารผ่าน
กอ่ นเรียน(10) หลังเรยี น(10) (100)
เลขที่ ช่ือ – สกุล ผ่าน ไม่ผา่ น

1 นิติธร เปรีย่ มดี

2 พงษศ์ ริ ิ พลเยย่ี ม

3 อดศิ ักดิ์ ลมสูงเนนิ

4 พงษ์พพิ ฒั น์ การากมล
5 ญาณาธิป พหลทพั

6 พทั ธดนย์ ไชยงาม

7 กฤษดา มณีรัตน์
8 มงคล ปลัดศรีชว่ ย

9 วษิ ณุ โยหา

10 สุทธิสัญชยั วงษ์สวิ่

11 ศภุ ชัย ไปไหน

12 พงศ์พสิ ุทธิ์ สาสดี า

13 จตุรงค์ อาจศิริ

14 ศิวศร มาอ้น
15 ชลธี คำศรี

16 ธิติวฒุ ิ คำบญุ เกดิ

17 ภควัต์ ทับสุรยิ ์

18 ภูชติ แกว้ ธานี

19 สุพิชยั โคตรมงุ คุณ
20 วชิ ญาดา ชิณวงค์

21 ขวญั ข้าว ทองบัวรว่ ง

22 สุภาภรณ์ แกว้ เกดิ มี

23 ภาพิมล สงิ หโ์ ต
24 เนตรนภา สาหมนุ

25 ดลยา สุจนั ทร์

26 นันทิกา มะโรงรตั น์

27 อรพินท์ สมบตั ิหอม

28 ธาริณี อำนิด
29 ฐิติรตั น์ อันทวงษ์

*เกณฑ์การประเมิน ตอ้ งผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60 ขนึ้ ไปคอื ได้คะแนน 6 คะแนนข้ึนไป

84

แบบประเมินแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 โลกและทรัพยากรธรรมชาติ

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2/2 ภาคเรียนที่ 1/2563

คะแนนที่ได้ คะแนนทไี่ ด้ คิดเปน็ รอ้ ยละ เกณฑก์ ารผ่าน
ก่อนเรียน(10) หลังเรียน(10) (100)
เลขที่ ชื่อ – สกลุ ผ่าน ไม่ผา่ น

1 ปญั ญากร ศรีสารคาม

2 นพรตั น์ ทองกลดั

3 กฤษธนาพณต์ บุตรราช

4 ปยิ ะกลุ โลหะเลศิ
5 จิราวัฒน์ แก้วอาสา

6 ภกั ดี อะเวลา

7 สเุ ทพ กวางแกว้
8 อัครพล แสงแสน

9 ศรันย์ รักนำ้ เทยี่ ง

10 อภิสทิ ธ์ิ ศรสี ารคาม

11 จริ วัฒน์ ไชยคำภา
12 อนชุ ิต ดาทอง

13 ธงชัย รักษาภักดี

14 พนาเวทย์ โยธการี
15 รงุ่ ฟ้า มะบญุ

16 วุฒนิ ันท์ บญุ คง

17 ศทุ ธสนิ สุตะนนท์

18 ชนาการต์ อันแสน

19 อนงค์นาถ สงวนรมั ย์
20 สุรษิ า อนุอนั

21 วิชุดา สุจนั ทร์

22 อภญิ ญา ภนู าเงนิ

23 สจุ ิตรา นามภกั ดี
24 ศริ ิลักษณ์ สีอากาศ

25 พัชราพร ไชยมาตร

26 พฐั ณชิ า คะปัญญา

27 วีรญา พลโคตร

*เกณฑ์การประเมนิ ตอ้ งผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 ขน้ึ ไปคอื ได้คะแนน 6 คะแนนขน้ึ ไป

85

ใบกจิ กรรม เรื่อง โครงสรา้ งภายในของโลกทแี่ บ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี

จุดประสงค์

เพ่อื ใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะความคดิ สร้างสรรค์และทกั ษะการสรา้ งแบบจำลอง

สมาชิกในกลมุ่

1...............................................................................................................เลขท่ี....... ................

2...............................................................................................................เล ขท่ี.......................

3...............................................................................................................เลขที.่ ...... ................

4..................................................................................... ..........................เลขที่.......................

5...............................................................................................................เลขท.่ี ...... ................

6...............................................................................................................เลขที่.......................

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก